Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
ขอบคุณครับอาจารย์
ขอความรู้อาจารย์ ราในลูกแป้งเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาลยีสต์ที่สร้างแอลกอฮอล์ไม่มีในลูกแป้งแต่มาจากธรรมชาติแวดล้อม แต่ทำไมน้ำตาลหรือน้ำหวานทั่วไปที่เก็บไว้ตามธรรมไม่เกิดแอลกอฮอล์หรือเกิดแต่ปริมาณน้อยกว่าน้ำตาลที่ได้จากราลูกแป้ง
ผมเคยทดลอง. ใชเชื้อราของจีนทำข้าวหมาก แล้วเติมน้ำใส่ยีตส์เหล้า ได้สาโทรสชาติ เหล้าเดือน ตามทางภาคเหนือเรียก แต่ไม่ได้หมักเป็นเดือน ตอนเด็กทำกระแช่โดยเรียกยีตส์จากภาวะแวดล้อมอาศัยกิ่งมะเกลือ และน้ำตาลปี๊บทึ่ไม่มีกันบูด +นัำก๊อก เจ็ดวันยีตส์มาเยอะมีฟองขึ้นเต็มหนา ตอนทำยังเด็กเดาว่าเชื้ออื่นๆเติบโตไม่ได้ ช้อนฟองทิ้ง. เลึ้ยงไปเรื่อยๆ ได้ยีตส์มากมาย ใส่น้ำตาลรอบใหม่เช้าเย็นใช้ได้แรงด้วยร้อนคอวาบ ที่เด็กวิจัยเอามาเสนอน่าจะแบบเดียวกับการทำกระแช่ ส่วนสีเสียดฯ เป็นการปรุงรส เคยได้ยีตส์มาชนิดหนึ่ง คนให้มาเขาเรียก โมกผา เอามาเลี้ยงด้วยน้ำตาลปี๊บ ใส่โหลแก้วดูยีตส์เกาะกันเป็นเม็ดกลมๆ จะคายก๊าสออกมาเห็นชัดเกาะลูกกลมนั้นมากๆเข้าถึงลอยขึ้นคล้ายภูเขาไฟระเบิด เอาน้ำตาลทรายขาวใส่กลายพันธุ์เป็นผงแต่ยังได้กอฮอ. รสชาติไม่ได้เรื่องไปเลยแต่เมานะ ของเดิมหอมมกาเล่าให้ฟังเป็นเรื่องสี่สิบกว่าปีมาแล้ว
ตามหาโมกผา มานาน ไม่รู้หาที่ไหน
เพื่อนคุณพ่อให้มาหนึ่งช้อนชาอยู่ในน้ำเป็นเม็ดกลมๆเหมือนยินตันเมื่อเกือบห้าสิบปีมาแล้ว. เลี้ยงจนได้เกือบครึ่งโหล ดูเหมือนมันไม่ตาย เพราะไม่มีตะกอนทับกันนิ่งๆ เป็นผงไปแล้วเมื่อใส่น้ำตาลทรายขาวลงไป เปลี่ยนน้ำตาลก็ไมกลับสภาพเดิม ท้ายสุดเททิ้ง ไม่อร่อย
ผมขอแสดงความคิดเห็นนิดหน่อยนะครับผมได้ความรู้จากคลิปของอาจารย์มากแต่ คลิปของอาจารย์ ยืดยาวเกินไป พูดวกวน ทำให้คลิปยาวเกิน บางคลิปเป็นชั่วโมงวีดีโอควรจะกระชับ เข้าเนื้อหา ถ้าแบบนี้ผมเชื่อว่ายอดวิวของอาจารย์จะสูงกว่านี้เยอะครับ ขอบพระคุณครับ
อยากให้ทดลองกับ ลูกข้าวหมาก บ้างครับ เพราะสนใจอยากทำลูกข้าวหมากที่มีคุณภาพ เพื่อขายครับ ว่าจะเลือกยีสสปรีชี่ิออะไร ได้ยีสต์จากแหล่งไหน ขยายพันธ์เพิ่มจำนวนด้วยวิธีไหนครับ
รุ่นปู่ย่าตายายผมไม่เห็นจะมีเรื่องมากอะไรเลย ถ้าทางการไม่กีดกัน ป่านนี้เขาพัฒนาภูมิปัญญาชาวบ้านไปถึงไหนแล้ว
😅😅
อ. ครับ ชีววิทยาเป็นเรื่องยากส์จริงๆ เนอะ (ตรงที่แต่ละชื่อจำยากจริงๆ)
อยู่กับมัน ใช้ชื่อบ่อยๆ จำได้เองครับ
