โลกควอนตัมอย่างง่าย EP4 : หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 29 сер 2024
  • ตอนนี้เป็นตอนที่ 4 ของซีรีย์ โลกควอนตัมอย่างง่าย
    โดยในตอนนี้จะเป็นการขยายความเรื่องหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก หรือ Heisenberg Uncertainty Principle ที่ได้พูดถึงในตอนที่ 3
    ทำไมในวัตถุเล็กๆ เราถึงบอกว่ามันมีความไม่แน่นอน แล้วความไม่แน่นอนมันคืออะไร แล้วการที่เรามักได้ยินว่า เราไม่สามารถหาตำแหน่งและโมเมนตัมของอนุภาคพร้อมๆ กันได้ มันหมายความว่าอะไร แล้วมันส่งผลอย่างไรต่อโลกเรา?
    ------------------------------------------------------------
    โลกควอนตัม EP1 : • โลกควอนตัมอย่างง่าย EP...
    โลกควอนตัม EP2 : • โลกควอนตัมอย่างง่าย EP...
    โลกควอนตัม EP3 : • โลกควอนตัมอย่างง่าย EP...
    โลกควอนตัม EP4 : • โลกควอนตัมอย่างง่าย EP...
    ------------------------------------------------------------
    ติดตามเราที่ช่องทางอื่น ๆ ได้ที่ facebook : / becuriousth

КОМЕНТАРІ • 167

  • @curiosity-channel
    @curiosity-channel  3 роки тому +20

    ถ้าใครมีอะไรอยากเสริมเพิ่มเติม หรือแก้ไขอะไร บอกได้ในโพสนี้นะครับ

    • @graizath3590
      @graizath3590 3 роки тому +1

      ถ้าเราจะวัดค่าโดยใช้คลื่นความโน้มถ่วง เทคโนโลยีตอนนี้เป็นไปได้มั้ยครับ

    • @shagouwong6130
      @shagouwong6130 2 роки тому

      นาทีที่ 12:08 ควรเขียนให้ชัดเจนว่าเป็น Delta x คูณกับ Delta p ในแนวแกน x ครับ เพราะแกนอื่นๆก็มีแยกของมัน เช่น Delta y * Delta p ในแกน y

  • @psnand
    @psnand 3 роки тому +43

    ท่านอาจารย์ขาว เหมือนวงศ์ และ​ท่านอาจารย์ชัยวัฒน์ คุประตระกุล ครับ​
    ดีแล้วที่ท่านอาจารย์ทั้ง ๒​ ให้​ F แก่ผมในการเรียน Advance Physics
    เพราะผ่านไป ๓​ ทศวรรษ ผมเพิ่งเข้าใจหลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg (HUP)
    ขอบคุณ​มาก​ Be Curious

    • @Nchaikul
      @Nchaikul 3 роки тому +3

      สุดยอดเลยครับ ยังจำชื่อ - นามสกุล อาจารย์ได้

    • @jack_Thai
      @jack_Thai 3 роки тому +8

      สมัยก่อนเขาเรียน แบบให้ท่องจำกันนะคับ มันช่างเป็นเรื่อง น่าเศร้าครับ

  • @anawatlimwarakorn8071
    @anawatlimwarakorn8071 3 роки тому +25

    สนุกมากๆเลยครับ ผมตามทุกคลิปเลย ทำคลิปดีๆต่อไปนะครับ เข้าใจว่าคนดูอาจจะยังไม่เยอะ แต่ต่อไป เด็กๆทั้งประเทศอาจจะต้องมาดูก็ได้ครับ

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  3 роки тому +4

      ขอบคุณมากครับ
      กำลังพยายามทำออกมาเรื่อยๆ ตอนว่างจากงานประจำ
      ทำทั้งแบบจริงจังบ้าง เอาฮาบ้าง แต่ให้อยู่ใน theme วิทยาศาสตร์

  • @denpoom4372
    @denpoom4372 3 роки тому +13

    อธิบายได้เข้าใจง่ายมากครับ เหมือนมีวิทยากรมาบรรยายให้ฟังที่บ้านเลย👍🏻👍🏻

  • @Cannon105
    @Cannon105 3 роки тому +8

    🔴ความรักทำตัวเป็นคลื่นเมื่อจักรวาลไม่รับรู้ ถ้าไม่มีเพื่อนสังเกตทิศทาง(ตรวจจับ) ความน่าจะเป็นที่เราจะรักใครก็จะสอดซ้อนกันกระจายไปตกได้ที่ผู้หญิงหลายคน แต่หากวันได้จักรวาลรับรู้ เพื่อนเรารู้ว่าตรวจจับได้ว่าความรักเราไปทางไหน ความรักเราจะกลายเป็นอนุภาค และจุดตกจะชัดเจนว่าความรักเรากำลังพุ่งไปตกที่นางสาว ก.

