Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
02:56 เกริ่นนำ05:55 รู้จัก Carbon Footprint ที่มาของ Carbon Credit12:40 Carbon Credit คืออะไร16:09 ทำไมต้องทำ Carbon Credit บริษัทเล็กต้องทำไหม?20:07 กลไก Carbon Credit ช่วยโลกจริงหรือ?22:14 ตัวอย่างการทำ Carbon Credit25:38 ระบบการซื้อ-ขาย-ทำ Carbon Credit30:06 ตลาด Carbon Credit ระดับโลกเป็นอยางไร36:00 ไทยพร้อมแค่ไหน39:42 ภาพฝันอนาคตตลาดคาร์บอนในไทย41:55 โดยสรุปใครต้องเริ่มทำทันที
หๆวกีป
กลไก (อ่านว่า กน-ไก) หรือเปล่าครับ
ที่บริษัท ก็ทำมาหลายปีแล้ว แต่รู้ลึกซึ้ง เพราะมาฟังจากรายการนี้เลยค่ะ ลูกค้าจากโซนยุโรป เริ่มเรียกหา Cert. แล้วค่ะ
รบกวนสอบถามแบบไม่รู้จริงๆครับ บริษัทผมซ์้อมาขายไปทั่วไป จากสามารถซ์้อคาร์บอรเครดิตในประเทศไทย และ ส่งขายต่อยุโรปจะทำได้ไหมครับ
การปลูกป่า(ต้นไม้ยืนต้น)คือการแคปเจอร์คาร์บอนที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดที่โลกเคยมีมา มิติของต้นไม้ครอบคลุมประโยชน์ของมนุษย์ทั้งโลก แต่เนื่องจากมีความต้องการเอาที่ดินไปใช้ในอุตสาหกรรม(เล็งเห็นเงินได้ง่ายและเร็ว) การปลูกต้นไม้ถูกมองว่าช้า คาร์บอนเครดิตทั้งโลกจึงถูกตอบสนองไปทางอุตสาหกรรม(กลุ่มทุน)ไม่ว่าจะเป็นวิธี การเข้าถึง คำศัพท์ที่ใช้ ยากที่มนุษย์ส่วนใหญ่ในโลกจะเข้าถึง ทั้งๆที่คาร์บอนเครดิตเป็นเรื่องที่กระทบต่อมนุษย์ทั้งโลก สรุปคาร์บอนเครดิตจึงถูกทำให้ยากถึงยากที่สุด(โดยเฉพาะประเทศไทย)เพื่อกีดกันการเข้าถึงของชาวบ้านทั่วไป คาร์บอนเครดิตจึงเป็นของสงวนของกลุ่มทุนไปโดยปริยายในชั่วโมงนี้ครับ
ใช่เลยครับ
เรื่องพวกนี้รายย่อยทำไม่ได้เลยครับ เนื่องจากค่าบริหารจัดการยิบย่อยเยอะเกินไป สุดท้ายระบบมันก็ออกมาเพื่อเอื้อให้ทุนใหญ่อยู่ดี
@@AntPDT ผมมีป่าปลูก100ไร่อายุ20ปี เป็นป่าปลูกที่สมบูรณ์แห่งหนึ่งของโลก มีคาร์บอนเครดิตเก็บไว้เพียบ ยังไม่มีใครบริษัทไหนมาสนใจคาร์บอนเครดิตของผมเลยครับนี่คือของจริง ทำจริง มีจริงนะ ผมว่าความซับซ้อนในเรื่องนี้ เมืองไทยกำลังคอรัปชั่นคาร์บอนเครดิตกันขนานใหญ่เลยครับ
@@เกษตรธรรมาภิวัฒน์ ใช่ครับผมก็คิดเหมือนกันว่าจะต้องมีการทุจริตและยังเป็นการเพิ่มต้นทุนของธุรกิจรายย่อยให้ไม่สามารถแข่งขันกับรายใหญ่ได้ เพราะต้องมีค่าใช้จ่ายในการ audit เรื่อง carbon footprint
ใช้เลยครับ
เมืองไทยมีเกษตรกรจำนวนมาก ถ้าออกแบบระบบให้คนส่วนใหญ่เข้าถึงได้ง่าย จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนมาก
คลิปนี้ แค่ภาษาที่จะสื่อสารกับเกษตรกร ก็ฟังยากแล้วคับ
@kornzpnunt7458 นั่นก็คือโอกาสของคนที่จะสามารถสื่อสารกับเกษตรกรได้
ผมฟังแล้วน่ากลัวมากๆครับ มันจะเป็นสิ่งที่ทำให้ความเหลื่อมล้ำสูงขึ้นไปอีก ด้วยมาตรการต่างๆที่จะออกมา แต่เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะเกิด อีกหน่อยกินชาบูถ้าสั่งเนื้อเยอะ นอกจากต้องจ่ายกิน, Vat, แล้วอาจจะต้องจ่ายค่า carbon เพราะกินเนื้อสัตว์เยอะด้วยหรือป่าว
สวัสดีครับ รบกวนขยายความเรื่อง ความเหลื่อมล้ำ เพิ่มเติมให้หน่อยครับอยากทราบในมุมมองของคุณเพิ่มครับ
@@Doosteamง่ายๆเทคต่างๆที่ลดคาบ่อนจะแพง คนไม่มีตังจะเข้าไม่ถึงทำให้ต้องจ่ายแพงขึ้น
มันก็จ่ายตามกำลังเผาผลาญเหมือนภาษีรายได้แหละคนที่มีเยอะผลาญเยอะก็จ่ายเยอะ โลกก็เป็นงี้
@@พัฒนโชต้-ศ2ช โอ้ยยยยยย อันนั้นรู้ แต่มันจะมีปัญหากับรายย่อย คนขายหมูปิง ต้องเสียด้วย เพราะก็สร้างมลพิษเหมือนกัน ปิงเกิดควัน ค่าไม้เสียบ ค้าถุงที่ใส่ ปัญหามันไม่เกิดกับรายใหญ่เท่าไหร่หรอก เค้ามีวิธีแก้ แต่มันจะทำให้รายย่อย ทำอะไรได้ยากขึ้น กินเนื้อสัตว์เยอะต้องเสียไม คุณพูดแมร่งแค่เรื่องง่ายๆ รายใหญ่ใช้เยอะจ่ายเยอะ เออ ใช้เคยบอกให้มากกว่านั้นมั้งไม หรือมีความรู้แค่นั้น
อะไรๆก็เหลื่อมล้ำ ทุกคนก็ต้องพัฒนาตัวเองปรับตัวกันไป จะให้โลกหยุดหมุนรอทุกคนเลยหรือ
อยากให้ไปศึกษาดูว่าโครงการ Kyoto Protocol ที่เป็น initiative แรกๆในเรื่อง carbon credit ของประเทศญี่ปุ่น ทำไมถึงไม่ประสบความสำเร็จ
เนื้อหาดีค่ะ ยุคนี้คนเล่ห์เหลี่ยมเยอะ เราต้องสร้างภูมิคุ้มกันค่ะ ขอบคุณค่ะ
ตามหัวขัอนี้มาหลายคลิปมาก แต่คลิปนี้ทำให้เข้าใจได้ขึ้นเยอะจริงๆ ถึงแม้จะมีคำถามที่สงสัยอยู่อีกเยอะก็เถอะ
บรรยายได้เข้าใจดีครับ แต่อยากให้ภาครัฐส่งเสริมในเชิงรุกมากกว่านี้ เช่นออกไปตามชุมชนแล้วคิดคำนวณรวบรวม ปริมาณการดูดซับคาร์บอนของต้นไม้ที่เกษตรกรปลูกมากน้อยก็สามารถขายเครดิตได้ ถ้าเขาจะร่วมโครงการก็ให้เขารักษาต้นไม้หรือปลูกเพิ่ม ส่วนในเรื่องเอกสารให้เป็นหน้าที่ของภาครัฐแล้วโอนเงินให้เขาไป เพราะเท่าที่เคยอ่านวิธีขายคาร์บอนเครดิตนั้นค่อนข้างยุ่งยากในการคำนวนครับ
เท่าที่ฟัง แสดงว่าประเทศที่มีพื้นที่สีเขียวเยอะๆ จะได้เปรียบในการสร้าง carbon credit ใช่รึเปล่าคะ
ย่อยเป็นความรู้ได้อีกหลายตอนเลยครับ พาเข้างาน the secret sauce summit 2023 ด้วยครับ SME จะได้เห็นถึงแนวทางที่น่าสนใจนี้
