Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
มีประโยชน์สำหรับมือใหม่อย่างผมมากครับ เป็นกลจทำต่อไปน๊ะ👍🏻👍🏻👍🏻
ขอบคุณมากนะคะ 😊 นี้ก็มือใหม่หัดทำยูทูป 😂
ขอบคุณหนูขวัญ มากๆ ครับผมเป็นอีกคนนึง ที่วิ่งงานเทรลมา 5เทรล แต่ไม่เข้าใช้ เรื่องความชัน
ยินดีมากๆค่า แบ่งปันกันค่ะ 😊
มีประโยชน์มากครับ ปีหน้าจะลงครั้งแรก🌹❤️👍
ขอบคุณค่าาา ลองดูนะคะ แล้วจะติดใจวิ่งเทรลค่ะ 😊
ขอบคุณครับ
ผมว่า ความชัน กับ ความสูง มันต่างกันน่ะครับ เช่น เราสตาร์ทที่ความสูง 0 เมตร วิ่งไต่เขาขึ้นไป ที่ความสูง 1000 เมตร ในระยะทาง 10 กิโลเมตร กับอีกอันหนึ่งเราสตาร์ทที่ความสูง 0 เมตร เหมือนกัน วิ่งไต่เขาขึ้นไปที่ความสูง 1000 เมตร เหมือนกัน แต่ไปในระยะทาง แค่ 5 กิโลเมตร สรุปแล้ว ทั้งสองอัน ความสูง 1000 เมตร เท่ากัน แต่ !!!! ความชันไม่เท่ากัน เพราะ 5 กิโลเมตร มีความชันที่มากกว่า พูดง่ายๆคือ ยอดเขาของ 5 กิโล จะแหลมกว่า ยอดเขาของ 10 กิโล. เพราะฉนั้น ตามความเข้าใจของผม ความชันน่าจะหมายถึง ความยากในการขึ้นที่สูง ผิดถูกยังไงต้องขออภัยด้วยครับ
ขอบคุณสำหรับคอมเม้นดีๆ แบบนี้นะคะ ^^ในคลิปจะพูดถึงการคำนวนระยะความสูงสะสม เพื่อให้มือใหม่ง่ายต่อการคำนวณในเบื้องต้นค่ะในคอมเม้นจะเปรียบเทียบประมาณนี้ เพื่อให้เห็นภาพ สมมุติ ถ้าเราขึ้นดอยสุเทพ จากศาลครูบาศรีฯ ไปถึงยอดดอยสุเทพตามถนนดำ ระยะทาง 11 กิโลเมตร ความสูง สะสมที่ 1,000 เมตร แต่ถ้าเราขึ้นตรงด้านหลัง มช ทางเท้า ที่ระยาง 5 กิโลเมตร ความสูงสะสมที่ 1,000 เมตร เช่นกัน Gain เท่ากัน ความสูงสะสมเท่ากัน แต่ แต่ แต่ แน่นอนค่ะ ทางเท้าเหนื่อยกว่าค่ะอันนี้แอดลองเปรียบเทียบภาพให้เห็นตามคอมเม้น ขยายความเพิ่มเติมนะคะ ข้อมูลนึงที่นักวิ่งควรจะนำมาพิจารณาประกอบคือ ค่า gain นี่ล่ะค่ะยกตัวอย่าง i-tra ยังเอาความยากง่ายของการขึ้นมากำหนดคะแนนเลยคิดจากเกนความยากง่าย ระยะทาง + (gain/100)สูตรการคำนวนการคิดตัวเลขที่นำมาพิจารณาการให้คะแนนของ race นั้นๆเช่น ระยะ 30 km gain 2000ระยะงานที่จัด = 30+ (2000/100)ระยะเปรีบเทียบการวิ่งจริงๆ = 50 คือลงระยะ 30 KM. แต่เหนื่อยพอๆ กับการวิง่ที่ระยะ 50 km.ในคลิปนี้อาจจะอธิบายเกนรวมหรือความสูงสะสมของทั้งเรซ เพื่อนให้มือใหม่คำนวนณกันเบื้อง้ตนง่ายๆ ก่อนค่ะส่วนคลิปหน้าเดี๋ยวขวัญขอทำการบ้าน เรื่อง เปอร์ความชัน การเจาะเรื่องความยากง่ายเกน แล้วมารอติดตามกันนะคะ ^^ คอมเม้นดีๆ แบบนี้เพื่อนๆ ได้ประโยนช์ ตัวแอดก็ได้ประโยนช์ด้วยค่ะ ขอบคุณอีกครั้งนะคะ ^^