    • @Cannon105
      @Cannon105 3 роки тому +2

      ทั้งหมดนี้ผมจึงคิดว่า ในสมองเรา ในความคิดเราเป็นหลักการเดียวกับแสง คือเมื่อเรากำลังคิดก็มีความไม่แน่นอนสูงและทำตัวเป็นคลื่น แต่เมื่อเราตัดสินใจหรือสร้างความรับรู้ให้ตัวเอง(เท่ากับสร้างความรับรู้ให้จักรวาล) มันจะแสดงตัวเป็นอนุภาค(การกระทำ)

    • @iyakuptsemanon6567
      @iyakuptsemanon6567 7 місяців тому

      มวลของความรักก็ไม่เกิน 80 ก.ก.

  • @291106100
    @291106100 2 роки тому +5

    ถึงแม้จะฟังไม่เข้าใจถ่องแท้แต่ก็รู้สึกว่าดีมาก อย่างน้อยมันเริ่มเห็นภาพลางๆขึ้นมาบ้างเกี่ยวกับโลกจิ๋ว(ควอนตัมของเรา) คลิปของคุณมันสร้างแรงบันดาลใจได้ดี ทำให้อยากศึกษาเพิ่มเติมขึ้นเรื่อย ตามดูตลอด

  • @yaigrandma
    @yaigrandma 3 роки тому +9

    อธิบายเรื่องฟิสิกส์ได้สนุก เข้าใจง่ายดีมากเลยครับ

  • @oorrunningblog
    @oorrunningblog 3 роки тому +3

    เรื่องนี้ไม่ได้เรียนในห้องเพราะสอบเทียบตั้งแต่ม.5 ส่วนเรื่องนี้อยู่ ม.6 ต้องอ่านเอง แล้วก็มึนๆงงๆ จำได้แค่ว่าในบรรดารูปนักวิทยาศาสตร์ในหนังสือเรียน ไฮเซนเบิร์กนี่หนุ่มสุด หล่อสุดแล้ว ;p

  • @wutwutlerd6216
    @wutwutlerd6216 3 роки тому +10

    ชอบดูช่องนี้มากครับ มีแต่สาระ เอาเรื่องเข้าใจยากๆ มาเล่าให้เข้าใจ แม้บางอย่างผมก็ยังงงๆ สมกับชื่อช่องคนไฝ่รู้จริงๆ ครับ

    • @tamamonook
      @tamamonook 3 роки тому

      ใช่ครับ การอธิบายเรื่องยากให้ฟังดูง่าย แสดงว่าแอดมินทำการบ้านมาดีมากๆ

  • @chaiyoth6711
    @chaiyoth6711 3 роки тому +3

    สุดยอดครับ ไม่เคยคิดว่า จะมีคนเอาเรื่องยาก ๆ แบบนี้ มาทำเป็นคลิป

  • @panudechpodee9248
    @panudechpodee9248 3 роки тому +7

    ทำคลิปได้ดีจนขนลุกเลยครับ ❤️❤️

  • @Cannon105
    @Cannon105 3 роки тому +25

    🔴เหมือนความรักเลยครับ ตอนโสดมันทำตัวเป็นคลื่น ค่าเดลต้าเอ็กคือโอกาสในการพูดคุยกัน ยิ่งสาวคนไหนเปิดช่องให้เรากว้าง ค่าpก็จะมีความแน่นอนมากที่ความรักของเราจะพุ่งมาที่เธอเพียงผู้เดียว แต่ถ้าเธอบีบช่องให้ความรักเราผ่านได้แคบลง โอกาสที่ความรักเราจะแปลตัวกลับเป็นคลื่นความน่าจะเป็นก็กลับมาอีกครั้ง โอกาสสำหรับสาว ก. ยังสูงอยู่ แต่คลื่นจะมีโอกาสไปตกยัง สาว ข.และ ค. เพิ่มขึ้น ตามหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก

    • @DDog21
      @DDog21 2 роки тому +1

      น้ารักที่สุดเลยครับผม

    • @pratyachairuang9994
      @pratyachairuang9994 2 роки тому +1

      หรือมันจจะจริงอย่างที่ว่า ยิ่งแคป แย่งมีตัวเลือกเยอะขึ้น ยิ้วกว้างยิ่งแน่นอน กฏของจักรวาลอีกข้อหนึ่ง ในสองข้อ เรื่องกฏแห่งแรงดึงดูเ

    • @pagodacloud2241
      @pagodacloud2241 Рік тому

      ความรัของผมยิ่งใหญ่เกินกว่าคณิตศาสตรร์จะคำนวนได้ครับ😂😂😂❤❤❤

  • @bassjung1
    @bassjung1 2 роки тому +1

    โอ้ย..ยิ่งฟังยิ่งชอบครับ อธิบายจนผมที่มีความรู้ทางนี้เป็น0 พอจะเข้าใจ และเริ่มสนุกเริ่มอยากรู้ สุดยอดครับ ตอนแรกเห็นหัวเรื่องก็ไม่ค่อยอยากฟัง แต่พอได้ฟังแล้ว ตอนนี้จัไล่ฟังทุกep เลยครับ

