ระบบการจ่ายไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟฟ้า(Third rail & OCS)
Вставка
- Опубліковано 5 лют 2025
- ในคลิปนี้ผมจะพาท่านผู้ชมมาทำความรู้จักกับระบบไฟฟ้าในขบวนรถไฟฟ้า(แบบพื้นฐานไม่ซับซ้อน)กันนะครับ โดยระบบการจ่ายไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟฟ้านั้นมีอยู่2ระบบด้วยกัน คือ
1.ระบบรางที่สาม (Third rail)
2.ระบบสายส่งเหนือหัว (Overhead Catenary System-OCS)
ท่านผู้ชมคงจะสงสัยว่าระบบทั้ง2แบบนี้มันแตกต่างกันอย่างไร? ในคลิปนี้มีคำตอบครับ
แหล่งข้อมูล
oer.learn.in.t...
oer.learn.in.t...
m.facebook.com...
m.facebook.com...
www.wikiwand.c...
• ความรู้ระบบราง!! ระบบร...
เครดิตคลิปประกอบ
• Pantograph and overhea...
• Pantograph
• Third-rail current col...
• Video
แอปที่ใช้ในการอัดวิดีโอหน้าจอ:AZ screen recorder
แอปที่ใช้ในการตัดต่อ:power director
แอปที่ใช้ทำปกคลิป:pixel lap,picsArt,Background Eraser
อุปกรณ์ที่ใช้ตัดต่อคลิป:Huawei y9 (2018)
สวัสดีครับผมชื่อตั้มนะครับ
อายุ17ปี
ตอนนี้อยู่ชั้นม.5 เรียนสายวิทย์-คณิต
เป็นคนกรุงเทพฯ
แฟนเพจ:(จะเปิดตอนได้1,000sub)
สำหรับใครที่ชอบคลิปนี้ก็อย่าลืมกดlike กดshareและกดsubscribe เพื่อเป็นกำลังให้ผมในการทำคลิปต่อไปด้วยนะครับ ขอบคุณครับ
Tag:#รางที่สาม #สายส่งเหนือหัว #ระบบรถไฟฟ้า #Thirdrail #OverheadCatenarySystem #OCS #TUMTwentyFour #TTF #เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับรถไฟและระบบรางพื้นฐาน
ปล.ข้อมูลในเรื่องนี้เป็นเพียงแค่ข้อมูลพื้นฐานที่ไม่ได้ลงเจาะลึกมาก ถ้าหากท่านผู้ชมมีข้อมูลเพิ่มเตืมเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าของทั้ง2ระบบนี้ สามารถคอมเมนท์บอกได้นะครับ ถ้าข้อมูลในคลิปผิดพลาดประการใด ผมขอออภัย ณ ที่นี้ด้วยครับ
น้องนมเย็น รางจ่ายไฟหลุด เมื่อเช้า😅😅😅ยังไม่ทันได้เปิดใช้งานจริงเลย😂😂😂
วิศวกรมโยธา..
อันนี้อยากรู้มานานแล้วคับ พอดีช่วงนี้ขึ้นรถไฟฟ้าบ่อยมาก เวลาไปเที่ยวกับเพื่อน แล้วเห็นเขาเขียนป้ายสีเหลืองตรง ขอบชานชาลาว่า”ไฟฟ้าแรงสูง ห้ามลงราง” ไม่แน่ใจว่าเขียนถูกมั้ย เลยสงสัยว่า รถไฟฟ้าก็ขับเคลื่อนด้วยคนขับ แต่ไฟฟ้ามีไว้ทำไมก่อน พอมาเจอคลิปนี้ก็เลยปิ๊งเลยคับ
อยากรู้ว่าถ้าเราแค่เอามือไปแตะรางจะเกิดอะไรขึ้น
ถ้าแตะที่รางธรรมดา(ที่รถไฟใช้วิ่ง)จะปกติไม่มีไฟดูด แต่ถ้าไปแตะรางจ่ายไฟ(รางที่สาม)ที่อยู่ข้างๆรางธรรมดาจะโดนไฟดูดแน่นอนครับ
@@tum24railtrain ผมอยากรู้ว่าถ้าเอามือไปแตะราง third rail ที่รถไฟใช้วิ่งจะเกิดอะไรขึ้นครับ
รางที่ล้อใช้วิ่งครับ
เยี่ยมมากๆ ได้ความรู้
มีอีกแบบหนึ่งรางที่สี่ครับ
เยี่ยมเลยคร้าบ
เยี่ยมเลย.....