@@lifefit2565 ขอบคุณครับ รอติดตามครับผม 🤟🤟
เยี่ยมมากๆครับ
ขอบคุณมากค่าาา 😊😊
หน้าปกคลิปใช้คำว่า “ความสูง” แต่ในเนื้อหาของคลิปใช้คำว่า “ความชัน” เกือบตลอด ทำให้ฟังแล้วสับสนครับ ส่วนภาษาอังกฤษคำว่า “elevation” แปลว่าระดับความสูง ไม่ได้แปลว่าความชัน เพราะคำว่าความชันภาษาอังกฤษใช้คำว่า “slope” หรือ “gradient” ดังนั้นถ้าจะอ้างอิงจากภาษาอังกฤษคำว่า elevation เพื่ออธิบายเรื่องนี้ให้มือใหม่เข้าใจ จึงควรใช้ภาษาไทยว่าระดับความสูงครับ เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนต่อผู้เริ่มศึกษาในภายหลัง ขอบคุณครับ🙏
พี่ใช้นาฬิกาอะไรครับ
ใช้ Garmin Fenix 6s คะ
Hello ขวัญ จำเราได้ป่าว 😁
ใช้เอื้อง อยว.รึเปล่าจ้า
@@lifefit2565 ใช่จ้า
elevation = ความสูงelevation gain = เกนความสูง :)
เป็นความชันสะสมค่ะ ในคลิปจะพูดผิดเพราะชินคำว่าความสูง ต้องขอโทษด้วยนะคะ
@@lifefit2565 ขอบคุณครับ ผิดพลาดกันได้ เป็นกำลังใจให้ครับ
มีประโยชน์สำหรับมือใหม่อย่างผมมากครับ เป็นกลจทำต่อไปน๊ะ👍🏻👍🏻👍🏻
ขอบคุณมากนะคะ 😊 นี้ก็มือใหม่หัดทำยูทูป 😂
ขอบคุณหนูขวัญ มากๆ ครับ
ผมเป็นอีกคนนึง ที่วิ่งงานเทรลมา 5เทรล แต่ไม่เข้าใช้ เรื่องความชัน
ยินดีมากๆค่า แบ่งปันกันค่ะ 😊
มีประโยชน์มากครับ ปีหน้าจะลงครั้งแรก🌹❤️👍
ขอบคุณค่าาา ลองดูนะคะ แล้วจะติดใจวิ่งเทรลค่ะ 😊
ขอบคุณครับ
ผมว่า ความชัน กับ ความสูง มันต่างกันน่ะครับ
เช่น เราสตาร์ทที่ความสูง 0 เมตร วิ่งไต่เขาขึ้นไป ที่ความสูง 1000 เมตร ในระยะทาง 10 กิโลเมตร กับอีกอันหนึ่ง
เราสตาร์ทที่ความสูง 0 เมตร เหมือนกัน วิ่งไต่เขาขึ้นไปที่ความสูง 1000 เมตร เหมือนกัน แต่ไปในระยะทาง แค่ 5 กิโลเมตร
สรุปแล้ว ทั้งสองอัน ความสูง 1000 เมตร เท่ากัน แต่ !!!! ความชันไม่เท่ากัน เพราะ 5 กิโลเมตร มีความชันที่มากกว่า
พูดง่ายๆคือ ยอดเขาของ 5 กิโล จะแหลมกว่า ยอดเขาของ 10 กิโล. เพราะฉนั้น ตามความเข้าใจของผม
ความชันน่าจะหมายถึง ความยากในการขึ้นที่สูง ผิดถูกยังไงต้องขออภัยด้วยครับ
ขอบคุณสำหรับคอมเม้นดีๆ แบบนี้นะคะ ^^
ในคลิปจะพูดถึงการคำนวนระยะความสูงสะสม เพื่อให้มือใหม่ง่ายต่อการคำนวณในเบื้องต้นค่ะ
