Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
1:30 Net Zero emission (การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์) จะไม่ให้ซื้อคาร์บอนเครดิตมาชดเชยได้ แต่ carbon neutrality (ความเป็นกลางทางคาร์บอน) สามารถซื้อคาร์บอนเครดิตมาชดเชยได้4:00 ประเทศนิวซีแลนด์ตั้งเป้าว่าภายในปี 2050 จะผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุุนเวียน 80%
ผมทำงานด้านนี้มาเกือบ 10 ปี บอกได้เลยว่า ผู้บริหารในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมหลายองค์กร ไม่ให้ความสำคัญเรื่องนี้เลย เป็นไปได้ยากมาก ถ้าไม่ออกเป็นกฎหมายมาบังคับ หรือเป็นข้อกำหนดของลูกค้า😢
ถ้าว่าดี ยั่งยืนก็ทำต่อไป...อยากรู้ว่าจะไปผลิตไฟฟ้าแบบไหน รฟฟ.ที่อยู่ไกลๆ จะกักเก็บอย่างไร...ต้นทุนสูงขึ้น ต้องการมากขึ้น ค่าไฟจะเป็นอย่างไร...
เพิ่งเข้าใจว่า CN กับ Net zero ว่าต่างกันแบบนี้ด้วยค่า ขอบคุณค่า เข้าใจมากๆเลย
ตามฟังข่าวและทุกๆรายการที่คุณวิทย์รายงานชอบฟังคุณวิทย์พูดภาษาขัดเจนดีทุกๆภาษาค่ะ👍👏
Seson❤️❤️
ถึงแน่
สรุปให้หน่อยครับ
❤️❤️
สามโลก ที่เราต้องอนุเคราะห์1.สังขารโลกชีวิตเรา แต่ละคน.2.สัตว์โลกสังคม ที่มี ภูมิจิต ภูมิธรรม ภูมิปัญญา ต่างกันมาอาศัย ในสังคมเดียวกัน.3.โอกาสโลกโลก ที่ลอยอยู่ใน อวกาศมีระบบนิเวศน์ เปราะบางต้องการ สมดุลย์ ที่ละเอียดอ่อนเพื่อ ภูมิอากาศ ที่พอดี.พลัง ในการเปลี่ยนแปลงโลก ไปสู่ยุค สมดุล ระบบ นิเวศน์อยู่ ในตัวเราทุกคน.1.เปลี่ยน วิสัยทัศน์2.เปลี่ยน ชนิด อาหาร3.เปลี่ยน พฤติกรรม ใช้ชีวิตไปสู่วิถี ลดสภาวะโลกร้อน.ขอบคุณ ข้อมูล ครับผม
ลดหรือห้ามทำอุตาหกรรมสิ แล้วหันไปปลูกต้นไม้แทน ประเทศมีอุตสาหกรรมเยอะนั่นแหละตัวปล่อยก๊าซมากที่สุดระดับโลก😊😊😊❤❤❤ แต่ทุกประเทศยังมีการแข่งขันด้านอุตสาหกรรม มันเป็นไปไม่ได้อยู่แล้วจะมีพื้นที่สีเขียวมากกว่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
การลดโลกร้อนต้องร่วมมือทุกฝ่ายจริง แต่แทบจะไม่เห็นบทบาทภาคประชาชนเลย อยากรู้ว่ารัฐส่งเสริมตรงจุดนี้อย่างไรบ้าง ขอบคุณที่ทำสรุปนะคะ 🙏 น่าสนใจทีเดียวค่ะ
พอได้หาข้อมูลอีกด้านของเรื่องนี้ ก็เกิดคำถามหลายอย่างเหมือนกัน
ถ้าจะลดอย่างยั่งยืน ต้องลดจำนวนประชากรของโลก แต่ก่อนคนน้อย กิจกรรมน้อย เดี๋ยวนี้คนมาก กิจกรรมมาก ความเจริญก้าวหน้ามาก ก็ใช้พลังงานมาก ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาก เทคโนโลยีก็สำคัญ เฉพาะที่เป็นเทคโนโลยีที่ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมการบริโภคและการเดินทาง ยิ่งมาก ยิ่งใช้พลังงานมาก ในแต่ละเวปแพลตฟอร์ม มีแต่โฆษณากระตุ้นให้บริโภคมาก