  • @noomthana
    @noomthana 3 роки тому +3

    ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆครับ สนุกมาก เข้าใจมากขึ้นด้วย จากที่งงๆอยู่หลาย 10 ปี

  • @user-bo4yk9xj2d
    @user-bo4yk9xj2d 2 роки тому +2

    ดีๆกว่าไปนั่งฟัง..พระเทศ..มีประโยชน์

  • @dr.modevast7269
    @dr.modevast7269 2 роки тому +2

    ประเทศเราค้องการคนแบบนี้ครับ สุดยอด 👍

  • @sornt
    @sornt 3 роки тому +3

    สุดยอดมากครับ ข้อมูลแน่นมาก

  • @GGcxvw558
    @GGcxvw558 3 роки тому +2

    ชอบมากครับทำคลิปออกมา ความรู้แน่น นำเสนอเข้าใจง่าย และมีข้อมูล back ทุกอัน

  • @jjk3057
    @jjk3057 3 роки тому +2

    ช่องคุณภาพ อธิบายเข้าใจง่ายดีค่ะ 💕💕

  • @artakkapol7191
    @artakkapol7191 2 роки тому +2

    พระเจ้าโหดมาก สร้างทุกสิ่งมาให้ไม่แน่นอน ไม่สมบูรณ์แบบ เพื่อที่จะไม่สามารถหาต้นตอของพระเจ้าได้

  • @wanchaitono4612
    @wanchaitono4612 3 роки тому +3

    เก่งมากครับ

  • @chairatjassadarom5059
    @chairatjassadarom5059 3 роки тому +1

    เยี่ยวมากๆครับ ตอนเรียนฟิสิกส์ มปลาย ผมชอบเรื่องนี้มากๆครับ

  • @abbiekps688
    @abbiekps688 3 роки тому +1

    ขอบคุณสำหรับการถ่ายทอดความรู้

  • @jim_Runaway
    @jim_Runaway 3 роки тому +1

    สุดยอดเลยครับ

  • @wicha7815
    @wicha7815 3 роки тому

    มันส์ครับ เทียบให้เห็นภาพเข้าใจง่าย

  • @หมีรัสเซีย

    ขอบคุณครับ

  • @poomp.3395
    @poomp.3395 8 місяців тому

    สนุกกับเรื่องราวน่าปวดหัว ชอบๆ

  • @user-nh5ne7gs3s
    @user-nh5ne7gs3s 2 роки тому

    สนุกดี เหมือนการเล่าดูหนังสั้น ... น้ำเสียงผู้บรรยาย​ชัด ฟังง่าย

  • @worrawateleela-apiradee8486
    @worrawateleela-apiradee8486 3 роки тому

    ฟังเข้าใจ จนขนลุกครับ

  • @Ssaaddooww
    @Ssaaddooww 3 роки тому +6

    โลกควอนตัมคือ..จิต..ครับ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เรามีตอนนี้..มันก็เหมือน เม็ดทรายหยิบมือหนึ่ง ในมหาสมุทรแห่งห้วงมหรรณพเท่านั้นเอง...แต่มันน่าตื่นเต้นมากๆ..ที่เรากำลังค้นพบความรู้เรื่อง จิต..ที่ใช้การศึกษา อธิบายแบบ วิทยาศาสตร์..ว้าวๆๆๆๆๆ..

    • @pongpun116
      @pongpun116 3 роки тому

      จิต หรือ มโน หรือ วิญญาณ คือความหมายเดียวกันครับ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ทำงานได้ทีละอย่างตรงกับกฏความไม่แน่นอนเลยครับ เมื่อรับรู้สิ่งหนึ่งอีกสิ่งหนึ่งจะเบลอๆ ลองไปสังเกตดูนะครับ เมื่อเราจงใจตั้งใจดู เราจะสูญเสียการได้ยินแบบละเอียดไป สัมผัสทั้ง 6 ทางจะทำงานทีละอันตามเจตนาที่เราตั้งใจในสัมผัสนั้น ครับ

    • @Anirvachaniya135
      @Anirvachaniya135 3 роки тому +3

      พุทธศาสนา คือศาสนาแห่งการเครมจริงๆ

    • @k.featheriuslebera3462
      @k.featheriuslebera3462 3 роки тому

      @@Anirvachaniya135 เคลมสรรพสิ่ง กัมพูชาเขาคงทำตามพระพุทธศาสนาอย่างดีเลย

    • @sonpopa3125
      @sonpopa3125 Рік тому

      จิตคือกระแสสมองเอง ควอนตัมกว้างไกลกว่าเยอะเปรียบจิตเหมื่อนประกายไฟในห้วงอากาศเท่านั้น อย่าเชิดชูเยอะถ้าจิตอย่างเดียวล้ำเลิศขนาดนั้นคนที่เกิดอำนาจจิตล้ำเลิศในอดีตคงสร้างความเจริญแล้วแต่ความจริงคือความรู้การสังเกตของนักวิทย์ต่างหากสำคัญกว่าที่ทำให้โลกเจริญเช่นปัจจุบันไม่ใช่เสกสรรค์จากอำนาจจิตเลย