สรุปในทางปฏิบัติคือ 1.ภาชนะการหมักฆ่าเชื้อ 2.วัตถุดิบหลักคือข้าวและน้ำต้องฆ่าเชื้อ3.ต้องสร้างบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมในระหว่างหมักที่เหมาะสมในระยะเวลา 12 วันเพื่อให้เกิดการหมักที่ดีได้ เพราะเชื้อราที่ต้องการก็ไม่มี ถึงมีก็ไม่ใช่ ที่เหลือเพื่อควบคุมแบคทีเรียตัวร้ายให้ได้มากที่สุด ใช่มั้ยครับอาจารย์
สรุปคือ ข้าวและน้ำที่ใช้ไม่จำเป็นต้องฆ่าเชื้อแบบสเตอริไรส์ ข้าวเหนียวก็แค่นึ่งให้สุก น้ำก็ไม่ต้องนำไปต้มฆ่าเชื้อ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดยีสต์จากสิ่งแวดล้อมในการหมักอย่างไรก็ตามผู้ผลิตในปัจจุบันมักจะเติมยีสต์ลงไปเพื่อความแน่นอนในการหมักสำหรับเชื้อรานั้นมาจากลูกแป้งอยู่แล้วครับ
@@surathainetwork ขออนุญาตสอบถามเพิ่มเติมครับอาจารย์ ถ้าในกรณีหากเราทำการฆ่าเชื้อถังหมัก, ใช้น้ำสะอาด และหมักในระบบปิดเรียบร้อยแล้ว- การเติมยีสต์เพื่อความแน่นอนให้เกิดกระบวนการหมักที่จะเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นแอลกอฮอลล์ ยีสต์ที่จะใส่เข้าไปเพิ่มนั้นสามารถใส่เข้าไปพร้อมกับลูกแป้งตอนเริ่มหมักได้เลยไหมครับ หรือต้องรอให้ราในลูกแป้งทำการย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลก่อนในช่วงแรกของกระบวนการหมัก แล้วถึงค่อยเปิดถังหมักออกมาเติมยีสต์ภายหลังครับ ขอบคุณมากครับบ
ขอบคุณครับอาจารย์
ขอความรู้อาจารย์ ราในลูกแป้งเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล
ยีสต์ที่สร้างแอลกอฮอล์ไม่มีในลูกแป้งแต่มาจากธรรมชาติแวดล้อม แต่ทำไมน้ำตาลหรือน้ำหวานทั่วไปที่เก็บไว้ตามธรรมไม่เกิดแอลกอฮอล์หรือเกิดแต่ปริมาณน้อยกว่าน้ำตาลที่ได้จากราลูกแป้ง
ผมเคยทดลอง. ใชเชื้อราของจีนทำข้าวหมาก แล้วเติมน้ำใส่ยีตส์เหล้า ได้สาโทรสชาติ เหล้าเดือน ตามทางภาคเหนือเรียก แต่ไม่ได้หมักเป็นเดือน ตอนเด็กทำกระแช่โดยเรียกยีตส์จากภาวะแวดล้อมอาศัยกิ่งมะเกลือ และน้ำตาลปี๊บทึ่ไม่มีกันบูด +นัำก๊อก เจ็ดวันยีตส์มาเยอะมีฟองขึ้นเต็มหนา ตอนทำยังเด็กเดาว่าเชื้ออื่นๆเติบโตไม่ได้ ช้อนฟองทิ้ง. เลึ้ยงไปเรื่อยๆ ได้ยีตส์มากมาย ใส่น้ำตาลรอบใหม่เช้าเย็นใช้ได้แรงด้วยร้อนคอวาบ ที่เด็กวิจัยเอามาเสนอน่าจะแบบเดียวกับการทำกระแช่ ส่วนสีเสียดฯ เป็นการปรุงรส เคยได้ยีตส์มาชนิดหนึ่ง คนให้มาเขาเรียก โมกผา เอามาเลี้ยงด้วยน้ำตาลปี๊บ ใส่โหลแก้วดูยีตส์เกาะกันเป็นเม็ดกลมๆ จะคายก๊าสออกมาเห็นชัดเกาะลูกกลมนั้นมากๆเข้าถึงลอยขึ้นคล้ายภูเขาไฟระเบิด เอาน้ำตาลทรายขาวใส่กลายพันธุ์เป็นผงแต่ยังได้กอฮอ. รสชาติไม่ได้เรื่องไปเลยแต่เมานะ ของเดิมหอมมกาเล่าให้ฟังเป็นเรื่องสี่สิบกว่าปีมาแล้ว