อย่างฮา°_^
นักธุรกิจผู้มั่งคั่งทั้งหลายทำโลกพัง แล้วมาบอกว่าเราต้องร่วมมือกันลดการปล่อยก็าชเรือนกระจก
รู้สึกว่าปตท.กระตือรือร้นสุด ๆ เลย
สิงคโปร์แน่นอน
ฮ้อนๆ
สหรัฐแน่นอน
ถ้าไทยไม่ลุยพลังงานสอาดจะไม่พ้นความยากจนได้ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนาจะเสียเปรียบเพราะระบบไม่เป็นมาตรฐานและขาดความรู้ความเข้าใจจะเสียเปรียบเทียบในขีดความสามารถในการแข่งขันเพราะต้องเสียภาษีคาร์บอนเครดิตในการส่งออกนำเข้าสินค้าและขาดแคลนเงินจากการลงทุนในต่างประเทศทำให้ประเทศและประชาชนยากจนและยากลำบากมากขึ้นไม่มีทางพ้นกับดักแห่งความยากจนได้
คุณต้องไปนุนชาวบ้านไห้ปลูกรวมกับคุณดัวยคะ
นายทุนตัวดีเลยเน้นให้ปลูกพืชเชิงเดี่ยว ชาวบ้านก็ไปตัดต้นไม้ที่อยู่ที่ภูเขากลายเป็นภูเขาหัวโล้นในที่สุด ตามด้วยโลกร้อนและภัยพิบัติ น้ำท่วมดินโคลนถล่มและภัยแล้งรุนแรง
โครงการปาหี่ครับถ้าจะทำจริงๆก็แค่ปลูกต้นไม้เยอะๆก็ได้แล้วส่งเสริมให้ประชาชนปลูกแบบจริงจังแจกกล้าไม้ให้ปลูกและลงพื้นที่ติดตามผลลงทุนปีละหมื่นล้านสักสามปีแค่นี้ก็สบายแล้ว
1:30 Net Zero emission (การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์) จะไม่ให้ซื้อคาร์บอนเครดิตมาชดเชยได้ แต่ carbon neutrality (ความเป็นกลางทางคาร์บอน) สามารถซื้อคาร์บอนเครดิตมาชดเชยได้
4:00 ประเทศนิวซีแลนด์ตั้งเป้าว่าภายในปี 2050 จะผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุุนเวียน 80%
ผมทำงานด้านนี้มาเกือบ 10 ปี บอกได้เลยว่า ผู้บริหารในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมหลายองค์กร ไม่ให้ความสำคัญเรื่องนี้เลย เป็นไปได้ยากมาก ถ้าไม่ออกเป็นกฎหมายมาบังคับ หรือเป็นข้อกำหนดของลูกค้า😢
ถ้าว่าดี ยั่งยืนก็ทำต่อไป...อยากรู้ว่าจะไปผลิตไฟฟ้าแบบไหน รฟฟ.ที่อยู่ไกลๆ จะกักเก็บอย่างไร...ต้นทุนสูงขึ้น ต้องการมากขึ้น ค่าไฟจะเป็นอย่างไร...
เพิ่งเข้าใจว่า CN กับ Net zero ว่าต่างกันแบบนี้ด้วยค่า ขอบคุณค่า เข้าใจมากๆเลย
ตามฟังข่าวและทุกๆรายการที่คุณวิทย์รายงานชอบฟังคุณวิทย์พูดภาษาขัดเจนดีทุกๆภาษาค่ะ👍👏
Seson❤️❤️
ถึงแน่
สรุปให้หน่อยครับ
❤️❤️
สามโลก ที่เราต้องอนุเคราะห์
1.สังขารโลก
ชีวิตเรา แต่ละคน
.
2.สัตว์โลก
สังคม ที่มี ภูมิจิต ภูมิธรรม ภูมิปัญญา ต่างกัน
มาอาศัย ในสังคมเดียวกัน
.
3.โอกาสโลก
โลก ที่ลอยอยู่ใน อวกาศ
มีระบบนิเวศน์ เปราะบาง
ต้องการ สมดุลย์ ที่
ละเอียดอ่อน
เพื่อ ภูมิอากาศ ที่พอดี
.