อาจารย์เป็นคนที่มองการไกล เห็นช่องทางและมีความรู้ นำตัวไปอยู่จุดกลางของเรื่องนี้ ต่อไปในอนาคตอาจารย์ก็จะเป็น de facto ที่ทุกคนจะเข้าหา ต่อไปอาจารย์จะขยายขอบเขตไปถึง esg ด้วยรึปล่าว ขอเดาว่า 99% มนุษย์จำเป็นที่จะต้องรักษาสภาพแวดล้อมของโลก แต่ทำให้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคน เป็นหน้าที่ที่หนีไม่ได้แต่นโยบายจากต่างประเทศที่บทลงโทษ กับผู้ไม่เข้าร่วมและสมาชิกภายใน แตาสามารถใช้เงินเปลี่ยนโทษเป็นคุณได้นี่มันไม่ถูกต้องนะครับ คิดกันดีๆว่าเขาต้องการอะไร ไปศึกษาหาอ่านตั้งแต่ใคร/องค์กรไหนเป็นผู้เริ่มเรื่องนี้ พวกเขาน่าเชื่อถือแค่ไหน พวกเขาถือตำแหน่งอะไรที่ไหนกันอยู่บ้าง มีประวัติไม่ดีไหม ต้องอดทนอ่านภาษาอังกฤษหน่อยแต่จะรู้แจ้งเพราะข่าวในประเทศก็ถูกแปลมาจน loss in translation หมดแล้วตรวจสอบที่มาที่ไป ผู้บริหาร สมาชิก นโยบายและบทลงโทษ ขององค์กรที่อาจารย์อ้างอิงถึงด้วยจะได้ครบวงจรต่อไปอาจารย์น่าจะทำแพบทฟอร์ม trade เป็นของตัวเองนะครับ ไม่แพ้ bitkup แน่นอน ไหนๆก็เป็นผู้รู้เรื่องนี้ที่สุด อย่าให้ใครแซงเดี๋ยวจะเสีย status quo ในอนาคตอาจได้เป็นผู้ตั้งนโยบายกำหนดคนอื่นว่าอะไรได้-ไม่ได้ ขอร้องทุกท่านไปศึกษาเรื่องนี้(ทั้งข้อดี-ข้อเสีย)ก่อนตัดสินใจครับ
ขอบคุณครับอาจารย์ ผมเห็นด้วยกับที่อาจารย์ว่า 100% ในส่วนที่เกี่ยวกับการศึกษาให้ดีก่อนลงตัวลงแรง และลงทุน เพราะมันมีความเสี่ยงไม่ต่างหรืออาจมากกว่าการลงทุนทั่วไป แถมเรื่องนี้มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเข้ามาเป็นเดิมพันอีกขอบพระคุณสำหรับความเห็นที่มีคุณค่าครับ แต่ในเรื่องทำแพลตฟอร์มผมคงไม่ไปไกลขนาดนั้นครับ 😅
ซื้อบัตรราคาพิเศษของ The Secret Sauce Summit 2023 ได้ที่ www.zipeventapp.com/e/TSSSUMMIT2023สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของบูธในงานwww.zipeventapp.com/e/TSSSUMMIT2023-Booth-Booking
เป็นเรื่องน่าสนใจมาก เคยศึกษาข้อมูลเรื่องกฏระเบียบแต่ข้อมูลไม่มากพอ เหมือนรัฐไม่ค่อยให้การ support เรื่องข้อมูล ทำงานแบบราชการไทยมาก
รัฐก็ยังไม่เป็นไม่ค่อยรู้เรื่องเลยค่ะ เลยให้คำแนะนำไม่ได้
ขอความเห็นค่ะ การทำนาข้าว ซึ่งต้องใช้ทั้งปุ๋ยเคมีและปุ๋ยจากสัตว์ ซึ่งเมื่อเทียบกับถ้าไม่ใช้ปุ๋ยเคมีเลย แต่ใช้แค่ปุ๋ยจากมูลสัตว์ ค่าคาร์บอน บาป จะมากหรือน้อยกว่ากันเท่าไรคะ และถ้าใช้เฉพาะ ปุ๋ยธรรมชาติที่ได้จากการไถกลบซังข้าวอย่างเดว ค่าคาร์บอน บาปต่างกันมากน้อยแค่ไหนคะ และควรทำอย่างไร เพื่อได้คาร์บอน บุญมากกว่า และทำให้ข้าวได้ผลผลิตดีด้วยค่ะ
เปรียบเทียบแต้มบุญ แต้มบาป เข้าใจเลยค่ะ อธิบายดีค่ะ
ขอคำแนะนำ สามารถหาข้อมูล Carbon Footprint และ Carbon Credit เพิ่มเติมสำหรับทำงานวิจัยได้ที่ไหนครับ
เรื่องสภาพภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องรอไม่ได้แล้ว ถ้ามาอยู่ประเทศเจริญแล้วจะรู้ว่าเขาตระหนักเรื่องนี้มาก เพราะถ้าช้า ไม่นานโลกจะอยู่ลำบากหรืออยู่อาศัยไม่ได้อีก
สุดยอด ความรู้ดีๆเข้าใจง่ายๆ ขอบคุณค่ะ
อยากช่วยอธิบายหลายๆ อย่างเลยค่ะ ในฐานะที่มีส่วนทำ guideline carbon footprint organization, product และ การทำค่า Emission Factor ของไทยประเทศไทยมีโครงสร้างพื้นฐานที่ทำเอาไว้สำหรับการประเมินเหล่านี้ไว้ดีในระดับต้นๆ ของภูมิภาค ทั้งในเรื่องการจัดทำฐานข้อมูลเอาไว้ เรามีฐานข้อมูลของประเทศมาเกือบ 20 ปี อย่างกรณี carbon credit จะมีการประเมินกรณีฐานก่อน ซึ่งจะมีระเบียบวิธีตามแต่ประเภทโครงการ จากนั้นจะมีการคำนวณ ว่าโครงการดังกล่าวสามารถ ลดการปล่อย หรือการดูดกลับ ก๊าซเรือนกระจกได้เท่าไหร่ นอกจากนี้ประเภทโครงการต่างๆ ก็ยังไปสัมพันธ์กับเรื่องของการรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรนั้นๆ ด้วย
ขอสอบถามครับ ทำไมต้องเป็นต้นไม้อายุโครงการ 10 ปีขึ้นไปครับ เหตุผลคืออะไร ทั้งๆ ที่ต้นไม้ก้อดูด CO2 ทุกปี
ได้ความรู้ใหม่ ขอบคุณครับ
ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ
ถ้าคนธรรมดา ซื้อเกร็งไว้ขาย ในอนาคต จะได้ไหมครับ เพราะดูยังไง ถ้ามาจริงตอนนั้นก็ เจ้าใหญ่ๆ เหมือนบังคับซื้ออยู่แล้วไหมครับ เพราะดูยังไง ก็มีแต่ขึ้น นิติบุคคลยังไงก็มีแต่จะเพิ่มขึ้น
ซื้อได้ครับ ลงทะเบียนเหมือนซื้อหุ้น แต่เอกสารไปหาอ่านจากเวบ อบก
ช่วยรวมศัพท์อังกฤษเกี่ยว carbon credit & carbon footprint เพื่อการเรียนรู้รวดเร็ว ขอบคุณค่ะ
ผมปลูกต้นแคนาอยู่18ไร่ปลูกมา9ปีกว่าเกือบ10ปี เข้าโครงการคาร์บอนได้ไหมครับ วิผธีเข้าโครงการต้องทำอย่างไรครับ
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ถ้าปลูกอยู่แล้วลองติดต่อเลยครับแต่แน่นอนการขอใบรับรองมีขั้นตอนและค่าใช้จ่าย
กับดักอย่างเดียวที่ชาวสวนเกษตรกรจะเข้าไม่ถึงคือ เนื้อที่เพาะปลูก 10 ไร่ขึ้นไป และอาจจะพ่วงด้วยที่ดินนั้นต้องไม่ติด สปก หรือ ภบท.5 ด้วย ด้วยกำแพงตรงนี้จะทำให้หลายคนเข้าไม่ถึง
ฟังแล้วยังไม่เข้าใจเท่าที่ควร ชาวบ้านน่าจะเข้าใจยากอยู่ครับ
20:15 ขอบคุณ คุณเคนสำหรับคำถามนี้ครับ สงสัยมานาน
เกษตรกรที่เผา ธรรมชาติ(ไฟป่า) ส่วนนี้มีวิธีคิด ดำเนินการอย่างไร
ขอบคุณครับ..สุดยอดๆ
มีคำถามครับ1) สมมติถ้าเราได้ใบ cer จาก อบก. ว่าเรามี carbon credit จากการปลูกสวนยางอยู่ 100 (หน่วยเป็นอะไรไม่แน่ใจ) แล้วเราขาย แสดงว่าสวนยางนี้ก็จะหมด carbon credit ไปเลย ต้องไปหาที่ปลูกใหม่แล้วขอลงทะเบียนใหม่กับ อบก. เหรอครับ?2) เราเทรด carbon credit ข้ามประเทศได้ไหมครับ?
แล้ว มีโอกาส ที่จะเป็นระดับ บุคคล ในเชิงได้ credit carbon รายบบุคล แล้ว exchange to reselling on international market or ในตลาดได้หรือไม่ ครับ?
