Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
อยากจะบอกให้นะครับไม่จำเป็นต้อง balance phase เลยนะครับ แค่ใส่ charger ไปที่อีกเฟส เท่านั้น
สามารถทำให้ถูกและปลอดภัยได้
อยากให้ช่องนี้ให้ข้อมูลที่ถูกต้องครับ การไฟฟ้าทำงานดีกว่าที่คุณให้ข้อมูลครับรถสันดาปจุกจิกมากๆ มากกว่ารถ EV ให้ข้อมูลที่มี bias มากขนาดนี้ ขอเลิกติดตามครับ😮
เห็นด้วยครับ สงสัยรถน้ำมันตามเต๊นรถเหลือเยอะจนต้องโฆษณา
สิ่งที่เราเลือกมาแชร์คือสิ่งที่คุณต้าเจอจริงๆในการติดตั้งที่ชาร์จที่บ้าน ซึ่งเป็นข้อเท็จจริง ผมงงว่า bias ยังไงครับ?อีกอย่าง คลิปนี้ไม่ได้ทำเพื่อเชิดชูรถสันดาป นั่นคือสิ่งที่คุณคิดเองจากโฟกัสคลิปนี้คลิปเดียว เราไม่ได้พูดแม้แต่คำเดียวว่ารถสันดาปดีกว่า ทั้งที่คลิปก่อนหน้าเราพูดถึงความจุกจิกเครื่องเทอร์โบ และการใช้งานของแต่ละคนก็ไม่เหมือนกัน เรามีหน้าที่ให้มุมมองในฐานะสื่อสายยานยนต์ข้อมูลส่วนไหนไม่ถูกต้อง รบกวนบอกเรามาได้ไหมครับ เราอยากรู้ และเรากำลังจะทำคลิปแก้ไขส่วนที่เราพูดผิดด้วยครับ จะได้นำมารวบรวม@LittleLion72
@@นายธีรภัทรภูมี เราอาจจะไม่เคยพูดชัดๆนะครับ แต่ช่องเราไม่รับโฆษณารถ 4 ล้อ เพราะเราทำช่องนี้เพื่ออยากให้ความรู้คนจริงๆ กล่าวหาคนอื่นโดยการเดาเอาไม่ใช่พฤติกรรมที่ดีครับ
เป็นมุมมองของคนรวยครับ น่าจะใช้เทสล่า รถรุ่นอื่น ใช้ไฟ เฟสเดียว ไม่จำเป็นต้องใช้ไฟ 3 เฟส แล้วน่าจะอยู่ในเขต กฟน. เลยไม่รู้ หลักเกณฑ์ของ กฟภ. ง่ายกว่ามาก ซึ่งรวมๆ แล้วค่าใช้จ่ายไม่ถึงหมื่น(เครื่องชาร์จแถมมา) แล้วแบตที่ใช้เป็นน่าจะเป็น NMC ไม่ใช่ LFP เลยเอาของที่ตัวเองใช้ มาเป็นประเด็นหลัก
มีหลายปัจจัยที่ไม่เหมาะกับแค่คนกลุ่มเดียว เช่นคนขับรถเร็วเป็นนิสัย คนที่ต้องเดินทางวันละหลายร้อยกิโลเมตรที่ต้องทำเวลา เช่น เซลล์ คนที่มีรถได้คันเดียว หรือ เป็นคันแรก ในส่วนอื่นๆ เช่นราคาแบตเตอรี่เมื่อหมดประกัน ราคาประกันภัย ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่มีใครทราบ เพราะยังไม่ถึงเวลาครับใช้มา 2 ปี รวม 3 ค่ายทั้งจีนและอเมริกา ไม่เคยเจอปัญหาใดๆ ประหยัดค่าใช้จ่ายหลายเท่าตัวครับ