  • @user-ul1yb6rh4r
    @user-ul1yb6rh4r 2 роки тому

    ขอบคุณครับ กับ การนำเสนอ ครับ

  • @user-pw7ky3ku5x
    @user-pw7ky3ku5x 3 роки тому

    อธิบายดีมากกๆๆๆๆเลยครับ

  • @diamondbreak
    @diamondbreak 2 роки тому +2

    วันนึงที่เรามองเห็นโลกแควนตั้มได้ ก็คงเหมือนตัวละครในเกมส์มองเห็นหลอดภาพ LED ที่อยู่หลังจอ

  • @nisonsattayasai1551
    @nisonsattayasai1551 3 роки тому

    อธิบายได้ดีมากครับ

  • @jimmy_9121
    @jimmy_9121 2 роки тому

    สุดยอดที่สุดครับ

  • @AM-nn8bo
    @AM-nn8bo 3 роки тому +1

    ชอบคำว่าจ้กรวาลยอมรับเรื่องนี้ไม่ได้มาก ทุกอย่างเป็นไปตามระบบ

  • @pratyachairuang9994
    @pratyachairuang9994 2 роки тому +1

    เป็นสิ่ฃที่สุดยอดที่สุดที่ผมเคยรู้จักเลย ฟิสิกส์ 😘😘

  • @AstroLeo912
    @AstroLeo912 2 роки тому

    ขอบคุณมากครับ

  • @user-gf7uz2jz7d
    @user-gf7uz2jz7d 3 роки тому

    Thanks.

  • @smithfarry1455
    @smithfarry1455 2 роки тому

    ชอบมากตำพุดได้

  • @thegodofnewwold1743
    @thegodofnewwold1743 3 роки тому +4

    เดลต้าpคูณเดลต้าx = คอนแสต้น ภาษาเศรษฐศาสตร์ถูกอธิบายถึงอัตราการทดแทนกันของ ของสองสิ่ง

  • @user-mf4wo6es9e
    @user-mf4wo6es9e 2 роки тому

    👍🌅🌧️🌱🌾🌎🌌🌹💕👍👍👍👏 ท่านบรรยายได้ เจ๋งมากๆๆๆ

  • @b_thanatapropong8666
    @b_thanatapropong8666 3 роки тому

    ชอบมากครับ

  • @wisitprem2843
    @wisitprem2843 3 роки тому +1

    สนุกดีครับ

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  3 роки тому +1

      ขอบคุณครับ ผมก็ลุ้นอยู่ว่าคลิปนี้ จะมึนๆกันไหม ยอมรับเลยว่าเรียบเรียงยากจริงๆ ทำยังไงให้ฟังแล้วไม่น่าเบื่อเหมือนนั่งในห้องเรียน

  • @chevasit
    @chevasit 3 роки тому

    เยี่ยมครับ

  • @peetho3714
    @peetho3714 2 роки тому

    แน่ใจนะครับ ว่านี่อย่างง่ายแล้ว

  • @pangkate
    @pangkate 3 роки тому

    ขอบคุณค่ะ ,,

  • @sodasouth8032
    @sodasouth8032 Рік тому +1

    แปลว่าแสงมันสะท้อนไปมาในช่องสลิชแล้วกระจายออก เนื่องจากที่แคบเกิน

  • @waritnanphecded9811
    @waritnanphecded9811 3 роки тому

    สนุกมาก

  • @ten-xj1ff
    @ten-xj1ff 3 роки тому

    ดีมากครับ

  • @168hubstation9
    @168hubstation9 Рік тому

    ชื่นชอบเป็นวิทยาการทางปัญญาที่สุดยอดมากครับ อยากร่วมงานด้วยต้องทำอย่างไรครับ

  • @user-yk5jn1rd5z
    @user-yk5jn1rd5z Рік тому

    มึนเลยครับ 🤔😵‍💫🤣

  • @nopanom
    @nopanom 2 роки тому

    เสื้อสวย ครับ ^^

  • @Ronin-f1k
    @Ronin-f1k 23 дні тому

    ข้อความ ณ2เวลานี้ขัดแย้งกันนะ
    1.เวลา5:18 กับ
    2.เวลา5:51
    คือ
    1.เวลา5:18xไม่แน่นอน ไม่ชัดpก็ไม่แน่นอนไม่ชัด
    แต่
    2.เวลา5:51บอกว่าxชัดแน่ pจะไม่ชัดหรือpชัดxจะไม่ชัด
    ??????ขอบคุณมาก.

