Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
ขอบคุณครับ แอบส่งใสม่นานแล้ว
ชอบเลยคลิปนี้ได้ควารู้ดี
จริงๆ ข้อดีของ meter guage สมัยนี้แทบไม่มี รถไฟไทยตอนแรกก็เป็น standard guage แต่เพราะเราอยากเชื่อมทางรถไฟกับมาเลฯเลยไปเปลี่ยนตามเขา พอสร้างเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆทีหลังพออยากจะเปลี่ยนก็ยากละ 😮💨
รางแคบ ในประเทศฝรั่งเขาใช้ในการขนสินค้าเป็นหลักครับ เช่น ในโรงงานน้ำตาล หรือ ในการลำเลียงถ่านหินในเหมือง เพราะมันราคาถูกและใช้ในที่แคบได้ส่วนรางกว้าง ในประเทศฝรั่งเขาใช้ในการขนส่งคนเป็นหลักครับเพราะมีความปลอดภัยสูงกว่า ฐานล้อกว้างกว่าเหมือน รถสิบล้อ กับรถบัสโดยสารครับ คนใช้ต้องรู้จักเลือกตามความเหมาะสมกับงานครับ
เพราะสยามไปพึ่งอังกฤษ สายใต้เป็นราง meter gauge ส่วนสายเหนือ-อีสาน เป็น standard gauge ในที่ืทสุดก็เอารางเส้นที่สามไปวางบนทางรถไฟสายเหนือ-อีสาน ให้รองร้บทั้ง 1 ม. และ 1.435 ม. และสุดท้ายพอมีการซ่อมบำรุงใหญ่หลาย ๆ ครั้ง ก็รื้อเหลือ 1 เมตรอย่างเดียว...ตอนนั้นมีแค่รถจักรไอน้ำ...คงไม่มีใครคิดว่าอนาคตจะมีรถไฟความเร็วสูง ...สยามถึงได้เลือกราง 1 เมตร ...ผิดแล้วผิดเลย แก้ยากมา ทำกว้างให้แคบ ไม่ยากนัก แต่ทำแคบให้กว้างนี่ แค่คิดก็ปวดกบาลแล้ว
ผมชื่นชอบ เนื้อหา ที่น้องตั้มนำเสนอ นะครับ เรื่องราวเล่าสนุกดีครับ...เพิ่มเติมคือ อยากให้น้องตั้มฝึกภาษาอังกฤษเพื่มขึ้นอีกนิดนะครับและ คำควบกล้ำ ร,ล ให้ชัดเจน พี่ว่าจะเพิ่มเสน่ห์ให้การเล่าเรื่องเพิ่มขึ้นนะครับ สนับสนุนครับ
ตอนนี้ผมกำลังพยายามฝึกทักษะการพูดให้ดีขึ้นอยู่ครับ ขอบคุณที่ชื่นชอบคลิปของผมนะครับ
TUM Twenty-Four เป็นกำลังใจนะครับ รอติดตามผลงาน
ไทยเคยใช้ 1.435 ตั้งแต่สมัยสร้างทารถไฟไทย แต่เนื่องด้วยสงครามและความมั่นคง ร.5 จึงให้เปลี่ยนเป็น 1.00 เมตรครับ
ท่านผู้บรรยายด้วยความปรารถนาดีผมติดตามคลิปเกี่ยวกับรถไฟอย่าว่าหาว่าเลยครับและต้องขออภัยท่านได้อ่านออกเสียงภาษาไทยให้ถูกหลักไวยากรณ์เกี่ยวกับเสียงควบกล้ำ ร ล ว ให้ถูกต้อง (เช่น ราง ท่านอ่าน ลาง, เร็ว ท่านอ่าน เล็ว, สรุป ท่านอ่าน สะ-หลุบ, รถ ท่านอ่าน ลด ฯลฯ) เสียงตัว ร ท่านอ่าน ล, ร ก็ต้องออกเสียง ร จึงจะถูกต้องขอความกรุณาท่านนำคลิปนี้ออกแล้วนำไปบันทึกเสียงแก้ไขใหม่หรือให้คนที่มีความสามารุถอ่านออกเสียงดังกล่าวได้ถูกต้องแล้วนำเข้ายูทู้บใหม่นะครับ
6:23 ประเทศบังคลาเทศเขาก็ใช้รางแบบนี้ครับ
สวัสดีค่ะเพื่อนใหม่มาติดตาม+1สับค่ะมาฟังด้วยคนค่ะ
สวัสดีครับผม
Dual ดูอัลStandard อ่านแบบบริติช สตานเดด อ่านแบบอเมริกัน สแตนเดิด(ม้วนลิ้น)
Gauge ก็ออกเสียง เกจ (คลิปพูด เกลด บ้าง เกจ บ้าง)
ถ้าอยากให้ผมทำคลิปแนวรถไฟเรื่องอะไร สามารถคอมเมนท์บอกผมได้นะครับถ้าข้อมูลไม่ครบหรือข้อมูลผิดพลาดประการใด ขออภัย ณ ที่นี้ด้วยครับ
สงสัยรางแคบใช้กับรถไฟไม่เกิน120กม. แต่ญี่ปุ่นใช้รถไฟหัวกระสุน ว่าใช้รางแคบหนึ่งเมตร ตกลงถูกไหม?