เดินทางสาธารณะ ประเทศไทยมันแพง+เสียเวลา ล่าสุดพึ่งทดสอบเลย เดินทางจากบ้าน กำนันแม้นไปอนุสาวรีย์ ใช้เงินเดินทางรถเมย์ต่อไฟฟ้า ราคา 100 บาท กลับอีก 100 บาท แล้วใช้เวลา ไป-กลับ รวมกัน 3 ชั่วโมงครึ่งนี่ถ้าเอารถไป-กลับ (รถ ngv) รวมค่าที่จอดรถ ยังไม่ถึง 100 เลย ใช้เวลาไป-กลับ แค่ 1 ชั่วโมงนี่ถ้าค่าแรงผม ชม.ละ 100 ผมเดินทางสาธารณะ เท่ากับ ผมจ่ายแพงกว่าใช้รถยนต์ไป 350 บาท เลยนะ
ที่บอกว่าชาร์จแต่ DC แล้วแบตเสื่อมเนี่ยอันนี้คิดเองล้วนๆครับ เพราะล่าสุดbyd astro 3 เขาทดลองวิ่ง 160,000 กิโลเมตร ภายในระยะเวลา 7 เดือน ชาร์จ DC ล้วนๆเพราะต้องเก็บบิลเอาไปขึ้นเงิน แบตเตอรี่เสื่อมไปแค่ 4% ยังคงอยู่ที่ 96% ฉะนั้นที่บอกว่าชาร์จ DC แล้วแบตเสื่อมเนี่ยอันนี้น่าจะคิดไปเองแล้วล่ะครับ ในขณะที่ผู้ใช้บางคน ชาร์จ a4 บ้างชาร์จ DC บ้าง ในระยะเวลา 7 เดือนเท่ากันแบตเตอรี่ก็เสื่อมเท่ากัน คือยังคงเหลืออยู่ 96% เหมือนกัน ฉะนั้นการชาร์จ DC หรือชาร์จ AC ไม่ได้เป็นตัวบ่งบอกว่าแบตจะเสื่อม
เราไม่ได้พูดเรื่องนี้จากการอ้างอิงการทดสอบของค่ายรถค่ายใดค่ายหนึ่งจ้างทำเอง ซึ่งขอให้เป็นความรู้ไว้นะครับว่า ผลการทดสอบเหล่านี้ผู้จ่ายเงินมีสิทธิ์ควบคุมตัวแปรต่างๆที่เอื้อให้ผลลัพธ์ออกมาดี ไม่ได้พูดลอยๆ เราเคยอยู่ในกระบวนการมาแล้วหลายครั้งเราพูดเรื่องนี้จากข้อมูลอ้างอิงของรถ Tesla ย้อนหลัง 11 ปีรวมกว่า 1,000+ คันในอเมริกา ซึ่งมีข้อมูลสาธารณะในโหลดจากรถอาสาสมัครครับ
@@CarTea ชอบมาก พูดตรงไปตรงมา มีเหตุผล ค่ายต่างๆ จ้างทำ ย่อมมี biased
คนมีปัญญาซื้อรถฝรั่งราคาแพง โดยมากเป็นบ้านคนรวยที่ติดไฟ 3 เฟส และใช้ไฟโคตร ๆ บางบ้านค่าไฟหลายหมื่นต่อเดือน ดังนั้นคนจนไม่ได้ซื้ออยู่แล้วและคนรวยก็ไม่มีปัญหาอยู่แล้ว ส่วนรถจีนไฟบ้านเหลือเฟือ บ้ผมก็ใช้เนต้าวีชาร์จไฟบ้านมาจะ 2 ปีแล้ว
อาจต้องคำนวนค่าสุขภาพ จากการใช้จักรยาน , สกูตเตอร์ในเมืองที่มีค่ามลพิษในอากาศสูงๆ ด้วยนะครับ
พูดแบบกั๊กๆ เพื่อให้คนกลัวรถEV แทนที่จะชี้แจงให้ชัดเจน เปรียบเทียบรถEV กับรถน้ำมัน กระจ่างๆ ให้ผู้บริโภคตัดสินใจได้ชัดเจน
Ev มาแน่นอน น้ำมันนี้รอเปลี่ยนจริงๆ
ผมห่วงอีกประเด็น แบตเสื่อม70% เราจะเสียค่าชาร์จ2ต่อไหม เสียเงิน100บาทเท่าเดิมแต่ได้ไฟเข้าแบ็ต70% แต่ตอนปล่อยออกจะโดนอีก70%(ของ70) =49 ไหม? อยากรู้?