  • @user-xl2ci6ln4e
    @user-xl2ci6ln4e 11 місяців тому

    งง..คำว่าอนุภาคในคลิบนี้หมายถึงอิเล็กตรอนอย่างเดียว หรือ รวมถึงโปรตรอน, นิวตรอน ด้วย?

  • @user-ul1yb6rh4r
    @user-ul1yb6rh4r 2 роки тому

    อันนี้รับได้และเข้าใจได้ครับ กับ " ความไม่แน่นอน " ครับ

  • @PhuRiLOvE
    @PhuRiLOvE 3 роки тому +1

    อธิบายเข้าใจง่ายดีครับ แต่ก็งงว่ามันเป็นแบบนั้นไปได้ไง 55555 ตรงที่ยิ่งเล็กแล้ว ค่า ^p เพิ่ม

  • @pvarawat
    @pvarawat 3 роки тому +1

    วิทยาศาสตร์​พิสูจน์​ได้แล้วว่าเวลาที่เราไม่มองไปที่ดวงจันทร์​ มันจะไม่มีดวงจันทร์​อยู่ เพราะ wave function ยังไม่ collapsed

  • @gooinbat5094
    @gooinbat5094 2 роки тому

    แสงที่พุ่งออกไปมันกระจายไปทุกทิศทุกทาง ไม่ว่าจะมีเรื่อวความหนาแน่นมาเกี่ยวข้องหรือเปล่า ก้อตาม แต่ถ้าอนุภาคถูกจัดเรียง(ให้เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงให้มากที่สุด)ได้ จริงๆ โดยไม่สูญเสียงพลังงานไปกับสิ่งรอบข้างเลย แสงก้อจะหายตัวได้ หรือเปล่า

  • @amwaymail9112
    @amwaymail9112 3 роки тому

    เปิดสอนฟิสิกส์ม. ปลาย/ปีหนึ่ง มั้ยครับ

  • @Ssaaddooww
    @Ssaaddooww 3 роки тому +3

    ความรู้ก็คือ...เรารู้ว่า..1+2=3 แต่เราไม่เคยรู้จริงๆว่า..1 และ 2 และ3 นั้นคืออะไรกันแน่...

    • @johnekk1560
      @johnekk1560 3 роки тому

      123 ฯมันคือค่าความไม่แน่นอนของความจริง#เพราะความจริงก็คือความจริงไม่ใช่จำนวนนับ555

    • @pongpun116
      @pongpun116 3 роки тому +1

      ใช่แล้วครับ เช่นเราไม่รู้ว่าเราเกิดมาทำไม

  • @Jihad_Bung_kai
    @Jihad_Bung_kai 8 місяців тому

    โห รางวัลโนเบล ตอนอายุ 26 😮 เลย เบญจเพส มานิดเดียวเอง😅

  • @user-io5nv1ew6q
    @user-io5nv1ew6q Рік тому

    ตามมาสืบ หลังจากดู breaking bad ครับ

  • @TOFFYHERO
    @TOFFYHERO 2 роки тому

    ปวดหัวมากเลยครับ ดูจนจบแล้วผมก็ยังไม่แน่ใจในความไม่แน่นอน 5555

  • @sittisakzero4231
    @sittisakzero4231 Рік тому

    วิธีการวัดค่ายังเป็นวิธีการที่เข้าไปแทรกแซงอะตอม ถ้ามีวิธีวัดค่าโดยไม่เข้าไปแทรกแซงได้อาจเห็นทั้งสองค่าได้ แต่ก็ไม่รู้จะให้วิธีไหน

  • @nobetana6548
    @nobetana6548 2 роки тому

    อยากให้ทำ clip ดีๆออกมาเรื่อยๆครับ น่าจะทำให้เด็กรุ่นใหม่ๆที่จะเรียน ได้รู้ว่าเรียนเพื่ออะไร จะได้มี Inspiration เพื่อต่อยอดอนาคตของเรา
    อยากแนะนำให้อธิบายการแตกแขนงของวิชาการ reference DOS (Domain of Science) Chart ต่างๆ ซึ่งผมประทับใจมากครับ