Like 6 เพื่อนใหม่ ขอตามนะครับ สุดยอดมากๆเลยครับ
สวัสดีเพื่อนใหม่มารับฟังด้วยค่ะมา+1สับแวะมาช่องสุภีด้วยนะค่ะ
ศึกศาขนาดนี้ไปเป็นวิศวะกรดีไหม? 5555555
ศึกศา(ษา)เลยทีเดียวก็เราอยากเป็นวิศวกรรถไฟหรือวิศวกรระบบรางอยู่แล้วนิ
@@tum24railtrain กูว่าเองต้องเรียนฟิสิกส์จนนอนแน่ 5555555555
เรียนจนนอนเดี้ยงแน่55555
1
2
3
4
ทำไมไม่ฝึกพูดให้ถูกอัครบ้างครับเป็นถึงผู้ให้ข้อมูล.ร.ล.หรือทุกคำอักษรพูดให้เหมือนนักข่าวสิฟังแล้วเพราะหู
ขอบคุณครับ แอบส่งใสม่นานแล้ว
ชอบเลยคลิปนี้ได้ควารู้ดี
จริงๆ ข้อดีของ meter guage สมัยนี้แทบไม่มี รถไฟไทยตอนแรกก็เป็น standard guage แต่เพราะเราอยากเชื่อมทางรถไฟกับมาเลฯเลยไปเปลี่ยนตามเขา พอสร้างเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆทีหลังพออยากจะเปลี่ยนก็ยากละ 😮💨
รางแคบ ในประเทศฝรั่งเขาใช้ในการขนสินค้าเป็นหลักครับ เช่น ในโรงงานน้ำตาล หรือ ในการลำเลียงถ่านหินในเหมือง เพราะมันราคาถูกและใช้ในที่แคบได้
ส่วนรางกว้าง ในประเทศฝรั่งเขาใช้ในการขนส่งคนเป็นหลักครับเพราะมีความปลอดภัยสูงกว่า ฐานล้อกว้างกว่า
เหมือน รถสิบล้อ กับรถบัสโดยสารครับ คนใช้ต้องรู้จักเลือกตามความเหมาะสมกับงานครับ
เพราะสยามไปพึ่งอังกฤษ สายใต้เป็นราง meter gauge ส่วนสายเหนือ-อีสาน เป็น standard gauge ในที่ืทสุดก็เอารางเส้นที่สามไปวางบนทางรถไฟสายเหนือ-อีสาน ให้รองร้บทั้ง 1 ม. และ 1.435 ม. และสุดท้ายพอมีการซ่อมบำรุงใหญ่หลาย ๆ ครั้ง ก็รื้อเหลือ 1 เมตรอย่างเดียว...ตอนนั้นมีแค่รถจักรไอน้ำ...คงไม่มีใครคิดว่าอนาคตจะมีรถไฟความเร็วสูง ...สยามถึงได้เลือกราง 1 เมตร ...ผิดแล้วผิดเลย แก้ยากมา ทำกว้างให้แคบ ไม่ยากนัก แต่ทำแคบให้กว้างนี่ แค่คิดก็ปวดกบาลแล้ว
ผมชื่นชอบ เนื้อหา ที่น้องตั้มนำเสนอ นะครับ เรื่องราวเล่าสนุกดีครับ...เพิ่มเติมคือ อยากให้น้องตั้มฝึกภาษาอังกฤษเพื่มขึ้นอีกนิดนะครับและ คำควบกล้ำ ร,ล ให้ชัดเจน พี่ว่าจะเพิ่มเสน่ห์ให้การเล่าเรื่องเพิ่มขึ้นนะครับ สนับสนุนครับ