มั่ว แระ มันชาร์จเข้าแค่ 70% นั่นแหละ แล้วมันก็ตัดไปเอง ( เพราะแบตเตอรี่มีความต้านทานภายในเกิดขึ้น ไม่ใช่ดูดซับ )
@@LosoTab ใจจริงผมอยากให้พวกวิศว ลองเทสดู เหมือนตอนแบ็ตมือถือเสื่อมไฟก็จ่ายเข้าแต่แบ็ตมันไม่ขึ้น แต่พอใช้แบ็ตก็วูบหมดเร็วมาก
เขาก็ไปซื้อซากรถ มาใช้กันอยู่ คือ ตอนอยู่ในรถ 1. มันชาร์จเร็วมาก ถ้าชาร์จ ดีซี ชาร์จร้อน 2. มันดิสชาร์จสูง ไฟกระชากจ่ายให้มอเตอร์ นี่เหตุผลทำให้แบตเสื่อมไว ประจุลดลงแต่พอเอามาใช้ในบ้าน ตรงข้ามทั้งสองอย่าง ชาร์จช้า ไม่ร้อนเลยดิสชาร์จเบา ๆ ไฟกระชากสุด ๆ ก็แอร์รุ่นเก่า ๆ จึงใช้งานได้ตามปกติ ที่ 70% นั่นแหละ แบตรถยนต์ สเปคสูงกว่า แบต มือถือ มากมาย นะ พวกโซล่าเซลล์ชอบมาก
ติด wallbox ยากจริงๆเหรอครับ ? มันคงเหมือนทำไข่เจียวมังครับ คนทำกับข้าวเป็นก็มองว่าง่าย คนทำไม่เป็นไม่เข้าใจก็ว่ายากมันไม่ได้ยากวุ่นวายไปมากกว่าติดแอร์หรือ เครื่องทำน้ำอุ่นอีกเครื่องสักเท่าไหร่เลยนะครับ ตั้งเป้าแค่ปลอดภัย แล้วอยากได้สเปกความต้องการแบบไหน ก็ตามกำลังทรัพย์เลย เช่นรถคุณชาร์จได้ 11 kW แต่วันๆคุณขับ100-200โล เราจะติดwallbox 7 kW มันก็เพียงพอแล้ว เราจะให้ทันชาร์จเสร็จไวทำไม ถ้ากลับมาบ้านแล้วต้องนอนต้องพัก 6-10 ชมอยู่แล้ว ? มันชาร์จเสร็จ ตี1 หรือ ตี 5 มันก็เต็มเหมือนกัน คือถ้าเข้าใจเงื่อนไขความปลอดภัยมันชิวมากๆ พลิกแพลงได้หลายแบบแต่ก็อย่างว่า คลิปนี้เน้นรถไฟฟ้าระดับสูงขึ้นไป ดูทุกอย่างจะแพงและลำบากไปหมดเพราะระบบเยอะ ก็ถ้าเราจะเปรียบเทียบ ค่าใช้จ่ายคนทั่วไปมากๆ รถไฟฟ้าจีน ที่ราคาพอๆกับรถญี่ปุ่นทั่วไป จะพอเปรียบเทียบกันได้ เพราะราคาพอๆกัน และ ประกันราคาก็พอกัน ( คิดว่า city vios yaris นี่ประกันชั้น1 ถูกเหรอครับ ? ประกันชั้น1 ที่ทุนประกันพอๆกัน ราคาก็พอๆกันนี่ล่ะครับ )สุดท้าย แต่ละคนเหมาะกับรถแต่ละแบบ มันแทนกันหมดไม่ได้ แต่ถ้าคนที่จำเป็นต้องมีคันเดียว ต้องมาดูตาม check list ความต้องการ ความสำคัญ และ เงินในกระเป๋า ไม่มีรถที่วุ่นวายเกินกว่าจะใช้ และก็ไม่ถึงกับจะสบายจนไม่ต้องดูแล