  • @hellomobile4986
    @hellomobile4986 2 роки тому

    ต้อง "รู้" พลัง "จิต+วิญญาณ" ใน "คน/สัตว์มีชีวิต" กลศาสตร์ ควันตัม เป็น พลังงาน /คลื่น/อนุภาค "แสง" มันไม่สามารถ"รู้" ด้วยพลังในตัวมันเอง คนเอาพลัง ควันตัมมาสร้าง "คอมส์"=หุ่นยนต์ " แล้วต้อง"ใส่"พลังให้มัน มันจึง ทำงานได้ แต่ "พลังจิต สร้าง สัตว์/คน ให้มี ตัว "รู้" และ คนสร้างพลังงาน ในตัวตนได้เอง จากการ "สังขาร" ของ ขันธ์ทั้ง ๕ รูปร่าง ก็มีพลังชีวิต ไม่เหมือน "ตัวเครื่อง=รูป" แบบมือถือ (รูปขันธ์) แล้ว พลังสำคัญ ของคน คิดสร้าง "คอมส์" เอาพลัง ไฟฟ้า/ควันตัม มาใช้ได้ กลศาสตร์"จิต+วิญญาณ" สร้างคน คนสร้างคอมส์ จึงควร ศึกษา "จิต" (๔ ขันธ์) ตาม หลักพุทธ คงอธิบาย "ธรรมชาติ ในขัดรวาล"ได้ แจ่มแจ้ง หมดจด ? คิดเล่นๆๆนะครับ ขอบคุณ "วิชา"ที่ถ่ายทอดมา เป็นประโยชน์ ต่อ "วิชาการ ทางโลกมากๆๆ" คิดเล่นๆๆ นะครับ

  • @ntEpicman
    @ntEpicman Рік тому +1

    คนอื่นเมื่อได้ยินคำว่า ไฮเซนเบิร์ก
    คนอื่น:มันคือ หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก
    ผมเมื่อได้ยินคำว่า ไฮเซนเบิร์ก
    ผม: ครูขาวว😱

  • @na-ha-va
    @na-ha-va 3 роки тому

    สงสัยเรื่อง อิเล็คตรอนของไฮโดรเจนครับ...
    1) มันมีแค่ตัวเดียว แล้วเราเห็นหรือว่าตรวจวัดได้ว่ามันกลายเป็นกลุ่มหมอก...หรือว่าภาพแบบจำลองกลุ่มหมอกที่แสดงเป็นแค่ตำแหน่งที่อาจจะพบอิเล็คตรอนตัวนี้ครับ ?
    2) สงสัยมั่วต่อว่า...จริงๆมันก็มีตัวเดียวนั่นแหละ แต่ด้วยความที่มันวิ่งเร็วกว่าการ capture ภาพได้ เราจึงเห็นในภาพมีหลายจุดครับ ?
    ขอบคุณครับ

    • @Cannon105
      @Cannon105 3 роки тому

      ดูที่น้ำหนักมั่งครับ

    • @shagouwong6130
      @shagouwong6130 2 роки тому

      มันมีแค่ตัวเดียวครับ แต่คำว่าตัวเดียวนี้ แต่ละแบบจำลองก็อธิบายไม่เหมือนกัน ยุคแรกๆมองว่ามันเป็นก้อนโคจรรอบโปรตอน บางแบบจำลองก็มองว่ามันเป็นคลื่น แบบจำลองกลุ่มหมอกก็เป็นภาพจุดหลายๆจุด
      รอบๆโปรตอน โดยที่ให้ความหนาแน่น ณ ตำแหน่งใดๆ ''แทน'' โอกาสที่จะเจออิเล็กตรอน ณ ตำแหน่งนั้น เมื่อมีการวัดเกิดขึ้น
      ส่วนของจริงแบบอย่างไร เราไม่รู้ ที่รู้คือแบบจำลองแบบควอนตัม อธิบายผลการทดลองได้ดีที่สุด ณ ตอนนี้ครับ
      บางครั้งเราอ่านหนังสือพวกนี้ ในหนังสืออาจจะมีภาพจำลองที่เขียนอธิบายไว้ไม่ละเอียด เราก็เข้าใจผิดว่านั่นคือภาพอะตอมจริงๆ ต้องนึกไว้เสมอว่านั่นคือแบบ ''จำลอง''

  • @notcategory6125
    @notcategory6125 3 роки тому

    พรสวรรค์ครับ

  • @lappawatapinan7284
    @lappawatapinan7284 2 роки тому

    เหมาะกับเด็กมอปลายมาดู จะพอเข้าใจฟิสิกส์มอปลายและเห็นภาพยิ่งขึ้น เนื้อหาได้ถึงปี 1 เลยมั้งครับ

  • @smn-tm
    @smn-tm 3 роки тому

    วันนึงถ้าเรื่องควอนตัมฟิสิกส์ก้าวหน้ากว่านี้ กฏของไอน์สไตร์ ก็คงต้องโดนหักล้างเหมือนไฮเซนเบิร์กหักล้าง atom ของบอร์บ้างแหละ