ตอนนี้ผมกำลังพยายามฝึกทักษะการพูดให้ดีขึ้นอยู่ครับ ขอบคุณที่ชื่นชอบคลิปของผมนะครับ
TUM Twenty-Four เป็นกำลังใจนะครับ รอติดตามผลงาน
ไทยเคยใช้ 1.435 ตั้งแต่สมัยสร้างทารถไฟไทย แต่เนื่องด้วยสงครามและความมั่นคง ร.5 จึงให้เปลี่ยนเป็น 1.00 เมตรครับ
ท่านผู้บรรยายด้วยความปรารถนาดี
ผมติดตามคลิปเกี่ยวกับรถไฟ
อย่าว่าหาว่าเลยครับและต้องขออภัยท่านได้อ่านออกเสียงภาษาไทยให้ถูกหลักไวยากรณ์เกี่ยวกับเสียงควบกล้ำ ร ล ว ให้ถูกต้อง (เช่น ราง ท่านอ่าน ลาง, เร็ว ท่านอ่าน เล็ว, สรุป ท่านอ่าน สะ-หลุบ, รถ ท่านอ่าน ลด ฯลฯ) เสียงตัว ร ท่านอ่าน ล, ร ก็ต้องออกเสียง ร จึงจะถูกต้อง
ขอความกรุณาท่านนำคลิปนี้ออกแล้วนำไปบันทึกเสียงแก้ไขใหม่หรือให้คนที่มีความสามารุถอ่านออกเสียงดังกล่าวได้ถูกต้องแล้วนำเข้ายูทู้บใหม่นะครับ
6:23 ประเทศบังคลาเทศเขาก็ใช้รางแบบนี้ครับ
สวัสดีค่ะเพื่อนใหม่มาติดตาม+1สับค่ะมาฟังด้วยคนค่ะ
สวัสดีครับผม
Dual ดูอัล
Standard อ่านแบบบริติช สตานเดด อ่านแบบอเมริกัน สแตนเดิด(ม้วนลิ้น)
Gauge ก็ออกเสียง เกจ (คลิปพูด เกลด บ้าง เกจ บ้าง)
ถ้าอยากให้ผมทำคลิปแนวรถไฟเรื่องอะไร สามารถคอมเมนท์บอกผมได้นะครับ
ถ้าข้อมูลไม่ครบหรือข้อมูลผิดพลาดประการใด ขออภัย ณ ที่นี้ด้วยครับ
สงสัยรางแคบใช้กับรถไฟไม่เกิน120กม. แต่ญี่ปุ่นใช้รถไฟหัวกระสุน ว่าใช้รางแคบหนึ่งเมตร ตกลงถูกไหม?
Like 6 เพื่อนใหม่ ขอตามนะครับ สุดยอดมากๆเลยครับ
สวัสดีเพื่อนใหม่มารับฟังด้วยค่ะมา+1สับแวะมาช่องสุภีด้วยนะค่ะ
ศึกศาขนาดนี้ไปเป็นวิศวะกรดีไหม? 5555555
ศึกศา(ษา)เลยทีเดียว
ก็เราอยากเป็นวิศวกรรถไฟหรือวิศวกรระบบรางอยู่แล้วนิ
@@tum24railtrain กูว่าเองต้องเรียนฟิสิกส์จนนอนแน่ 5555555555
เรียนจนนอนเดี้ยงแน่55555
1
2
3
4
ทำไมไม่ฝึกพูดให้ถูกอัครบ้างครับเป็นถึงผู้ให้ข้อมูล.ร.ล.หรือทุกคำอักษรพูดให้เหมือนนักข่าวสิฟังแล้วเพราะหู