แปลกใจว่า ทำไมถึงไม่มีใครพูดถึงแรงต้านอากาศ และก็ทิศทางลมถ้าใครที่ขับรถด้วยความเร็วสูง แรงต้านอากาศ จะเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิมมาก นั่นหมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ต่อ กิโลเมตร ก็ต้องมากขึ้นเราจึงไม่ควรรู้ว่า ไม่ว่าจะรถยนต์อะไรก็ตาม ๅถ้าเราขับด้วยความเร็วสูง แรงต้านอากาศก็ยิ่งมาก สุดท้ายอัตราการสิ้นเปลืองก็ต้องมากตามดังนั้น ระยะทางต่อพลังงานนั้น ค่อนข้างเป็นระยะในอุดมคติ เหมือนวิ่งแต่ล้อในห้องทดลอง ไม่ว่าจะรถยนต์ไฟฟ้า หรือ ไฮบริด เราก็ไม่ควรจะเชื่อข้อมูลนี้และคนที่ไปทดสอบ ในสถานะการณ์จริง ไม่เคยเห็นใครทำได้ดีกว่าระยะที่เอามาโฆษณา
งงว่าเราทำอะไรผิดครับ เราไม่สามารถอัดข้อมูลปัจจัยด้านวิศวกรรมทั้งหมดลงในคลิปสั้นๆนี้ได้ เราจึงรวบมาให้ว่ามันขับเร็วแล้วลำบากกว่ารถน้ำมัน เพราะปัจจัยด้านการสูญเสียพลังงานของรถไฟฟ้าต่างจากรถสันดาปครับ แค่สรุปมาให้ไม่อยากให้ nerd ไป
อีกอย่างนะครับ คลิปทดสอบการกินพลังงานเทียบหลายระดับความเร็วกำลังมาครับ เช่นเดิม คลิปนี้ไม่ใช่ engineering theory book เราจงใจค่อยๆเล่าทีละเรื่องคนให้คนทั่วไปเข้าใจไม่ยากเกินไป
ดีอย่างนึงคือลดมลภาวะในเขตเมือง แต่ที่เหลือก็ตามนั้นครับ
นอกเมืองมันสลายตัวไปอย่างรวดเร็ว ตามหลักวิทยาศาสตร์ ที่ก๊าซแต่ละชนิดมันจะรวม แตกตัว กันเองในธรรมชาติ( สังเกตุจาก "ตด" มีเหม็นแป๊บเดียว ก็สลายตัวไปเอง )
55555
อยากจะบอกให้นะครับ
ไม่จำเป็นต้อง balance phase เลยนะครับ แค่ใส่ charger ไปที่อีกเฟส เท่านั้น
สามารถทำให้ถูกและปลอดภัยได้
อยากให้ช่องนี้ให้ข้อมูลที่ถูกต้องครับ
การไฟฟ้าทำงานดีกว่าที่คุณให้ข้อมูลครับ
รถสันดาปจุกจิกมากๆ มากกว่ารถ EV
ให้ข้อมูลที่มี bias มากขนาดนี้ ขอเลิกติดตามครับ😮
เห็นด้วยครับ สงสัยรถน้ำมันตามเต๊นรถเหลือเยอะจนต้องโฆษณา
สิ่งที่เราเลือกมาแชร์คือสิ่งที่คุณต้าเจอจริงๆในการติดตั้งที่ชาร์จที่บ้าน ซึ่งเป็นข้อเท็จจริง ผมงงว่า bias ยังไงครับ?