  • @user-sm3yz1jx2y
    @user-sm3yz1jx2y 2 роки тому +1

    มีคนสร้างเหรียญควอนตัมได้แล้วนะครับ

  • @kittiphopdhammawiwatnukul9977
    @kittiphopdhammawiwatnukul9977 2 роки тому

    ต้องอาศัยการย้อมสี จึงจะมองเห็น

  • @chatchaiphromsa-nga9214
    @chatchaiphromsa-nga9214 3 роки тому

    มาแล้วๆ

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  3 роки тому

      คลิปนี้อ่านหนังสือเหนื่อยเหมือนกันครับ 5555

  • @aforaether
    @aforaether 3 роки тому +2

    แล้วไฮเซนเบิร์กคิดสมการนี้ได้ นักวิทยาศาสตร์ระดับนี้สมองช่างล้ำลึกนัก

  • @user-wg4kd4ji7i
    @user-wg4kd4ji7i 3 роки тому +4

    ชอบครับร่วมคิดเห็นผู้ฟังต้องมีมิติที่เรียกว่าสติฟังแล้วมันไปด้วย
    เสียงคือคลื่นน้ำหนึ่งหยดเพิ่มๆๆๆเท่าตัวคนปรุงแต่งเรียบร้อยแล้วโลกก็
    แบบเดียวกัน

    • @user-mf4wo6es9e
      @user-mf4wo6es9e 2 роки тому

      เรื่องกฎแห่งความไม่แน่นอน ของไฮเซนเบริ์ก น่าจะลองนำมา วิภัชวาท ับ กฏไตรลักษณ์ ที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบก่อนเมื่อ 2500 กว่าปีมาแล้ว ว่าของใครที่นำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตจิตใจคนธรรมดา ได้ประโยชน์ที่สร้างสรรค์และพ้นจากทุกข์ได้จริงกว่่า อย่างไร จะทำให้คนรุ่นใหม่เข้าใจและเห็นคุณค่าของพระพุทธศาสนาที่แท้จริงยิ่งขึ้น 🙏🌅🌧️🌎🌌❤️😊

  • @duenudom2119
    @duenudom2119 2 роки тому

    เราก้อชอบมากเลย ฟังแล้วรุ้สึกตัวเองฉลาดขี้น

  • @lasersonic
    @lasersonic 3 роки тому

    Cooll

  • @jalax6268
    @jalax6268 3 роки тому +1

    ดูช่องนี้เหมือนได้เรียนฟิสิกส์อีกครั้ง

  • @coinman1283
    @coinman1283 2 роки тому

    เริ่มเข้าใจ ^x ^p ที่เกี่ยวข้องกับ ภาพจำลองอะตอมแบบใหม่ ก็จากคลิปนี้ครับ 😊🙏

  • @pjpj9549
    @pjpj9549 3 роки тому

    อยากฟั่งในเชิงคณิตศาสตร์ครับ เพราะผมเรียนแคลลมาแต่ไม่รู้ใช่ทำไรได้บาง ผมเรียนวิศวะ

    • @user-jn4tv7pr7e
      @user-jn4tv7pr7e 2 роки тому

      แคล เป็นเครื่องมือหาค่า ต่างๆที่คุณใช้งานนะครับ เช่น Moment of inertia
      ใช้ในการพิสูจนืที่มาขิงสูตรแบบย่อที่คุณกันอยู่ ถ้าคิดจะเป็นวิศวกรทั่วไป แคล ไม่สำคัญมาก เรียนแค่เข่้าใจก็พอ ตอนทำงานใช้ไม่เยอะมาก
      แต่ถ้าจะเรียนจนถึงระดับสูงแล้วต้องเข้าใจมันอย่างดีเลยตรับ

  • @preechaintree6469
    @preechaintree6469 2 роки тому

    ไม่น่าลืมฟิสิกส์ม.ปลาย กับปี1 เล้ย

  • @user-dz8kj3nl5t
    @user-dz8kj3nl5t 3 роки тому

    คล้ายๆการทำงานของกระเเสสื่อประสาท ที่รับรู้ได้ทีละอย่าง

  • @Amon1245a
    @Amon1245a 3 роки тому +1

    เปรียบเทียบได้เห็นภาพและเข้าใจได้ดีมาก

  • @pvarawat
    @pvarawat 3 роки тому

    ความเร่งกับโมเมนตัม​เหมือนกัน​ไหมครับ

    • @kukkik6839
      @kukkik6839 3 роки тому

      ไม่เหมือนกัน
      ความเร่ง = ความเร็ว/เวลา
      โมเมนตัม = มวล*ความเร็ว

  • @sawitreekhemwong4222
    @sawitreekhemwong4222 Місяць тому

    คิดแบบนี้ได้ไหมคะ หลักแห่งความไม่แน่นอน เปิดไว้สำหรับลำดับต่อไปว่า มีความน่าจะเป็นที่ "มีทุกความเป็นไปได้" อิอิ ให้กำลังใจคนค้นหานะคะ

  • @phaengmaigallery6538
    @phaengmaigallery6538 2 роки тому

    ອະທິບາຍໄດ້ຢ່າງສະນຸກສນານ. ທີ່ຈິງແລ້ວກົດໄຕຣລັກ ພຼະພຸທເຈົ້າກໍໄດ້ຄົ້ນພົບມາຫຼາຍກວ່າ 2560ກວ່າປີແລ້ວ.