ขอบคุณครับ ได้ความรู้เยอะเลยครับ
หลายหัวข้อย้อนดูหลายรอบเลย เห็นด้วยมากๆเลยครับกับเรื่องนี้ ในไทยตอนนี้ก็พอได้ยินคำว่า Carbon Credit บ้าง แต่เมืองนอกที่บอกในคลิปนี้คือ ไปไกลพอสมควรและบังคับใช้กันแล้ว ถ้าบังคับใช้จริงๆผมว่าก็ดีนะครับ ช่วยๆกันรักษ์โลกถึงแม้ว่าจะเลย point of no return ไปแล้วแหละผมว่านะ --" ... อยากให้ทางการไทยทำจริงปรับจริง ไม่อยากให้เป็นการหากินของ จนท. อีก แบบพวกน้ำทิ้ง น้ำเสีย ฯลฯ ที่ไม่ผ่านแต่ให้ผ่านถ้าจ่าย หุหุ ผู้ประกอบการก็ต้องเอาจริงกับการรักษ์นี้ด้วย
- แล้วประเทศที่อยู่ในแทบทะเลทราย จะสร้าง Corbon credit อย่างไร - เป็นไปได้ไหมที่บริษัทใหญ่ๆจะกวาดซื้อที่ดินเพื่อปลูกป่าซะเอง - จะแน่ใจได้อย่างไรว่าเกษตรกรผู้ที่เพาะปลูกจะได้ประโยชน์- เรื่องนี้ทำให้ผู้ประกอบการมีภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้น หากคุณเป็นเจ้าของผู้ประกอบการเอง คุณจะทำอย่างไร เมื่อมีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้นตราบใดที่สิ่งเหล่านี้ยังไม่เคลียร์ อย่าพึ่งบังคับเลยครับ มันอาจมองดูว่าสวยงามก็จริง แต่มันอาจเป็นการสร้างปัญหาหรือสร้างภาระให้กับอีกหลายภาคส่วนก็ได้ครับ ในเมื่อหลายประเทศในยุโรปเขาเริ่มทำไปก่อนแล้ว สรุปแล้วได้ผลลัพท์อย่างไรบ้าง มันช่วยแก้ปัญหาได้จริงหรือเปล่า ไม่เห็นนำมาเล่าให้ฟังเลย ประเทศเราอย่าพึ่งบังคับตามเลยครับ โปรดรอผลลัพท์ก่อน แล้วเลือกเอาสิ่งที่ดีที่สุดมาปรับใช้ ขอนอกเรื่องนิดหนึ่งครับ *เราเคยมีบทเรียนเรื่องน้ำมันพืชกับน้ำมันหมูมาแล้ว*
carbon credits สามารถสร้างได้หลายวิธีนะครับ อาจจะไม่ต้องปลูกป่าเสมอไป แต่ในประเทศไทยเห็นมีบริษัทเริ่มปลูกป่าแล้วนะครับ จริงๆแล้วตอนนี้ในไทยยังไม่มีการบังคับใช้ให้ผู้ประกอบการทำหรือขึ้นทะเบียนโครงการ แน่นอนครับว่าจะมีค่าใช้จ่ายในการขึ้นทะเบียนโครงการ แต่สมมุติว่าบริษัทสามารถขาย carbon credits ได้ ก็ถือว่าเป็นรายได้เพิ่มเติมขององค์กรมันช่วยได้จริงไหม? เรื่องนี้ยังมีการถกเถียงกันอยู่เลยครับ 55555 ว่า carbon credits ยั่งยืนจริงๆไหม
บริษัทใหญ่ ๆ ใช้การปลูกป่าเป็นเชิง ESG และ CSR และปลูกไปนานและเยอะมากแล้ว ซึ่งก็น่าจะเป็นการเตรียมป่า (เรียกว่าป่าได้มั้ย) เพื่อมารองรับการปล่อยคาร์บอนของตัวเองในปลายทาง จะว่าดีก็ดีในแง่ที่ว่าเค้าปล่อยเยอะ เขาก็ต้องปลูกเยอะ แต่พื้นที่ก็จะกลายเป็นของบริษัทใหญ่ ๆ หมด น่าคิดว่าจะไปยังไงต่อครับ
มันไม่ใช่แบบนั้นค่ะ มันคืิอการเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุขของคนทั้งโลก ต้องเช้าใจว่าผู้ที่ร่ำรวยได้ทำลายทำร้ายโลกและทรัพยากรมากที่สุดเสมอ จึงมีเงินเหลือ ให้นำเงินส่วนต่างนี้ไปสนับสนุนคนที่เขาช่วยทำให้ทรัพยากรโลกดีขึ้น ด้วยการจูงใจด้วยเงิน หรือซื้อผลงานนี้ของเขามา เพราะตนเองยังต้องหาเงินด้วยการทำลายทรัพยากรอยู่ บนความเชื่อว่า บวกลบมันจะหักกันในโลกเดียวกัน
หลักการเดียวกันกับการประกันภัย เฉลี่ยทุกข์สุข ทุกคนในอัตรานึง คนเสียหายได้เงินชดเชย คนไม่เสียหายได้ซื้อประกันความเสี่ยง
การปลูกป่า รักษ์ป่าได้ผลลัพธ์ดีแน่นอน
มันเป็นกฎที่สร้างมาเพื่อ คนแค่บางกลุ่ม ชาวประมง
สรุป ให้ป.4ฟังหน่อยครับ
จริงๆ ก็ไม่ต่างจากแนวคิดของต่างประเทศที่ให้ทุกองค์การผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ถูกตั้งขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็น ISO, HA ซึ่งน่าจะเป็นสิ่งที่ดีประเด็นคือ 1) ความคุ้มค่าในการรีโนเวท หรือ ปรับเปลี่ยนกระบวนการขององค์กรเพื่อเริ่มเข้าสู่ระบบ มันคุ้มค่ามากน้อยแค่ไหน เพื่อให้ได้ carbon credit มา 2) การ reaccredit จะเป็นการลูบหน้าปะจมูกรึป่าวปล.การทำ carbon credit เป็นสิ่งที่ดี แต่ต้องอยู่ภายใต้จิตสำนึกล้วนๆ โดยไม่ควรเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์เลย
😅ฟังยากจัง มองแต่เรื่องซื้อขายธุรกิจ เรื่องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแทบไม่มี สุดท้าย ไม่มีความชัดเจนอะไร สมมติชาวสวนยาง สวนป่า อยากขายคาร์บอนเครดิต จะต้องไปหาใคร ลงทะเบียนยังไง ใครรับรอง ค่าใช้จ่ายเท่าไร จะได้เงินตอนไหน บลาๆ ไม่ชัดสักอย่าง 😅
ปั้นมาเพื่อหลอกกินเงินเพิ่มแท้ๆ
เห็นด้วย
อยากสอบถามว่าแล้วเกษตรกรที่ต้องการขายคาร์บอนเครดิต จะต้องติดต่อใคร ทำอย่างไร
หวัดดีฮ่ะ
Thanks for knowledge # SEP 🙇♂️
ขอเบอคติดต่ออาจารย์หน่อยครับ
ขอบคุณมากครับ
ค่าใช้จ่ายในการรับรอง ลดลงหน่อยจะช่วยได้เยอะครับ
ผู้รับรองและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมีเรื่องการแบกรับความเสี่ยงหากเกิดข้อผิดพลาดจากการดำเนินโครงการครับ หลายๆ ที่จึงมีการคิดค่าความเสี่ยง ซึ่งในอนาคตมีแนวโน้มว่ากลไกตลาดจะทำให้ราคาลดลงครับ
ชอบอ่ะ
มีแอพคำนวน คาร์บอน ฟุตปริ้นไหม ครับ
พัฒนา การ ใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงโรงงานผลิตไฟฟ้า และ รถยน รถเก่ง
เนื้อหาดีมากๆเลย แต่พูดอ่าบ่อยไปหน่อย
ดี ถ้า...ปลูกเพิ่มจริงแล้วค่อยนับหนึ่ง จากการลงมือทำจริง.ไม่ดี ถ้า...ตระเวนหาเช่าซื้อต้นไม้ที่เป็นทรัพยากรณ์ที่มีอยู่เดิมให้เป็นกรรมสิทธิของเอกชนภาคอุสาหกรรม แล้วเพื่อเพิ่มเพดานการปล่อยก๊าชพิษเพิ่มให้ได้มากกว่ากำหนดมาตรฐานที่ให้ในอนาคตความปนเปื้นของอากาศย่อมจะเพิ่มขึ้นเกินมาตราฐาน เพราะป่าหรือต้นไม่ไม่ได้เพิ่มขึ้นเลย แค่ถูกจับจอง.
ขอให้เกิดขึ้นจริงครับ pm2.5 การเผา จะได้ลดลง ซะที
มีที่ป่า 10 ไร่ จะขาย คาร์บอนเครดิต ได้กี่บาทครับ
ป่า 10 ไร่ ทำไม่แนะนำครับ เพราะจะไม่คุ้ม แนะนำให้หาสมัครพรรคพวกที่มีพื้นที่ป่ามาร่วมโครงการด้วยครับ เพื่อหารค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้น เช่น ค่าที่ปรึกษา ค่าทวนสอบครับ
@@aipermถ้า 10 ไร่ ยังทำไม่ได้ ผมว่าระบบนี้ก็เหมือนออกมาเพื่อกดทับธุรกิจรายย่อยแหละครับ แต่ผมไม่ได้ว่าพี่นะครับ ผมเข้าใจว่าพวกประเทศมหาอำนาจต่างๆเค้าบังคับแต่อยากให้พวกค่าดำเนินการต่างๆ เช่น การ audit อยู่ในราคาที่คนธรรมดาเข้าถึงได้ครับ
ปกติเค้าเริ่มต้นทำกันที่หลักร้อยไร่ขึ้นไปค่ะถึงจะมีจำนวนคาร์บอนเครดิตที่มากพอจะซื้อขายได้หน่อยนึกภาพเหมือนตลาดหุ้น ขายหุ้นจำนวนหลักหน่วยไม่ค่อยมีใครซื้อขายกันต้องหลักร้อยหลักพันหน่วยขึ้นไปน่ะค่ะเคยเห็นญี่ปุ่นมาประกาศหาลงทุนคนทำป่า 300 ไร่ขึ้นไปค่ะ
@@patzto2543 เข้าใจง่ายดีครับ และขอสอบถามเพิ่มครับ ถ้า 100 ไร่ ที่ป่า จะขายได้เงินเท่าไร ครับคือผมอยากรู้ ว่าสนามนี้ประชาชนควรลงทุนศึกษาหาความรู้ไหม หรือ แค่ตลาดรายใหญ่เก่งกำไรกันครับ
@@patzto2543 โห ถ้าต้องร้อยไร่ขึ้นไปนี่ยิ่งเอื้อนายทุนจัดๆเลยครับ เพราะในประเทศจะมีซักกี่ครอบครัวที่มีที่ดิน100ไร่ 😅
ถ้าเรา สามารถซ์้อคาร์บอรเครดิตในประเทศไทย และ ส่งขายต่อไปยุโรปจะทำได้ไหมครับ
สามารถทำได้ในกรณีที่มาตรฐานเป็นสากลครับ เช่น VCS, Gold Standard
คนธรรมดาอย่าหวังเลย องค์กรใหญ่ ๆ ทั้งนั้น เพราะเค้าเป็นคนตั้งกติกา😅😅
มีคำถามว่า สมมุตธุรกิจเชื้อเพลิง เขาไม่สามารถซื้อเครดิตหรือทดแทนคาร์บอนที่ปล่อยไป เขาตัดสินใจ อ่ะ ถ้างี้ผมปิดกิจการเลยแล้วกัน คำถามคือ แล้วประเทศนั้นจะทำไงต่อครับ
Carbon capture ครับ
@@ekkasitsopapong อ่า แบบที่ ปตท กำลังทำใช่มั้ยครับ ส่งลงดิน
อยากให้พูดเกี่ยวกับ carbon offset หน่อยครับ ผมสนใจที่จะซื้อ ผมเห็นบางเว็ปมีราคาอยู่ที่ 3000บาทต่อ 1ตัน ถ้าผมปล่อยcarbonไป10ตันต่อปี ก็แค่ 30000บาทต่อปี ผมว่าไม่แพง
ราคาถูกกว่านั้นก็มีนะครับ
@@aipermบกวนบอกหน่อยครับว่ามีที่ไหนบ้างครับ ผมอยากศึกษาให้มากขึ้นด้วย ขอบคุณครับ
เรามีป่าไม้แข็งเบญจพรรณเกือบ20ไร่คะ
มิน่าหลายปีมานี้ ปตท. ถึงมีโครงการปลูกป่าเยอะมาก
ปลูกแล้ว รอดจริงกี่ต้น มีแต่คำว่าปลูก
ยังดีกว่าอยู่เฉยๆนะคุณ😊
เรื่องง่ายๆพูดให้เป็นเรื่องยาก โรงงานต่างๆตัวการปล่อย
Footprint คำนวณยากนะครับ
ค่าใช่จ่ายในการเข้าระบบ ขอการรับรอง
สอบถามด้วยค่ะ
อยากให้มีซับ eng จังค่ะ ขอบคุณมากค่า
่เราต้องซื้อที่แปลงใหญ่ ไถ่เอาป่าเดิมออก แล้วปลูกเฉพาะต้นที่เค้าคำนวนคาร์บอนเครดิต จริงๆแล้วอันนี้เค้าคิดมาสำหรับพื้นที่ ที่โดนทำลายไปแล้วในต่างประเทศ ไม่ใช่สำหรับไทย
❤หัวข้อน่าสนใจมากและอยากจะจดทะเบียนขายเครดิตคาร์บอนค่ะ
รับบริการทำครับผม
🌱💚💚💚
คือการลวงโลกแบบนึง ปั้นสิ่งที่ไม่มีมาขายกันดื้อๆ
เข้าไม่โง่ให้เงินคนปลูกต้นไม้ฟรีหรอกๆ บ้างบริษัทก็โลกสวยเกินชีวิตจริงไม่น่าจะใช่ เหมือนบังคับให้ประเทศเล็กทำตาม แต่ประเทศใหญ่ไม่สนใจอะไรเลย.