1:25 เพิ่มเติมข้อมูลนิดนึงนะครับ รถไฟฟ้าประเภทรางที่สาม สามารถรับและส่งกระแสไฟฟ้าได้มากกว่า 750 โวลต์ครับ แต่เพียงแค่ในประเทศไทยทุกระบบใช้ 750 โวลต์เท่านั้น
จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเอามือไปแตะรางที่สาม คำตอบ ตายบนรางรถไฟ
เกิดประกายไฟ + ตัวและอวัยวะระเบิดกลางรางรถไฟ 😱
กล้าแตะถ้าใส่รองเท้า
มลพิษทางสายตาคืออะไรคับงง
ไม่รู้ว่าจะพิมพ์อธิบายอย่างไรให้เข้าใจลองเข้าไปอ่านในเว็ปนี้ดูนะครับ
th.milanospettacoli.com/743-visual-pollution-causes-consequences-and-solutions
ประมาณว่ามันรกตาครับ ดูแล้วอึดอัดประมาณนั้น
เวลานั่งรถไฟมันจะมีเสาไฟผ่านไปทีละต้นสองต้นจะรู้สึกเกะกะลูกตาครับ ประมาณนั้น
ระบบ เบรค.เทียบ.ท้า.รถ.โดยสาร.
ทำไมตัวรางที่สามไม่วางคว่ำ และใช้ collector shoe เป็นล้อเล็กๆยื่นออกมารับกระแสไฟฟ้าเอาล่ะครับ
จริงๆ สายส่งเหนือหัวไม่จำเป็นต้องมีแรงดันไฟฟ้าสองหมื่นห้าพันโวลต์ฺเสมอไป และไม่จำเป็นต้องเป็นกระแสสลับ อย่างเช่นในโตเกียว รถไฟสายสีมะนาว (Yamanote Line) ใช้แรงดันแค่พันห้า แต่เป็นกระแสตรง แค่นี้ก็วิ่งได้แล้วครับ ส่วนที่อื่นบนโลก จะใช้แรงดันกี่โวลต์ กระแสตรงหรือสลับ อันนี้แล้วแต่รถไฟของเขาว่าต้องใช้ไฟฟ้าแบบไหนถึงจะวิ่งได้ครับ
ส่วนสองหมื่นห้าจริงๆ ใช้กับพวกรถไฟความเร็วสูงถือว่าเหมาะสมแล้ว เพราะมันต้องกินไฟเยอะ จะได้วิ่งเร็วๆ แรงดันเลยต้องสูงๆ ไว้ก่อนครับ
ขอบคุณสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมครับ
Current
เคอร์เรนต์ ครับ ไม่ใช่ เคอร์เร็ต
SemuLatet...STang..SiLNd..Pajar...tand..Stsng..SOS..netsacand..(sped..bacer)
ตอนแรกพูดแล้ว งง
สงสัยอะไรเกี่ยวกับข้อมูลในคลิปนี้สามารถสอบถามได้นะครับ
ไฟฟ้าเวลาจะใช้งานต้องมี 2 สาย คือ ไลน์ กับ นิวทรอล ที่อธิบายมามีเพียง ไลน์ แล้ว นิวทรอล ของทุกระบบ อยู่ตรงใหน ระบบไฟเส้นเดียวใช่ไม่ได้ เดาเอาว่า นิวทรอลอยู่รางทั้งสองด้าน
ใช่แล้วครับ รางที่รถไฟใช้วิ่งจะเป็นนิวทรอลของวงจรไฟรถไฟฟ้าครับ โดยรางที่ถูกใช้เป็นนิวทรอลจะถูกต่อสายดินไว้เป็นระยะๆครับ ua-cam.com/video/GJbUI2D3rLY/v-deo.html
นิวทรอล อยู่ที่ราง เชื่อมลงดินครับ
แล้วทำไมของอังกฤษมันไม่มีฝาครอบราง3หล่ะครับ