พลัง ในการเปลี่ยนแปลงโลก
ไปสู่ยุค สมดุล ระบบ นิเวศน์
อยู่ ในตัวเราทุกคน
.
1.เปลี่ยน วิสัยทัศน์
2.เปลี่ยน ชนิด อาหาร
3.เปลี่ยน พฤติกรรม ใช้ชีวิต
ไปสู่วิถี ลดสภาวะโลกร้อน
.
ขอบคุณ ข้อมูล ครับผม
ลดหรือห้ามทำอุตาหกรรมสิ แล้วหันไปปลูกต้นไม้แทน ประเทศมีอุตสาหกรรมเยอะนั่นแหละตัวปล่อยก๊าซมากที่สุดระดับโลก😊😊😊❤❤❤ แต่ทุกประเทศยังมีการแข่งขันด้านอุตสาหกรรม มันเป็นไปไม่ได้อยู่แล้วจะมีพื้นที่สีเขียวมากกว่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
การลดโลกร้อนต้องร่วมมือทุกฝ่ายจริง แต่แทบจะไม่เห็นบทบาทภาคประชาชนเลย อยากรู้ว่ารัฐส่งเสริมตรงจุดนี้อย่างไรบ้าง
ขอบคุณที่ทำสรุปนะคะ 🙏 น่าสนใจทีเดียวค่ะ
พอได้หาข้อมูลอีกด้านของเรื่องนี้ ก็เกิดคำถามหลายอย่างเหมือนกัน
ถ้าจะลดอย่างยั่งยืน ต้องลดจำนวนประชากรของโลก แต่ก่อนคนน้อย กิจกรรมน้อย เดี๋ยวนี้คนมาก กิจกรรมมาก ความเจริญก้าวหน้ามาก ก็ใช้พลังงานมาก ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาก เทคโนโลยีก็สำคัญ เฉพาะที่เป็นเทคโนโลยีที่ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมการบริโภคและการเดินทาง ยิ่งมาก ยิ่งใช้พลังงานมาก ในแต่ละเวปแพลตฟอร์ม มีแต่โฆษณากระตุ้นให้บริโภคมาก
อย่างฮา°_^
นักธุรกิจผู้มั่งคั่งทั้งหลายทำโลกพัง แล้วมาบอกว่าเราต้องร่วมมือกันลดการปล่อยก็าชเรือนกระจก
รู้สึกว่าปตท.กระตือรือร้นสุด ๆ เลย
สิงคโปร์แน่นอน
ฮ้อนๆ
สหรัฐแน่นอน
ถ้าไทยไม่ลุยพลังงานสอาดจะไม่พ้นความยากจนได้ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนาจะเสียเปรียบเพราะระบบไม่เป็นมาตรฐานและขาดความรู้ความเข้าใจจะเสียเปรียบเทียบในขีดความสามารถในการแข่งขันเพราะต้องเสียภาษีคาร์บอนเครดิตในการส่งออกนำเข้าสินค้าและขาดแคลนเงินจากการลงทุนในต่างประเทศทำให้ประเทศและประชาชนยากจนและยากลำบากมากขึ้นไม่มีทางพ้นกับดักแห่งความยากจนได้
คุณต้องไปนุนชาวบ้านไห้ปลูกรวมกับคุณดัวยคะ
นายทุนตัวดีเลยเน้นให้ปลูกพืชเชิงเดี่ยว ชาวบ้านก็ไปตัดต้นไม้ที่อยู่ที่ภูเขากลายเป็นภูเขาหัวโล้นในที่สุด ตามด้วยโลกร้อนและภัยพิบัติ น้ำท่วมดินโคลนถล่มและภัยแล้งรุนแรง
โครงการปาหี่ครับถ้าจะทำจริงๆก็แค่ปลูกต้นไม้เยอะๆก็ได้แล้วส่งเสริมให้ประชาชนปลูกแบบจริงจังแจกกล้าไม้ให้ปลูกและลงพื้นที่ติดตามผลลงทุนปีละหมื่นล้านสักสามปีแค่นี้ก็สบายแล้ว