ต้องส่งเสริม การปลูกป่า เพื่อโลกของเรา
ok
มีแล้วอยากขายต้องทำไง
คนตรวจสอบไว้ใจได้แค่ไหน
ถ้าสิ่งที่เรารู้มาทั้งหมด carbon ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่เค้าว่ากัน ?
แล้วเราจะหยิบจับหรือบรรจุขายได้ยังไง
งง..ค่ะแล้วถ้าปลูกต้นไม้เองรดน้ำต้นไม้เองที่บ้านล่ะค่ะได้คาร์บอนเครดิตเท่าไหร่😅😅
ปลูกต้นไม้เยอะแต่ปลูกในที่ดินภบท.5หมดสิทธ์
To go or not into hydrogen vehicles should be under great consideration worldwide. EV is not sustainable with many known problems so looking into hydrogen with worldwide governmental support is a better into the future.
Waiting for ev cars from china play this vital role first before h2 car will occupy market later is it ok?
บริษัทผม ทำเกี่ยวกับ กับ Eco packaging เปลี่ยนพลาสติก มาเป็นกระดาษ กันเถอะ
10 นาทีแรกผมหัวเราะก๊ากเลยมีเรื่อง บาปด้วย 5555
ดีใจที่สร้างเสียงหัวเราะให้ได้ครับ เป็นการเปรียบเทียบกับ Indulgence ในคริสต์แคธอลิคสมัยก่อนครับ ที่คนทำบาปเอาเงินบริจาคกับโบสถ์เพื่อไถ่บาปครับ
การทำสงคราม ระเบิด1ลูก หลายๆลูก จะทำลายอุดมการ์ณดีๆนี้ จบสิ้น โลกใบนี้
เดียวก็เก็บค่าหายใจอีก คิดเป็นเงินทุกอย่าง
พักบุบ ถอดสายชาด ที่ชาดไร้สาระมาหลาย ช ม ฮาๆ ค่อยๆเปลี่ยนนิสัยตัวเอง 😂 ข้อมูลดีมากคะ
ปลูกให้มาก
only the wef's minions can stay afloat...? :(
💚💚🕊️
คนนึง ค่ะขงิ้วล😊ลูกศรงง_
เรื่องลดปริมาณคาร์บอนเป็นเรื่องดี แต่เรื่อขายงคาร์บอนเครดิตทำให้ประเทศอุตสาหกรรมมีสิทธิ้สร้างคาร์บอนเพิ่ม เป็นเรื่องเลวร้ายมาก พอทีได้แล้ว เลิกเห็นแก่เศษเงินจากประเทศอุตสาหกรรมได้แล้ว ไร้ค่า ไปทำงานอย่างอื่นเถอะ
เกินจริง ตรวจสอบยาก
DR.พูลเพิ่ม ไม่ได้ประชุมทางวิชาการ ไม่ต้องโชว์ภาษา พูดภาษาไทยทั้งหมดได้มั๊ย เชื่อว่าชาวนา ชาวสวน เกือบทั้งประเทศฟังไม่กระจ่าง อังกฤษคำไทยคำ
คิดเหมือนกันเลย
ต่อให้พูดภาษาไทยฟังแค่คลิปเดียวไม่มีทางเช้าใจได้ทั้งหมดหรอก เพราะมันเป็นเรื่องใหม่ ต้องไปศึกษาต่อเอง นี่อ.พูดเข้าใจง่ายมากแล้ว มัวมานั่งแปล technical term เป็นภาษไทยเนื้อหาคงไม่ถึงไหน เบื่อพวกอคติ ฟังภาษาอังกฤษไม่ได้ต้องดิ้น รำคาญ
Road to serfdom
ประเทศไทย ควรมีนโยบายลดค่า verify ลงให้อยู่ในหลักหมื่นต้นๆ ครับ และต้องมีกลไลที่เชื่อถือได้ ไม่งั้นจะเหมือน เกษตร GAP Thai-version..😂😂😂😂
กระบะตัดแคทควันดำ เต็มบ้านเต็มเมือง
ผมไม่เข้าใจว่าเราจะซีเรียสอะไรกับคาบอน ซึ่งเป็นอาหารหลักของพืช และ เป็นฐานของร่างกายมนุษย์ โลกมันต้องมีฝุ่นอยู่แล้ว ทำไมกันนะ
มันมีมากเกินไปไง มันปล่อยออกมามากเกินไป จนกำจัดด้วยระบบธรรมชาติที่มีอยู่ไม่ได้ ไม่ทัน ไม่พอ ประเด็นคือตรงนี้
ลองเสิชเรื่องก๊าซเรือนกระจกดูนะคะว่าคาร์บอนทำลายโลกเรายังไงบ้าง
ลองเสริช ภาวะโลกร้อนค่ะ ว่ามันส่งผลเสียอะไรบ้าง ต่อไปคุณอาจจะไม่มีทึ่อยู่อาศัยก็ได้นะคะ หรือต่อไปอาจจะไม่มีอาหารเพียงพอ
ไม่โกงกันหนักเรอะใครจะมาตรวจ
ฟังแล้วชัดเจนเลย ว่ารัฐบาลหรือผู้มีอำนาจ มองว่าควรลดจำนวนประชากรมนุษย์ลง we are the carbon they want to reduce.
กลไก อ่านว่า กน-ไก จ้ะ ข้านใครอ่านกนละไกNegative ไม่ใช่ negativityพูดธรรมดาแหละจ้ะ ไม่ต้องกระแดะ
พูดมาหลายปีละ ประเทศไทยยังไม่ได้ให้ความสำคัญสักที เพราะเป็นประเทศล้าหลัง
ขายใคร กำกวม
โรงงาน, บริษัทขนส่ง, บริษัทน้ำมัน, โรงไฟฟ้า ฯลฯ
ถ้าทำได้ตามที่พูดมันก็จะดีมาก แต่ความเป็นจริง เกษตรกรยากจนจะถูกเอาเปรียบเรื่อยไป การประเมินผลและกระบวนการต้องเสียค่าดำเนินการเยอะรึเปล่า สหรัฐพี่ใหญ่จะยกเลิกความร่วมมือหรือไใ่เมื่อทรัมป์เข้ามา LA ไฟไหม้ป่า ทำช็อค โครงการหรือไม่
ที่ประยุทธ์ไปขายฝันคาร์บอนศูนย์ใน COP26 กลาสโกว์ โดยมีประสานให้ Aramco มาตั้งศูนย์ใหญ่ในไทยโดยรัฐบาลเดียวกัน เรื่องนี้ตลกดี
ไทยคำ อังกฤษ 3 คำ ฟังก็เข้าใจอยู่หรอก แต่ลำไยนิดๆ
ขอบคุณทั้งสองท่านมากครับที่ทำให้ผมเข้าใจเรื่องเหล่านี้
ไม่เข้าใจว่ามันทำให้เกิดรายได้ยังไง
02:56 เกริ่นนำ
05:55 รู้จัก Carbon Footprint ที่มาของ Carbon Credit
12:40 Carbon Credit คืออะไร
16:09 ทำไมต้องทำ Carbon Credit บริษัทเล็กต้องทำไหม?