  • @sutuslk
    @sutuslk 3 роки тому

    อะตอมมันใหญ่กว่าโฟตรอน มันจะกระเด็นด้วยเหรอครับ เหมือนเราโยนลูกปิงปองใส่ลูกบอล ลูกบอลก็คงจะอยู่เฉยๆขอความรู้ด้วยครับถ้าเชื่อไฮเซนเบริ์ก

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  3 роки тому +1

      ผมไม่ได้ละอียดเท่าไหร่ จังหวะนั้นเราไม่ได้ดูโฟตอนเป็นอนุภาคครับ แต่เป็นคลื่นพลังงาน ถ้าความถี่สูงๆ มันก็มีพลังงานมากพอชนได้ครับ
      โฟตอนก็เป็นคลื่นแม้เหล็กไฟฟ้า
      ถ้าคลื่นมีความถี่สูงมากๆ พลังงานจะสูงมากๆ มันชน dna มนุษย์ขาด จนเราเป็นมะเร็งได้เลยครับ

  • @jarurotetippayachai8220
    @jarurotetippayachai8220 2 роки тому

    ขอบคุณมากครับสำหรับความรู้เรื่องควอนตัม ซึ่งเป็นเรื่องลึกลับที่สุดในบรรดาทั้งหมด ผมเห็นบางช่วงมันคือแค่ฟูเรียร์ซีรีย์ของคลื่นมารวมกัน ถ้าเป็นสมัยเรียนในวิศวะไฟฟ้าก็สยองพองขนแล้ว ถถถ

  • @user-mr4gi8vs5p
    @user-mr4gi8vs5p 3 роки тому

    ขอเป็นกำลังใจในการทำคลิปครับ

  • @napasornmaneesai5993
    @napasornmaneesai5993 3 роки тому

    จุดเริ่มต้นจับจุดจบเป็นอันเดียวกันอย่าไปเชื่อเราจะเห็นมันประมวลไม่เข้าไปแซกแซงมันก็จบ

  • @JohnSmith-sq5fq
    @JohnSmith-sq5fq 2 роки тому +2

    ที่แสงกระจาย ผมว่า มันก็เหมือนน้ำ ที่ไหลออกจากสายยาง ตอนเราบีบสายยางให้เล็ก น้ำก็ไหลออกเป็นสายเล็กลงเรื่อยๆ
    แต่ถ้าเราบีบให้มันเล็กมากๆ มันก็กระจายตัวออก เพราะ อนุภาคมันชนกันในพื้นที่ที่จำกัด จนแทรกสอดกัน หรือ กระจายตัวออกจากการชน คือ ตรงรูที่เราบีบมันเล็กมากเบียดจนชนกัน

  • @nattapolpunpaen2539
    @nattapolpunpaen2539 8 місяців тому

    หาเส้นเเบ่งเขตก่อนครับ..ส่วนจะมีอะไรอยู่จุดนั้นหรือป่าว..ไม่รู้😅
    #เพราะสสารที่เลียนแบบกันมันไม่อยู"จุด"เดียวกันแน่นอนครับ..
    #เส้นแบ่งเขตสนามพลัง..
    #เส้นแบ่งเขตชั้นบรรยากาศสสาร
    #เส้นเเบ่งเขตสนามแม่เหล็กของโลก
    #เว้นแบ่งเขตโย้มถ่วง..
    ...
    ...
    .
    .
    .
    ...
    ....
    หลายเส้นเลยผมเมื่อยมือครับ..😅
    ....
    .
    .
    .
    .
    .
    .
    .
    .
    .
    .
    .
    .
    ...
    ...
    .
    .

  • @user-fx9tr1yb6f
    @user-fx9tr1yb6f 3 роки тому +1

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับทำคลิปแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆน่ะครับพี่

  • @golf_nobel7770
    @golf_nobel7770 2 роки тому

    ถ้าเราเพิ่มแรงโน้มถ่วงหรืออยู่ในหลุมดำจะเกิดอะไรขึ้นครับ

  • @user-io5nv1ew6q
    @user-io5nv1ew6q Рік тому

    รู้ตำแหน่ง จะเสียโมเมนตัม
    รู้โมเมนตัม จะเสียตำแหน่งไป

  • @zii-fz1sl
    @zii-fz1sl 2 роки тому

    คือตอนนี้ ไม่มีใครเห็นควอนตั้มของจริงเนาะครับ ผมชอบมากวิทยาศาสตร์แต่ผมเกลียดคำนวน55

  • @user-uc2cr3ji4m
    @user-uc2cr3ji4m 3 роки тому +1

    ชอบครับติดตามรอดูประวัติย่อหลักการสตริง

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  3 роки тому

      เดี๋ยวจะเริ่มทำครับ สคิปที่วางไว้มีเยอะมาก อัดไม่ทันครับ 555555

  • @tarchamp5522
    @tarchamp5522 Рік тому

    อีกหน่อยคงอธิบายเรื่องผี ที่ผมเห็นด้วยจิตได้