ตามหาโมกผา มานาน ไม่รู้หาที่ไหน
เพื่อนคุณพ่อให้มาหนึ่งช้อนชาอยู่ในน้ำเป็นเม็ดกลมๆเหมือนยินตันเมื่อเกือบห้าสิบปีมาแล้ว. เลี้ยงจนได้เกือบครึ่งโหล ดูเหมือนมันไม่ตาย เพราะไม่มีตะกอนทับกันนิ่งๆ เป็นผงไปแล้วเมื่อใส่น้ำตาลทรายขาวลงไป เปลี่ยนน้ำตาลก็ไมกลับสภาพเดิม ท้ายสุดเททิ้ง ไม่อร่อย
ผมขอแสดงความคิดเห็นนิดหน่อยนะครับ
ผมได้ความรู้จากคลิปของอาจารย์มาก
แต่ คลิปของอาจารย์ ยืดยาวเกินไป พูดวกวน ทำให้คลิปยาวเกิน บางคลิปเป็นชั่วโมง
วีดีโอควรจะกระชับ เข้าเนื้อหา
ถ้าแบบนี้ผมเชื่อว่ายอดวิวของอาจารย์จะสูงกว่านี้เยอะครับ ขอบพระคุณครับ
อยากให้ทดลองกับ ลูกข้าวหมาก บ้างครับ เพราะสนใจอยากทำลูกข้าวหมากที่มีคุณภาพ เพื่อขายครับ ว่าจะเลือกยีสสปรีชี่ิออะไร ได้ยีสต์จากแหล่งไหน ขยายพันธ์เพิ่มจำนวนด้วยวิธีไหนครับ
รุ่นปู่ย่าตายายผมไม่เห็นจะมีเรื่องมากอะไรเลย ถ้าทางการไม่กีดกัน ป่านนี้เขาพัฒนาภูมิปัญญาชาวบ้านไปถึงไหนแล้ว
😅😅
อ. ครับ ชีววิทยาเป็นเรื่องยากส์จริงๆ เนอะ (ตรงที่แต่ละชื่อจำยากจริงๆ)
อยู่กับมัน ใช้ชื่อบ่อยๆ จำได้เองครับ
สรุปในทางปฏิบัติคือ
1.ภาชนะการหมักฆ่าเชื้อ
2.วัตถุดิบหลักคือข้าวและน้ำต้องฆ่าเชื้อ
3.ต้องสร้างบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมในระหว่างหมักที่เหมาะสมในระยะเวลา 12 วัน
เพื่อให้เกิดการหมักที่ดีได้ เพราะเชื้อราที่ต้องการก็ไม่มี ถึงมีก็ไม่ใช่ ที่เหลือเพื่อควบคุมแบคทีเรียตัวร้ายให้ได้มากที่สุด ใช่มั้ยครับอาจารย์
สรุปคือ ข้าวและน้ำที่ใช้ไม่จำเป็นต้องฆ่าเชื้อแบบสเตอริไรส์ ข้าวเหนียวก็แค่นึ่งให้สุก น้ำก็ไม่ต้องนำไปต้มฆ่าเชื้อ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดยีสต์จากสิ่งแวดล้อมในการหมัก
อย่างไรก็ตามผู้ผลิตในปัจจุบันมักจะเติมยีสต์ลงไปเพื่อความแน่นอนในการหมัก
สำหรับเชื้อรานั้นมาจากลูกแป้งอยู่แล้วครับ
@@surathainetwork ขออนุญาตสอบถามเพิ่มเติมครับอาจารย์ ถ้าในกรณีหากเราทำการฆ่าเชื้อถังหมัก, ใช้น้ำสะอาด และหมักในระบบปิดเรียบร้อยแล้ว
- การเติมยีสต์เพื่อความแน่นอนให้เกิดกระบวนการหมักที่จะเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นแอลกอฮอลล์ ยีสต์ที่จะใส่เข้าไปเพิ่มนั้นสามารถใส่เข้าไปพร้อมกับลูกแป้งตอนเริ่มหมักได้เลยไหมครับ หรือต้องรอให้ราในลูกแป้งทำการย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลก่อนในช่วงแรกของกระบวนการหมัก แล้วถึงค่อยเปิดถังหมักออกมาเติมยีสต์ภายหลังครับ ขอบคุณมากครับบ