20:07 กลไก Carbon Credit ช่วยโลกจริงหรือ?
22:14 ตัวอย่างการทำ Carbon Credit
25:38 ระบบการซื้อ-ขาย-ทำ Carbon Credit
30:06 ตลาด Carbon Credit ระดับโลกเป็นอยางไร
36:00 ไทยพร้อมแค่ไหน
39:42 ภาพฝันอนาคตตลาดคาร์บอนในไทย
41:55 โดยสรุปใครต้องเริ่มทำทันที
หๆวกีป
กลไก (อ่านว่า กน-ไก) หรือเปล่าครับ
ที่บริษัท ก็ทำมาหลายปีแล้ว แต่รู้ลึกซึ้ง เพราะมาฟังจากรายการนี้เลยค่ะ ลูกค้าจากโซนยุโรป เริ่มเรียกหา Cert. แล้วค่ะ
รบกวนสอบถามแบบไม่รู้จริงๆครับ บริษัทผมซ์้อมาขายไปทั่วไป จากสามารถซ์้อคาร์บอรเครดิตในประเทศไทย และ ส่งขายต่อยุโรปจะทำได้ไหมครับ
การปลูกป่า(ต้นไม้ยืนต้น)คือการแคปเจอร์คาร์บอนที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดที่โลกเคยมีมา มิติของต้นไม้ครอบคลุมประโยชน์ของมนุษย์ทั้งโลก แต่เนื่องจากมีความต้องการเอาที่ดินไปใช้ในอุตสาหกรรม(เล็งเห็นเงินได้ง่ายและเร็ว) การปลูกต้นไม้ถูกมองว่าช้า คาร์บอนเครดิตทั้งโลกจึงถูกตอบสนองไปทางอุตสาหกรรม(กลุ่มทุน)ไม่ว่าจะเป็นวิธี การเข้าถึง คำศัพท์ที่ใช้ ยากที่มนุษย์ส่วนใหญ่ในโลกจะเข้าถึง ทั้งๆที่คาร์บอนเครดิตเป็นเรื่องที่กระทบต่อมนุษย์ทั้งโลก สรุปคาร์บอนเครดิตจึงถูกทำให้ยากถึงยากที่สุด(โดยเฉพาะประเทศไทย)เพื่อกีดกันการเข้าถึงของชาวบ้านทั่วไป คาร์บอนเครดิตจึงเป็นของสงวนของกลุ่มทุนไปโดยปริยายในชั่วโมงนี้ครับ
ใช่เลยครับ
เรื่องพวกนี้รายย่อยทำไม่ได้เลยครับ เนื่องจากค่าบริหารจัดการยิบย่อยเยอะเกินไป สุดท้ายระบบมันก็ออกมาเพื่อเอื้อให้ทุนใหญ่อยู่ดี
@@AntPDT ผมมีป่าปลูก100ไร่อายุ20ปี เป็นป่าปลูกที่สมบูรณ์แห่งหนึ่งของโลก มีคาร์บอนเครดิตเก็บไว้เพียบ ยังไม่มีใครบริษัทไหนมาสนใจคาร์บอนเครดิตของผมเลยครับนี่คือของจริง ทำจริง มีจริงนะ ผมว่าความซับซ้อนในเรื่องนี้ เมืองไทยกำลังคอรัปชั่นคาร์บอนเครดิตกันขนานใหญ่เลยครับ
@@เกษตรธรรมาภิวัฒน์ ใช่ครับผมก็คิดเหมือนกันว่าจะต้องมีการทุจริตและยังเป็นการเพิ่มต้นทุนของธุรกิจรายย่อยให้ไม่สามารถแข่งขันกับรายใหญ่ได้ เพราะต้องมีค่าใช้จ่ายในการ audit เรื่อง carbon footprint
ใช้เลยครับ
เมืองไทยมีเกษตรกรจำนวนมาก ถ้าออกแบบระบบให้คนส่วนใหญ่เข้าถึงได้ง่าย จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนมาก
คลิปนี้ แค่ภาษาที่จะสื่อสารกับเกษตรกร ก็ฟังยากแล้วคับ
@kornzpnunt7458 นั่นก็คือโอกาสของคนที่จะสามารถสื่อสารกับเกษตรกรได้
ผมฟังแล้วน่ากลัวมากๆครับ มันจะเป็นสิ่งที่ทำให้ความเหลื่อมล้ำสูงขึ้นไปอีก ด้วยมาตรการต่างๆที่จะออกมา แต่เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะเกิด อีกหน่อยกินชาบูถ้าสั่งเนื้อเยอะ นอกจากต้องจ่ายกิน, Vat, แล้วอาจจะต้องจ่ายค่า carbon เพราะกินเนื้อสัตว์เยอะด้วยหรือป่าว
สวัสดีครับ รบกวนขยายความเรื่อง ความเหลื่อมล้ำ เพิ่มเติมให้หน่อยครับอยากทราบในมุมมองของคุณเพิ่มครับ
@@Doosteamง่ายๆเทคต่างๆที่ลดคาบ่อนจะแพง คนไม่มีตังจะเข้าไม่ถึงทำให้ต้องจ่ายแพงขึ้น
มันก็จ่ายตามกำลังเผาผลาญเหมือนภาษีรายได้แหละคนที่มีเยอะผลาญเยอะก็จ่ายเยอะ โลกก็เป็นงี้
@@พัฒนโชต้-ศ2ช โอ้ยยยยยย อันนั้นรู้ แต่มันจะมีปัญหากับรายย่อย คนขายหมูปิง ต้องเสียด้วย เพราะก็สร้างมลพิษเหมือนกัน ปิงเกิดควัน ค่าไม้เสียบ ค้าถุงที่ใส่ ปัญหามันไม่เกิดกับรายใหญ่เท่าไหร่หรอก เค้ามีวิธีแก้ แต่มันจะทำให้รายย่อย ทำอะไรได้ยากขึ้น กินเนื้อสัตว์เยอะต้องเสียไม คุณพูดแมร่งแค่เรื่องง่ายๆ รายใหญ่ใช้เยอะจ่ายเยอะ เออ ใช้เคยบอกให้มากกว่านั้นมั้งไม หรือมีความรู้แค่นั้น
อะไรๆก็เหลื่อมล้ำ ทุกคนก็ต้องพัฒนาตัวเองปรับตัวกันไป จะให้โลกหยุดหมุนรอทุกคนเลยหรือ
อยากให้ไปศึกษาดูว่าโครงการ Kyoto Protocol ที่เป็น initiative แรกๆในเรื่อง carbon credit ของประเทศญี่ปุ่น ทำไมถึงไม่ประสบความสำเร็จ
เนื้อหาดีค่ะ ยุคนี้คนเล่ห์เหลี่ยมเยอะ เราต้องสร้างภูมิคุ้มกันค่ะ ขอบคุณค่ะ
ตามหัวขัอนี้มาหลายคลิปมาก แต่คลิปนี้ทำให้เข้าใจได้ขึ้นเยอะจริงๆ ถึงแม้จะมีคำถามที่สงสัยอยู่อีกเยอะก็เถอะ
บรรยายได้เข้าใจดีครับ แต่อยากให้ภาครัฐส่งเสริมในเชิงรุกมากกว่านี้ เช่นออกไปตามชุมชนแล้วคิดคำนวณรวบรวม ปริมาณการดูดซับคาร์บอนของต้นไม้ที่เกษตรกรปลูกมากน้อยก็สามารถขายเครดิตได้ ถ้าเขาจะร่วมโครงการก็ให้เขารักษาต้นไม้หรือปลูกเพิ่ม ส่วนในเรื่องเอกสารให้เป็นหน้าที่ของภาครัฐแล้วโอนเงินให้เขาไป เพราะเท่าที่เคยอ่านวิธีขายคาร์บอนเครดิตนั้นค่อนข้างยุ่งยากในการคำนวนครับ
เท่าที่ฟัง แสดงว่าประเทศที่มีพื้นที่สีเขียวเยอะๆ จะได้เปรียบในการสร้าง carbon credit ใช่รึเปล่าคะ
ย่อยเป็นความรู้ได้อีกหลายตอนเลยครับ พาเข้างาน the secret sauce summit 2023 ด้วยครับ SME จะได้เห็นถึงแนวทางที่น่าสนใจนี้
อาจารย์เป็นคนที่มองการไกล เห็นช่องทางและมีความรู้ นำตัวไปอยู่จุดกลางของเรื่องนี้ ต่อไปในอนาคตอาจารย์ก็จะเป็น de facto ที่ทุกคนจะเข้าหา ต่อไปอาจารย์จะขยายขอบเขตไปถึง esg ด้วยรึปล่าว ขอเดาว่า 99%
มนุษย์จำเป็นที่จะต้องรักษาสภาพแวดล้อมของโลก แต่ทำให้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคน เป็นหน้าที่ที่หนีไม่ได้