ในคอมเม้นจะเปรียบเทียบประมาณนี้ เพื่อให้เห็นภาพ
สมมุติ ถ้าเราขึ้นดอยสุเทพ จากศาลครูบาศรีฯ ไปถึงยอดดอยสุเทพตามถนนดำ ระยะทาง 11 กิโลเมตร ความสูง สะสมที่ 1,000 เมตร
แต่ถ้าเราขึ้นตรงด้านหลัง มช ทางเท้า ที่ระยาง 5 กิโลเมตร ความสูงสะสมที่ 1,000 เมตร เช่นกัน Gain เท่ากัน ความสูงสะสมเท่ากัน แต่ แต่ แต่ แน่นอนค่ะ ทางเท้าเหนื่อยกว่าค่ะ
อันนี้แอดลองเปรียบเทียบภาพให้เห็นตามคอมเม้น ขยายความเพิ่มเติมนะคะ
ข้อมูลนึงที่นักวิ่งควรจะนำมาพิจารณาประกอบคือ ค่า gain นี่ล่ะค่ะ
ยกตัวอย่าง i-tra ยังเอาความยากง่ายของการขึ้นมากำหนดคะแนนเลย
คิดจากเกนความยากง่าย ระยะทาง + (gain/100)
สูตรการคำนวนการคิดตัวเลขที่นำมาพิจารณาการให้คะแนนของ race นั้นๆ
เช่น ระยะ 30 km gain 2000
ระยะงานที่จัด = 30+ (2000/100)
ระยะเปรีบเทียบการวิ่งจริงๆ = 50
คือลงระยะ 30 KM. แต่เหนื่อยพอๆ กับการวิง่ที่ระยะ 50 km.
ในคลิปนี้อาจจะอธิบายเกนรวมหรือความสูงสะสมของทั้งเรซ เพื่อนให้มือใหม่คำนวนณกันเบื้อง้ตนง่ายๆ ก่อนค่ะ
ส่วนคลิปหน้าเดี๋ยวขวัญขอทำการบ้าน เรื่อง เปอร์ความชัน การเจาะเรื่องความยากง่ายเกน
แล้วมารอติดตามกันนะคะ ^^
คอมเม้นดีๆ แบบนี้เพื่อนๆ ได้ประโยนช์ ตัวแอดก็ได้ประโยนช์ด้วยค่ะ ขอบคุณอีกครั้งนะคะ ^^
@@lifefit2565 ขอบคุณครับ รอติดตามครับผม 🤟🤟
เยี่ยมมากๆครับ
ขอบคุณมากค่าาา 😊😊
หน้าปกคลิปใช้คำว่า “ความสูง” แต่ในเนื้อหาของคลิปใช้คำว่า “ความชัน” เกือบตลอด ทำให้ฟังแล้วสับสนครับ ส่วนภาษาอังกฤษคำว่า “elevation” แปลว่าระดับความสูง ไม่ได้แปลว่าความชัน เพราะคำว่าความชันภาษาอังกฤษใช้คำว่า “slope” หรือ “gradient” ดังนั้นถ้าจะอ้างอิงจากภาษาอังกฤษคำว่า elevation เพื่ออธิบายเรื่องนี้ให้มือใหม่เข้าใจ จึงควรใช้ภาษาไทยว่าระดับความสูงครับ เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนต่อผู้เริ่มศึกษาในภายหลัง ขอบคุณครับ🙏
พี่ใช้นาฬิกาอะไรครับ
ใช้ Garmin Fenix 6s คะ
Hello ขวัญ จำเราได้ป่าว 😁
ใช้เอื้อง อยว.รึเปล่าจ้า
@@lifefit2565 ใช่จ้า
elevation = ความสูง
elevation gain = เกนความสูง :)
เป็นความชันสะสมค่ะ ในคลิปจะพูดผิดเพราะชินคำว่าความสูง ต้องขอโทษด้วยนะคะ
@@lifefit2565 ขอบคุณครับ ผิดพลาดกันได้ เป็นกำลังใจให้ครับ