อีกอย่าง คลิปนี้ไม่ได้ทำเพื่อเชิดชูรถสันดาป นั่นคือสิ่งที่คุณคิดเองจากโฟกัสคลิปนี้คลิปเดียว เราไม่ได้พูดแม้แต่คำเดียวว่ารถสันดาปดีกว่า ทั้งที่คลิปก่อนหน้าเราพูดถึงความจุกจิกเครื่องเทอร์โบ และการใช้งานของแต่ละคนก็ไม่เหมือนกัน เรามีหน้าที่ให้มุมมองในฐานะสื่อสายยานยนต์
ข้อมูลส่วนไหนไม่ถูกต้อง รบกวนบอกเรามาได้ไหมครับ เราอยากรู้ และเรากำลังจะทำคลิปแก้ไขส่วนที่เราพูดผิดด้วยครับ จะได้นำมารวบรวม
@LittleLion72
@@นายธีรภัทรภูมี เราอาจจะไม่เคยพูดชัดๆนะครับ แต่ช่องเราไม่รับโฆษณารถ 4 ล้อ เพราะเราทำช่องนี้เพื่ออยากให้ความรู้คนจริงๆ กล่าวหาคนอื่นโดยการเดาเอาไม่ใช่พฤติกรรมที่ดีครับ
เป็นมุมมองของคนรวยครับ น่าจะใช้เทสล่า รถรุ่นอื่น ใช้ไฟ เฟสเดียว ไม่จำเป็นต้องใช้ไฟ 3 เฟส แล้วน่าจะอยู่ในเขต กฟน. เลยไม่รู้ หลักเกณฑ์ของ กฟภ. ง่ายกว่ามาก ซึ่งรวมๆ แล้วค่าใช้จ่ายไม่ถึงหมื่น(เครื่องชาร์จแถมมา) แล้วแบตที่ใช้เป็นน่าจะเป็น NMC ไม่ใช่ LFP เลยเอาของที่ตัวเองใช้ มาเป็นประเด็นหลัก
มีหลายปัจจัยที่ไม่เหมาะกับแค่คนกลุ่มเดียว เช่นคนขับรถเร็วเป็นนิสัย คนที่ต้องเดินทางวันละหลายร้อยกิโลเมตรที่ต้องทำเวลา เช่น เซลล์ คนที่มีรถได้คันเดียว หรือ เป็นคันแรก ในส่วนอื่นๆ เช่นราคาแบตเตอรี่เมื่อหมดประกัน ราคาประกันภัย ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่มีใครทราบ เพราะยังไม่ถึงเวลาครับ
ใช้มา 2 ปี รวม 3 ค่ายทั้งจีนและอเมริกา ไม่เคยเจอปัญหาใดๆ ประหยัดค่าใช้จ่ายหลายเท่าตัวครับ
เดินทางสาธารณะ ประเทศไทยมันแพง+เสียเวลา ล่าสุดพึ่งทดสอบเลย เดินทางจากบ้าน กำนันแม้นไปอนุสาวรีย์ ใช้เงินเดินทางรถเมย์ต่อไฟฟ้า ราคา 100 บาท กลับอีก 100 บาท แล้วใช้เวลา ไป-กลับ รวมกัน 3 ชั่วโมงครึ่ง
นี่ถ้าเอารถไป-กลับ (รถ ngv) รวมค่าที่จอดรถ ยังไม่ถึง 100 เลย ใช้เวลาไป-กลับ แค่ 1 ชั่วโมง
นี่ถ้าค่าแรงผม ชม.ละ 100 ผมเดินทางสาธารณะ เท่ากับ ผมจ่ายแพงกว่าใช้รถยนต์ไป 350 บาท เลยนะ
ที่บอกว่าชาร์จแต่ DC แล้วแบตเสื่อมเนี่ยอันนี้คิดเองล้วนๆครับ เพราะล่าสุดbyd astro 3 เขาทดลองวิ่ง 160,000 กิโลเมตร ภายในระยะเวลา 7 เดือน ชาร์จ DC ล้วนๆเพราะต้องเก็บบิลเอาไปขึ้นเงิน แบตเตอรี่เสื่อมไปแค่ 4% ยังคงอยู่ที่ 96% ฉะนั้นที่บอกว่าชาร์จ DC แล้วแบตเสื่อมเนี่ยอันนี้น่าจะคิดไปเองแล้วล่ะครับ ในขณะที่ผู้ใช้บางคน ชาร์จ a4 บ้างชาร์จ DC บ้าง ในระยะเวลา 7 เดือนเท่ากันแบตเตอรี่ก็เสื่อมเท่ากัน คือยังคงเหลืออยู่ 96% เหมือนกัน ฉะนั้นการชาร์จ DC หรือชาร์จ AC ไม่ได้เป็นตัวบ่งบอกว่าแบตจะเสื่อม