แต่นโยบายจากต่างประเทศที่บทลงโทษ กับผู้ไม่เข้าร่วมและสมาชิกภายใน แตาสามารถใช้เงินเปลี่ยนโทษเป็นคุณได้นี่มันไม่ถูกต้องนะครับ คิดกันดีๆว่าเขาต้องการอะไร ไปศึกษาหาอ่านตั้งแต่ใคร/องค์กรไหนเป็นผู้เริ่มเรื่องนี้ พวกเขาน่าเชื่อถือแค่ไหน พวกเขาถือตำแหน่งอะไรที่ไหนกันอยู่บ้าง มีประวัติไม่ดีไหม
ต้องอดทนอ่านภาษาอังกฤษหน่อยแต่จะรู้แจ้งเพราะข่าวในประเทศก็ถูกแปลมาจน loss in translation หมดแล้ว
ตรวจสอบที่มาที่ไป ผู้บริหาร สมาชิก นโยบายและบทลงโทษ ขององค์กรที่อาจารย์อ้างอิงถึงด้วยจะได้ครบวงจร
ต่อไปอาจารย์น่าจะทำแพบทฟอร์ม trade เป็นของตัวเองนะครับ ไม่แพ้ bitkup แน่นอน ไหนๆก็เป็นผู้รู้เรื่องนี้ที่สุด อย่าให้ใครแซงเดี๋ยวจะเสีย status quo ในอนาคตอาจได้เป็นผู้ตั้งนโยบายกำหนดคนอื่นว่าอะไรได้-ไม่ได้
ขอร้องทุกท่านไปศึกษาเรื่องนี้(ทั้งข้อดี-ข้อเสีย)ก่อนตัดสินใจครับ
ขอบคุณครับอาจารย์ ผมเห็นด้วยกับที่อาจารย์ว่า 100% ในส่วนที่เกี่ยวกับการศึกษาให้ดีก่อนลงตัวลงแรง และลงทุน เพราะมันมีความเสี่ยงไม่ต่างหรืออาจมากกว่าการลงทุนทั่วไป แถมเรื่องนี้มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเข้ามาเป็นเดิมพันอีก
ขอบพระคุณสำหรับความเห็นที่มีคุณค่าครับ แต่ในเรื่องทำแพลตฟอร์มผมคงไม่ไปไกลขนาดนั้นครับ 😅
ซื้อบัตรราคาพิเศษของ The Secret Sauce Summit 2023 ได้ที่ www.zipeventapp.com/e/TSSSUMMIT2023
สนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งของบูธในงาน
www.zipeventapp.com/e/TSSSUMMIT2023-Booth-Booking
เป็นเรื่องน่าสนใจมาก เคยศึกษาข้อมูลเรื่องกฏระเบียบแต่ข้อมูลไม่มากพอ เหมือนรัฐไม่ค่อยให้การ support เรื่องข้อมูล ทำงานแบบราชการไทยมาก
รัฐก็ยังไม่เป็นไม่ค่อยรู้เรื่องเลยค่ะ เลยให้คำแนะนำไม่ได้
ขอความเห็นค่ะ การทำนาข้าว ซึ่งต้องใช้ทั้งปุ๋ยเคมีและปุ๋ยจากสัตว์ ซึ่งเมื่อเทียบกับถ้าไม่ใช้ปุ๋ยเคมีเลย แต่ใช้แค่ปุ๋ยจากมูลสัตว์ ค่าคาร์บอน บาป จะมากหรือน้อยกว่ากันเท่าไรคะ
และถ้าใช้เฉพาะ ปุ๋ยธรรมชาติที่ได้จากการไถกลบซังข้าวอย่างเดว ค่าคาร์บอน บาปต่างกันมากน้อยแค่ไหนคะ
และควรทำอย่างไร เพื่อได้คาร์บอน บุญมากกว่า และทำให้ข้าวได้ผลผลิตดีด้วยค่ะ
เปรียบเทียบแต้มบุญ แต้มบาป เข้าใจเลยค่ะ อธิบายดีค่ะ
ขอคำแนะนำ สามารถหาข้อมูล Carbon Footprint และ Carbon Credit เพิ่มเติมสำหรับทำงานวิจัยได้ที่ไหนครับ
เรื่องสภาพภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องรอไม่ได้แล้ว ถ้ามาอยู่ประเทศเจริญแล้วจะรู้ว่าเขาตระหนักเรื่องนี้มาก เพราะถ้าช้า ไม่นานโลกจะอยู่ลำบากหรืออยู่อาศัยไม่ได้อีก
สุดยอด ความรู้ดีๆเข้าใจง่ายๆ ขอบคุณค่ะ
อยากช่วยอธิบายหลายๆ อย่างเลยค่ะ ในฐานะที่มีส่วนทำ guideline carbon footprint organization, product และ การทำค่า Emission Factor ของไทย
ประเทศไทยมีโครงสร้างพื้นฐานที่ทำเอาไว้สำหรับการประเมินเหล่านี้ไว้ดีในระดับต้นๆ ของภูมิภาค ทั้งในเรื่องการจัดทำฐานข้อมูลเอาไว้ เรามีฐานข้อมูลของประเทศมาเกือบ 20 ปี
อย่างกรณี carbon credit จะมีการประเมินกรณีฐานก่อน ซึ่งจะมีระเบียบวิธีตามแต่ประเภทโครงการ จากนั้นจะมีการคำนวณ ว่าโครงการดังกล่าวสามารถ ลดการปล่อย หรือการดูดกลับ ก๊าซเรือนกระจกได้เท่าไหร่ นอกจากนี้ประเภทโครงการต่างๆ ก็ยังไปสัมพันธ์กับเรื่องของการรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรนั้นๆ ด้วย
ขอสอบถามครับ ทำไมต้องเป็นต้นไม้อายุโครงการ 10 ปีขึ้นไปครับ เหตุผลคืออะไร ทั้งๆ ที่ต้นไม้ก้อดูด CO2 ทุกปี
ได้ความรู้ใหม่ ขอบคุณครับ
ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ
ถ้าคนธรรมดา ซื้อเกร็งไว้ขาย ในอนาคต จะได้ไหมครับ เพราะดูยังไง ถ้ามาจริงตอนนั้นก็ เจ้าใหญ่ๆ เหมือนบังคับซื้ออยู่แล้วไหมครับ เพราะดูยังไง ก็มีแต่ขึ้น นิติบุคคลยังไงก็มีแต่จะเพิ่มขึ้น
ซื้อได้ครับ ลงทะเบียนเหมือนซื้อหุ้น แต่เอกสารไปหาอ่านจากเวบ อบก
ช่วยรวมศัพท์อังกฤษเกี่ยว carbon credit & carbon footprint เพื่อการเรียนรู้รวดเร็ว ขอบคุณค่ะ
ผมปลูกต้นแคนาอยู่18ไร่ปลูกมา9ปีกว่าเกือบ10ปี เข้าโครงการคาร์บอนได้ไหมครับ วิผธีเข้าโครงการต้องทำอย่างไรครับ
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ถ้าปลูกอยู่แล้วลองติดต่อเลยครับแต่แน่นอนการขอใบรับรองมีขั้นตอนและค่าใช้จ่าย
กับดักอย่างเดียวที่ชาวสวนเกษตรกรจะเข้าไม่ถึงคือ เนื้อที่เพาะปลูก 10 ไร่ขึ้นไป และอาจจะพ่วงด้วยที่ดินนั้นต้องไม่ติด สปก หรือ ภบท.5 ด้วย ด้วยกำแพงตรงนี้จะทำให้หลายคนเข้าไม่ถึง
ฟังแล้วยังไม่เข้าใจเท่าที่ควร ชาวบ้านน่าจะเข้าใจยากอยู่ครับ
20:15 ขอบคุณ คุณเคนสำหรับคำถามนี้ครับ สงสัยมานาน
เกษตรกรที่เผา ธรรมชาติ(ไฟป่า) ส่วนนี้มีวิธีคิด ดำเนินการอย่างไร
ขอบคุณครับ..สุดยอดๆ
มีคำถามครับ
1) สมมติถ้าเราได้ใบ cer จาก อบก. ว่าเรามี carbon credit จากการปลูกสวนยางอยู่ 100 (หน่วยเป็นอะไรไม่แน่ใจ) แล้วเราขาย แสดงว่าสวนยางนี้ก็จะหมด carbon credit ไปเลย ต้องไปหาที่ปลูกใหม่แล้วขอลงทะเบียนใหม่กับ อบก. เหรอครับ?
2) เราเทรด carbon credit ข้ามประเทศได้ไหมครับ?
แล้ว มีโอกาส ที่จะเป็นระดับ บุคคล ในเชิงได้ credit carbon รายบบุคล แล้ว exchange to reselling on international market or ในตลาดได้หรือไม่ ครับ?
ขอบคุณครับ ได้ความรู้เยอะเลยครับ
หลายหัวข้อย้อนดูหลายรอบเลย เห็นด้วยมากๆเลยครับกับเรื่องนี้ ในไทยตอนนี้ก็พอได้ยินคำว่า Carbon Credit บ้าง แต่เมืองนอกที่บอกในคลิปนี้คือ ไปไกลพอสมควรและบังคับใช้กันแล้ว ถ้าบังคับใช้จริงๆผมว่าก็ดีนะครับ ช่วยๆกันรักษ์โลกถึงแม้ว่าจะเลย point of no return ไปแล้วแหละผมว่านะ --" ... อยากให้ทางการไทยทำจริงปรับจริง ไม่อยากให้เป็นการหากินของ จนท. อีก แบบพวกน้ำทิ้ง น้ำเสีย ฯลฯ ที่ไม่ผ่านแต่ให้ผ่านถ้าจ่าย หุหุ ผู้ประกอบการก็ต้องเอาจริงกับการรักษ์นี้ด้วย
- แล้วประเทศที่อยู่ในแทบทะเลทราย จะสร้าง Corbon credit อย่างไร
- เป็นไปได้ไหมที่บริษัทใหญ่ๆจะกวาดซื้อที่ดินเพื่อปลูกป่าซะเอง
- จะแน่ใจได้อย่างไรว่าเกษตรกรผู้ที่เพาะปลูกจะได้ประโยชน์
- เรื่องนี้ทำให้ผู้ประกอบการมีภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้น หากคุณเป็นเจ้าของผู้ประกอบการเอง คุณจะทำอย่างไร เมื่อมีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้น
ตราบใดที่สิ่งเหล่านี้ยังไม่เคลียร์ อย่าพึ่งบังคับเลยครับ มันอาจมองดูว่าสวยงามก็จริง แต่มันอาจเป็นการสร้างปัญหาหรือสร้างภาระให้กับอีกหลายภาคส่วนก็ได้ครับ ในเมื่อหลายประเทศในยุโรปเขาเริ่มทำไปก่อนแล้ว สรุปแล้วได้ผลลัพท์อย่างไรบ้าง มันช่วยแก้ปัญหาได้จริงหรือเปล่า ไม่เห็นนำมาเล่าให้ฟังเลย ประเทศเราอย่าพึ่งบังคับตามเลยครับ โปรดรอผลลัพท์ก่อน แล้วเลือกเอาสิ่งที่ดีที่สุดมาปรับใช้ ขอนอกเรื่องนิดหนึ่งครับ *เราเคยมีบทเรียนเรื่องน้ำมันพืชกับน้ำมันหมูมาแล้ว*
carbon credits สามารถสร้างได้หลายวิธีนะครับ อาจจะไม่ต้องปลูกป่าเสมอไป แต่ในประเทศไทยเห็นมีบริษัทเริ่มปลูกป่าแล้วนะครับ
จริงๆแล้วตอนนี้ในไทยยังไม่มีการบังคับใช้ให้ผู้ประกอบการทำหรือขึ้นทะเบียนโครงการ แน่นอนครับว่าจะมีค่าใช้จ่ายในการขึ้นทะเบียนโครงการ แต่สมมุติว่าบริษัทสามารถขาย carbon credits ได้ ก็ถือว่าเป็นรายได้เพิ่มเติมขององค์กร
มันช่วยได้จริงไหม? เรื่องนี้ยังมีการถกเถียงกันอยู่เลยครับ 55555 ว่า carbon credits ยั่งยืนจริงๆไหม
บริษัทใหญ่ ๆ ใช้การปลูกป่าเป็นเชิง ESG และ CSR และปลูกไปนานและเยอะมากแล้ว ซึ่งก็น่าจะเป็นการเตรียมป่า (เรียกว่าป่าได้มั้ย) เพื่อมารองรับการปล่อยคาร์บอนของตัวเองในปลายทาง จะว่าดีก็ดีในแง่ที่ว่าเค้าปล่อยเยอะ เขาก็ต้องปลูกเยอะ แต่พื้นที่ก็จะกลายเป็นของบริษัทใหญ่ ๆ หมด น่าคิดว่าจะไปยังไงต่อครับ
มันไม่ใช่แบบนั้นค่ะ มันคืิอการเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุขของคนทั้งโลก ต้องเช้าใจว่าผู้ที่ร่ำรวยได้ทำลายทำร้ายโลกและทรัพยากรมากที่สุดเสมอ จึงมีเงินเหลือ ให้นำเงินส่วนต่างนี้ไปสนับสนุนคนที่เขาช่วยทำให้ทรัพยากรโลกดีขึ้น ด้วยการจูงใจด้วยเงิน หรือซื้อผลงานนี้ของเขามา เพราะตนเองยังต้องหาเงินด้วยการทำลายทรัพยากรอยู่ บนความเชื่อว่า บวกลบมันจะหักกันในโลกเดียวกัน
หลักการเดียวกันกับการประกันภัย เฉลี่ยทุกข์สุข ทุกคนในอัตรานึง คนเสียหายได้เงินชดเชย คนไม่เสียหายได้ซื้อประกันความเสี่ยง
การปลูกป่า รักษ์ป่าได้ผลลัพธ์ดีแน่นอน
มันเป็นกฎที่สร้างมาเพื่อ คนแค่บางกลุ่ม ชาวประมง
สรุป ให้ป.4ฟังหน่อยครับ
จริงๆ ก็ไม่ต่างจากแนวคิดของต่างประเทศที่ให้ทุกองค์การผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ถูกตั้งขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็น ISO, HA ซึ่งน่าจะเป็นสิ่งที่ดี
ประเด็นคือ 1) ความคุ้มค่าในการรีโนเวท หรือ ปรับเปลี่ยนกระบวนการขององค์กรเพื่อเริ่มเข้าสู่ระบบ มันคุ้มค่ามากน้อยแค่ไหน เพื่อให้ได้ carbon credit มา
2) การ reaccredit จะเป็นการลูบหน้าปะจมูกรึป่าว
ปล.การทำ carbon credit เป็นสิ่งที่ดี แต่ต้องอยู่ภายใต้จิตสำนึกล้วนๆ โดยไม่ควรเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์เลย
😅ฟังยากจัง มองแต่เรื่องซื้อขายธุรกิจ เรื่องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแทบไม่มี สุดท้าย ไม่มีความชัดเจนอะไร สมมติชาวสวนยาง สวนป่า อยากขายคาร์บอนเครดิต จะต้องไปหาใคร ลงทะเบียนยังไง ใครรับรอง ค่าใช้จ่ายเท่าไร จะได้เงินตอนไหน บลาๆ ไม่ชัดสักอย่าง 😅
ปั้นมาเพื่อหลอกกินเงินเพิ่มแท้ๆ
เห็นด้วย
อยากสอบถามว่าแล้วเกษตรกรที่ต้องการขายคาร์บอนเครดิต จะต้องติดต่อใคร ทำอย่างไร
หวัดดีฮ่ะ
Thanks for knowledge # SEP 🙇♂️
ขอเบอคติดต่ออาจารย์หน่อยครับ
ขอบคุณมากครับ
ค่าใช้จ่ายในการรับรอง ลดลงหน่อยจะช่วยได้เยอะครับ
ผู้รับรองและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมีเรื่องการแบกรับความเสี่ยงหากเกิดข้อผิดพลาดจากการดำเนินโครงการครับ หลายๆ ที่จึงมีการคิดค่าความเสี่ยง ซึ่งในอนาคตมีแนวโน้มว่ากลไกตลาดจะทำให้ราคาลดลงครับ
ชอบอ่ะ
มีแอพคำนวน คาร์บอน ฟุตปริ้นไหม ครับ
พัฒนา การ ใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงโรงงานผลิตไฟฟ้า และ รถยน รถเก่ง
เนื้อหาดีมากๆเลย แต่พูดอ่าบ่อยไปหน่อย
ดี ถ้า...ปลูกเพิ่มจริงแล้วค่อยนับหนึ่ง จากการลงมือทำจริง.
ไม่ดี ถ้า...ตระเวนหาเช่าซื้อต้นไม้ที่เป็นทรัพยากรณ์ที่มีอยู่เดิมให้เป็นกรรมสิทธิของเอกชนภาคอุสาหกรรม แล้วเพื่อเพิ่มเพดานการปล่อยก๊าชพิษเพิ่มให้ได้มากกว่ากำหนดมาตรฐานที่ให้
ในอนาคตความปนเปื้นของอากาศย่อมจะเพิ่มขึ้นเกินมาตราฐาน เพราะป่าหรือต้นไม่ไม่ได้เพิ่มขึ้นเลย แค่ถูกจับจอง.
ขอให้เกิดขึ้นจริงครับ pm2.5 การเผา จะได้ลดลง ซะที
มีที่ป่า 10 ไร่ จะขาย คาร์บอนเครดิต ได้กี่บาทครับ
ป่า 10 ไร่ ทำไม่แนะนำครับ เพราะจะไม่คุ้ม แนะนำให้หาสมัครพรรคพวกที่มีพื้นที่ป่ามาร่วมโครงการด้วยครับ เพื่อหารค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้น เช่น ค่าที่ปรึกษา ค่าทวนสอบครับ
@@aipermถ้า 10 ไร่ ยังทำไม่ได้ ผมว่าระบบนี้ก็เหมือนออกมาเพื่อกดทับธุรกิจรายย่อยแหละครับ
แต่ผมไม่ได้ว่าพี่นะครับ ผมเข้าใจว่าพวกประเทศมหาอำนาจต่างๆเค้าบังคับ
แต่อยากให้พวกค่าดำเนินการต่างๆ เช่น การ audit อยู่ในราคาที่คนธรรมดาเข้าถึงได้ครับ
ปกติเค้าเริ่มต้นทำกันที่หลักร้อยไร่ขึ้นไปค่ะ
ถึงจะมีจำนวนคาร์บอนเครดิตที่มากพอจะซื้อขายได้หน่อย
นึกภาพเหมือนตลาดหุ้น ขายหุ้นจำนวนหลักหน่วยไม่ค่อยมีใครซื้อขายกัน
ต้องหลักร้อยหลักพันหน่วยขึ้นไปน่ะค่ะ
เคยเห็นญี่ปุ่นมาประกาศหาลงทุนคนทำป่า 300 ไร่ขึ้นไปค่ะ
@@patzto2543 เข้าใจง่ายดีครับ และขอสอบถามเพิ่มครับ ถ้า 100 ไร่ ที่ป่า จะขายได้เงินเท่าไร ครับ
คือผมอยากรู้ ว่าสนามนี้ประชาชนควรลงทุนศึกษาหาความรู้ไหม หรือ แค่ตลาดรายใหญ่เก่งกำไรกันครับ
@@patzto2543 โห ถ้าต้องร้อยไร่ขึ้นไปนี่ยิ่งเอื้อนายทุนจัดๆเลยครับ เพราะในประเทศจะมีซักกี่ครอบครัวที่มีที่ดิน100ไร่ 😅
ถ้าเรา สามารถซ์้อคาร์บอรเครดิตในประเทศไทย และ ส่งขายต่อไปยุโรปจะทำได้ไหมครับ
สามารถทำได้ในกรณีที่มาตรฐานเป็นสากลครับ เช่น VCS, Gold Standard
คนธรรมดาอย่าหวังเลย องค์กรใหญ่ ๆ ทั้งนั้น เพราะเค้าเป็นคนตั้งกติกา😅😅
มีคำถามว่า สมมุตธุรกิจเชื้อเพลิง เขาไม่สามารถซื้อเครดิตหรือทดแทนคาร์บอนที่ปล่อยไป เขาตัดสินใจ อ่ะ ถ้างี้ผมปิดกิจการเลยแล้วกัน คำถามคือ แล้วประเทศนั้นจะทำไงต่อครับ
Carbon capture ครับ
@@ekkasitsopapong อ่า แบบที่ ปตท กำลังทำใช่มั้ยครับ ส่งลงดิน
อยากให้พูดเกี่ยวกับ carbon offset หน่อยครับ ผมสนใจที่จะซื้อ ผมเห็นบางเว็ปมีราคาอยู่ที่ 3000บาทต่อ 1ตัน ถ้าผมปล่อยcarbonไป10ตันต่อปี ก็แค่ 30000บาทต่อปี ผมว่าไม่แพง
ราคาถูกกว่านั้นก็มีนะครับ
@@aipermบกวนบอกหน่อยครับว่ามีที่ไหนบ้างครับ ผมอยากศึกษาให้มากขึ้นด้วย ขอบคุณครับ
เรามีป่าไม้แข็งเบญจพรรณเกือบ20ไร่คะ
มิน่าหลายปีมานี้ ปตท. ถึงมีโครงการปลูกป่าเยอะมาก
ปลูกแล้ว รอดจริงกี่ต้น มีแต่คำว่าปลูก
ยังดีกว่าอยู่เฉยๆนะคุณ😊
เรื่องง่ายๆพูดให้เป็นเรื่องยาก โรงงานต่างๆตัวการปล่อย
Footprint คำนวณยากนะครับ
ค่าใช่จ่ายในการเข้าระบบ ขอการรับรอง
สอบถามด้วยค่ะ
อยากให้มีซับ eng จังค่ะ ขอบคุณมากค่า
่เราต้องซื้อที่แปลงใหญ่ ไถ่เอาป่าเดิมออก แล้วปลูกเฉพาะต้นที่เค้าคำนวนคาร์บอนเครดิต จริงๆแล้วอันนี้เค้าคิดมาสำหรับพื้นที่ ที่โดนทำลายไปแล้วในต่างประเทศ ไม่ใช่สำหรับไทย
❤หัวข้อน่าสนใจมากและอยากจะจดทะเบียนขายเครดิตคาร์บอนค่ะ
รับบริการทำครับผม
🌱💚💚💚
คือการลวงโลกแบบนึง ปั้นสิ่งที่ไม่มีมาขายกันดื้อๆ
เข้าไม่โง่ให้เงินคนปลูกต้นไม้ฟรีหรอกๆ บ้างบริษัทก็โลกสวยเกินชีวิตจริงไม่น่าจะใช่ เหมือนบังคับให้ประเทศเล็กทำตาม แต่ประเทศใหญ่ไม่สนใจอะไรเลย.