เราไม่ได้พูดเรื่องนี้จากการอ้างอิงการทดสอบของค่ายรถค่ายใดค่ายหนึ่งจ้างทำเอง ซึ่งขอให้เป็นความรู้ไว้นะครับว่า ผลการทดสอบเหล่านี้ผู้จ่ายเงินมีสิทธิ์ควบคุมตัวแปรต่างๆที่เอื้อให้ผลลัพธ์ออกมาดี ไม่ได้พูดลอยๆ เราเคยอยู่ในกระบวนการมาแล้วหลายครั้ง
เราพูดเรื่องนี้จากข้อมูลอ้างอิงของรถ Tesla ย้อนหลัง 11 ปีรวมกว่า 1,000+ คันในอเมริกา ซึ่งมีข้อมูลสาธารณะในโหลดจากรถอาสาสมัครครับ
@@CarTea ชอบมาก พูดตรงไปตรงมา มีเหตุผล ค่ายต่างๆ จ้างทำ ย่อมมี biased
คนมีปัญญาซื้อรถฝรั่งราคาแพง โดยมากเป็นบ้านคนรวยที่ติดไฟ 3 เฟส และใช้ไฟโคตร ๆ บางบ้านค่าไฟหลายหมื่นต่อเดือน ดังนั้นคนจนไม่ได้ซื้ออยู่แล้วและคนรวยก็ไม่มีปัญหาอยู่แล้ว ส่วนรถจีนไฟบ้านเหลือเฟือ บ้ผมก็ใช้เนต้าวีชาร์จไฟบ้านมาจะ 2 ปีแล้ว
อาจต้องคำนวนค่าสุขภาพ จากการใช้จักรยาน , สกูตเตอร์ในเมืองที่มีค่ามลพิษในอากาศสูงๆ ด้วยนะครับ
พูดแบบกั๊กๆ เพื่อให้คนกลัวรถEV แทนที่จะชี้แจงให้ชัดเจน เปรียบเทียบรถEV กับรถน้ำมัน กระจ่างๆ ให้ผู้บริโภคตัดสินใจได้ชัดเจน
Ev มาแน่นอน น้ำมันนี้รอเปลี่ยนจริงๆ
ผมห่วงอีกประเด็น แบตเสื่อม70% เราจะเสียค่าชาร์จ2ต่อไหม เสียเงิน100บาทเท่าเดิมแต่ได้ไฟเข้าแบ็ต70% แต่ตอนปล่อยออกจะโดนอีก70%(ของ70) =49 ไหม? อยากรู้?
มั่ว แระ
มันชาร์จเข้าแค่ 70% นั่นแหละ แล้วมันก็ตัดไปเอง ( เพราะแบตเตอรี่มีความต้านทานภายในเกิดขึ้น ไม่ใช่ดูดซับ )
@@LosoTab ใจจริงผมอยากให้พวกวิศว ลองเทสดู เหมือนตอนแบ็ตมือถือเสื่อมไฟก็จ่ายเข้าแต่แบ็ตมันไม่ขึ้น แต่พอใช้แบ็ตก็วูบหมดเร็วมาก
เขาก็ไปซื้อซากรถ มาใช้กันอยู่
คือ ตอนอยู่ในรถ
1. มันชาร์จเร็วมาก ถ้าชาร์จ ดีซี ชาร์จร้อน
2. มันดิสชาร์จสูง ไฟกระชากจ่ายให้มอเตอร์
นี่เหตุผลทำให้แบตเสื่อมไว ประจุลดลง
แต่พอเอามาใช้ในบ้าน
ตรงข้ามทั้งสองอย่าง
ชาร์จช้า ไม่ร้อนเลย
ดิสชาร์จเบา ๆ ไฟกระชากสุด ๆ ก็แอร์รุ่นเก่า ๆ
จึงใช้งานได้ตามปกติ ที่ 70% นั่นแหละ
แบตรถยนต์ สเปคสูงกว่า แบต มือถือ มากมาย นะ
พวกโซล่าเซลล์ชอบมาก
ติด wallbox ยากจริงๆเหรอครับ ?