ต้องส่งเสริม การปลูกป่า เพื่อโลกของเรา
ok
มีแล้วอยากขายต้องทำไง
คนธรรมดาอย่าหวังเลย องค์กรใหญ่ ๆ ทั้งนั้น เพราะเค้าเป็นคนตั้งกติกา😅😅
คนตรวจสอบไว้ใจได้แค่ไหน
ถ้าสิ่งที่เรารู้มาทั้งหมด carbon ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่เค้าว่ากัน ?
แล้วเราจะหยิบจับหรือบรรจุขายได้ยังไง
งง..ค่ะแล้วถ้าปลูกต้นไม้เองรดน้ำต้นไม้เองที่บ้านล่ะค่ะได้คาร์บอนเครดิตเท่าไหร่😅😅
ปลูกต้นไม้เยอะแต่ปลูกในที่ดินภบท.5หมดสิทธ์
To go or not into hydrogen vehicles should be under great consideration worldwide. EV is not sustainable with many known problems so looking into hydrogen with worldwide governmental support is a better into the future.
Waiting for ev cars from china play this vital role first before h2 car will occupy market later is it ok?
บริษัทผม ทำเกี่ยวกับ กับ Eco packaging เปลี่ยนพลาสติก มาเป็นกระดาษ กันเถอะ
10 นาทีแรกผมหัวเราะก๊ากเลย
มีเรื่อง บาปด้วย 5555
ดีใจที่สร้างเสียงหัวเราะให้ได้ครับ เป็นการเปรียบเทียบกับ Indulgence ในคริสต์แคธอลิคสมัยก่อนครับ ที่คนทำบาปเอาเงินบริจาคกับโบสถ์เพื่อไถ่บาปครับ
การทำสงคราม ระเบิด1ลูก หลายๆลูก จะทำลายอุดมการ์ณดีๆนี้ จบสิ้น โลกใบนี้
เดียวก็เก็บค่าหายใจอีก คิดเป็นเงินทุกอย่าง
พักบุบ ถอดสายชาด ที่ชาดไร้สาระมาหลาย ช ม ฮาๆ ค่อยๆเปลี่ยนนิสัยตัวเอง 😂 ข้อมูลดีมากคะ
ปลูกให้มาก
only the wef's minions can stay afloat...? :(
💚💚🕊️
คนนึง ค่ะขงิ้วล😊ลูกศรงง_
เรื่องลดปริมาณคาร์บอนเป็นเรื่องดี แต่เรื่อขายงคาร์บอนเครดิตทำให้ประเทศอุตสาหกรรมมีสิทธิ้สร้างคาร์บอนเพิ่ม เป็นเรื่องเลวร้ายมาก พอทีได้แล้ว เลิกเห็นแก่เศษเงินจากประเทศอุตสาหกรรมได้แล้ว ไร้ค่า ไปทำงานอย่างอื่นเถอะ
เกินจริง ตรวจสอบยาก
DR.พูลเพิ่ม ไม่ได้ประชุมทางวิชาการ ไม่ต้องโชว์ภาษา พูดภาษาไทยทั้งหมดได้มั๊ย เชื่อว่าชาวนา ชาวสวน เกือบทั้งประเทศฟังไม่กระจ่าง อังกฤษคำไทยคำ
คิดเหมือนกันเลย
ต่อให้พูดภาษาไทยฟังแค่คลิปเดียวไม่มีทางเช้าใจได้ทั้งหมดหรอก เพราะมันเป็นเรื่องใหม่ ต้องไปศึกษาต่อเอง นี่อ.พูดเข้าใจง่ายมากแล้ว มัวมานั่งแปล technical term เป็นภาษไทยเนื้อหาคงไม่ถึงไหน เบื่อพวกอคติ ฟังภาษาอังกฤษไม่ได้ต้องดิ้น รำคาญ
Road to serfdom
ประเทศไทย ควรมีนโยบายลดค่า verify ลงให้อยู่ในหลักหมื่นต้นๆ ครับ และต้องมีกลไลที่เชื่อถือได้ ไม่งั้นจะเหมือน เกษตร GAP Thai-version..😂😂😂😂
กระบะตัดแคทควันดำ เต็มบ้านเต็มเมือง
ผมไม่เข้าใจว่าเราจะซีเรียสอะไรกับคาบอน ซึ่งเป็นอาหารหลักของพืช และ เป็นฐานของร่างกายมนุษย์ โลกมันต้องมีฝุ่นอยู่แล้ว ทำไมกันนะ
มันมีมากเกินไปไง มันปล่อยออกมามากเกินไป จนกำจัดด้วยระบบธรรมชาติที่มีอยู่ไม่ได้ ไม่ทัน ไม่พอ ประเด็นคือตรงนี้
ลองเสิชเรื่องก๊าซเรือนกระจกดูนะคะ
ว่าคาร์บอนทำลายโลกเรายังไงบ้าง
ลองเสริช ภาวะโลกร้อนค่ะ ว่ามันส่งผลเสียอะไรบ้าง ต่อไปคุณอาจจะไม่มีทึ่อยู่อาศัยก็ได้นะคะ หรือต่อไปอาจจะไม่มีอาหารเพียงพอ
ไม่โกงกันหนักเรอะใครจะมาตรวจ
ฟังแล้วชัดเจนเลย ว่ารัฐบาลหรือผู้มีอำนาจ มองว่าควรลดจำนวนประชากรมนุษย์ลง we are the carbon they want to reduce.
กลไก อ่านว่า กน-ไก จ้ะ ข้านใครอ่านกนละไก
Negative ไม่ใช่ negativity
พูดธรรมดาแหละจ้ะ ไม่ต้องกระแดะ
พูดมาหลายปีละ ประเทศไทยยังไม่ได้ให้ความสำคัญสักที เพราะเป็นประเทศล้าหลัง
ขายใคร กำกวม
โรงงาน, บริษัทขนส่ง, บริษัทน้ำมัน, โรงไฟฟ้า ฯลฯ
ถ้าทำได้ตามที่พูดมันก็จะดีมาก แต่ความเป็นจริง เกษตรกรยากจนจะถูกเอาเปรียบเรื่อยไป การประเมินผลและกระบวนการต้องเสียค่าดำเนินการเยอะรึเปล่า สหรัฐพี่ใหญ่จะยกเลิกความร่วมมือหรือไใ่เมื่อทรัมป์เข้ามา
LA ไฟไหม้ป่า ทำช็อค โครงการหรือไม่
ที่ประยุทธ์ไปขายฝันคาร์บอนศูนย์ใน COP26 กลาสโกว์ โดยมีประสานให้ Aramco มาตั้งศูนย์ใหญ่ในไทยโดยรัฐบาลเดียวกัน เรื่องนี้ตลกดี
ไทยคำ อังกฤษ 3 คำ ฟังก็เข้าใจอยู่หรอก แต่ลำไยนิดๆ
ขอบคุณทั้งสองท่านมากครับที่ทำให้ผมเข้าใจเรื่องเหล่านี้
ไม่เข้าใจว่ามันทำให้เกิดรายได้ยังไง