มันคงเหมือนทำไข่เจียวมังครับ คนทำกับข้าวเป็นก็มองว่าง่าย คนทำไม่เป็นไม่เข้าใจก็ว่ายาก
มันไม่ได้ยากวุ่นวายไปมากกว่าติดแอร์หรือ เครื่องทำน้ำอุ่นอีกเครื่องสักเท่าไหร่เลยนะครับ ตั้งเป้าแค่ปลอดภัย แล้วอยากได้สเปกความต้องการแบบไหน ก็ตามกำลังทรัพย์เลย เช่นรถคุณชาร์จได้ 11 kW แต่วันๆคุณขับ100-200โล เราจะติดwallbox 7 kW มันก็เพียงพอแล้ว เราจะให้ทันชาร์จเสร็จไวทำไม ถ้ากลับมาบ้านแล้วต้องนอนต้องพัก 6-10 ชมอยู่แล้ว ? มันชาร์จเสร็จ ตี1 หรือ ตี 5 มันก็เต็มเหมือนกัน คือถ้าเข้าใจเงื่อนไขความปลอดภัยมันชิวมากๆ พลิกแพลงได้หลายแบบ
แต่ก็อย่างว่า คลิปนี้เน้นรถไฟฟ้าระดับสูงขึ้นไป ดูทุกอย่างจะแพงและลำบากไปหมดเพราะระบบเยอะ ก็ถ้าเราจะเปรียบเทียบ ค่าใช้จ่ายคนทั่วไปมากๆ รถไฟฟ้าจีน ที่ราคาพอๆกับรถญี่ปุ่นทั่วไป จะพอเปรียบเทียบกันได้ เพราะราคาพอๆกัน และ ประกันราคาก็พอกัน ( คิดว่า city vios yaris นี่ประกันชั้น1 ถูกเหรอครับ ? ประกันชั้น1 ที่ทุนประกันพอๆกัน ราคาก็พอๆกันนี่ล่ะครับ )
สุดท้าย แต่ละคนเหมาะกับรถแต่ละแบบ มันแทนกันหมดไม่ได้ แต่ถ้าคนที่จำเป็นต้องมีคันเดียว ต้องมาดูตาม check list ความต้องการ ความสำคัญ และ เงินในกระเป๋า ไม่มีรถที่วุ่นวายเกินกว่าจะใช้ และก็ไม่ถึงกับจะสบายจนไม่ต้องดูแล
แปลกใจว่า ทำไมถึงไม่มีใครพูดถึงแรงต้านอากาศ และก็ทิศทางลม
ถ้าใครที่ขับรถด้วยความเร็วสูง แรงต้านอากาศ จะเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิมมาก นั่นหมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ต่อ กิโลเมตร ก็ต้องมากขึ้น
เราจึงไม่ควรรู้ว่า ไม่ว่าจะรถยนต์อะไรก็ตาม ๅถ้าเราขับด้วยความเร็วสูง แรงต้านอากาศก็ยิ่งมาก สุดท้ายอัตราการสิ้นเปลืองก็ต้องมากตาม
ดังนั้น ระยะทางต่อพลังงานนั้น ค่อนข้างเป็นระยะในอุดมคติ เหมือนวิ่งแต่ล้อในห้องทดลอง ไม่ว่าจะรถยนต์ไฟฟ้า หรือ ไฮบริด เราก็ไม่ควรจะเชื่อข้อมูลนี้
และคนที่ไปทดสอบ ในสถานะการณ์จริง ไม่เคยเห็นใครทำได้ดีกว่าระยะที่เอามาโฆษณา
งงว่าเราทำอะไรผิดครับ เราไม่สามารถอัดข้อมูลปัจจัยด้านวิศวกรรมทั้งหมดลงในคลิปสั้นๆนี้ได้ เราจึงรวบมาให้ว่ามันขับเร็วแล้วลำบากกว่ารถน้ำมัน เพราะปัจจัยด้านการสูญเสียพลังงานของรถไฟฟ้าต่างจากรถสันดาปครับ แค่สรุปมาให้ไม่อยากให้ nerd ไป
อีกอย่างนะครับ คลิปทดสอบการกินพลังงานเทียบหลายระดับความเร็วกำลังมาครับ เช่นเดิม คลิปนี้ไม่ใช่ engineering theory book เราจงใจค่อยๆเล่าทีละเรื่องคนให้คนทั่วไปเข้าใจไม่ยากเกินไป
ดีอย่างนึงคือลดมลภาวะในเขตเมือง แต่ที่เหลือก็ตามนั้นครับ
นอกเมืองมันสลายตัวไปอย่างรวดเร็ว
ตามหลักวิทยาศาสตร์ ที่ก๊าซแต่ละชนิดมันจะรวม แตกตัว กันเองในธรรมชาติ
( สังเกตุจาก "ตด" มีเหม็นแป๊บเดียว ก็สลายตัวไปเอง )
55555