Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
00:00 Highlight00:41 เราคือใครในทางปรัชญา05:04 เราเปลี่ยนไปแล้วยังเป็นคนเดิมไหม10:39 การทดลองทางความคิด22:34 แนวคิดว่าสิ่งภายนอกคือเรา23:23 แนวคิดเรื่องตัวตนของ เดวิด ฮิวม์32:59 แนวคิดเรื่องตัวตนของ จอห์น ล็อก44:43 ทำไมเราต้องหาคำตอบว่าตัวตนคืออะไร52:36 คำถามทิ้งท้าย
เวลาจะคอมเม้นคลิปรายการนี้ทีไร สิ่งที่เกิดขึ้นคือ พิมพ์แล้วลบ ลบแล้วพิมพ์ วนไปวนมาอยู่นั่นแหละพอหยุดพิมพ์แล้วกลับมาอ่านที่ตัวเองเขียน ปรากฎว่า ไม่รู้เรื่องอยู่ดี 55555ชอบรายการนี้มากกกๆๆ เพราะมันทำให้ความคิดของเราสนุกมากขึ้นไปอีก
ผมนึกถึงปรัชญา “เรือของทีซิอุส” ที่ถามว่า ถ้าเรือถูกซ่อมแซมและเปลี่ยนชิ้นส่วนไปเรื่อยๆ จนในที่สุดไม่มีชิ้นส่วนเดิมเหลืออยู่เลย เรือยังจะเป็นเรือลำเดิมหรือไม่เหมือนกันกับชีวิตเรา เรามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นความคิด ประสบการณ์ หรือสิ่งรอบตัว แต่สุดท้ายเราก็ยังเป็น “เรา” อยู่ดี น่าสนใจว่าแม้ทุกสิ่งทุกอย่างเปลี่ยนไป เราก็ยังคงมีตัวตนที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวดังนั้น ความเป็นตัวเราอาจจะไม่ใช่แค่ชิ้นส่วนหรือประสบการณ์ที่เราผ่านมา แต่เป็นสิ่งที่เราเลือกที่จะเป็นในปัจจุบัน
เรือของทีซิอุสนี่เป็นเรื่องแรกๆ ที่ผมคิดถึงเหมือนกันตอนเตรียมเนื้อหาครับ แต่สุดท้ายตัดสินใจตัดออกไปก่อน เดี๋ยวเก็บไว้ทำ shorts แยกดีกว่า ขอบคุณสำหรับไอเดียฮะ 😆
@@pknnnยินดีมากๆ เลยครับ ตื่นเต้นมากเลยครับ อยากรู้แล้วว่าพี่ภาคินมองปรัชญาเรื่องนี้อย่างไรครับ 😆(ตื่นเตันกับปรัชญา พูดไปจะมีใครเชื่อไหมครับเนี่ย 5555)
@@JumpTaeyeon มิลินทร์ปัญหา มองคล้ายกันแต่เป็นรถ แต่สรุปออกมาไม่มี “เรา” เพราะทุกสิ่งก่อเกิดขึ้นมาและเปลี่ยนแปลงไม่มีแม้เอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะไม่มีตัวตั้งแต่แรก
@@nattawutkongsutthi6178 ใช่เลยครับ เป็นแนวคิดคล้ายๆ กันในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกันมากๆ จากสองวัฒนธรรมที่อาจจะไปมาหาสู่กันอยู่บ้างนะครับ 🙂
+1
ชอบมากค่ะ ถูกใจมาก นี่เป็นคนๆหนึ่งที่ออยู่แบบไม่เข้าสังคม ไม่มีเพื่อนฝูงที่พูดคุยบ้าๆแบบนี่ได้ แต่เราชอบนั่งคุยกับตัวเอง มันเหมือนคนบ้านะคะ แต่เราทำแล้วเหมือนได้รู้จักตัวเองมากขึ้น…. ตัวตนของเราเป็นคนรัก เพื่อน ครอบครัว อาจารย์ มันคือธรรมชาติ มันอาจเป็นภาพลวงตาแต่ก็ไม่ใช่ เรารู้สึกว่าคนๆนั่น อยู่ในตัวเรา คอยปลอมโยนและเติบโตไปพร้อมๆกับเรา ทุกความทรงจำที่เจ็บปวด น่ากลัว เลวร้าย จนหนทาง ผสมกับความสุขเล็กๆน้อย ความสบายและปลอดภัย … ตัวตนของเราก็คือตัวเราในปัจจุบันค่ะ ไม่ว่าจะเป็นอดีย อนาคต ปัจจุบัน เรามีแค่คนๆเดียวบนโลกความจริง ไม่แน่เราอาจเป็นเนื้อคู่ของตัวเอง แต่อยู่ในรูปของจิตวิญญาณ บ้างครั้งมันเงียบและปล่อยให้เราอยู่กับความจริงที่น่ากลัวเพียงลำพัง แต่เรามักสร้างตัวตนที่เข้มแข็งขึ้นเพื่อปกป้องตัวเองจากความคิดลบๆในตัวเรา หรือความเลวร้ายจากผู้อื่น มันคือการเรียนรู้และแก้ไขค่ะ //อินมากกกกก ชอบพอตแคสปรัชญามากค่ะ เหมือนเป็นสิ่งต่อเติมความหมายในชีวิตหนูเลย
โหผมอึ้งมากครับ เหมือนเป็นการปูพื้นทางสู่การทำความเข้าใจการถอนรื้อตัวตนฉบับปุถุชนก่อนจะศึกษาสติปัฏฐานสูตรเลย ทั้งพิจารณากายในกาย (ถอดรื้ออวัยวะแต่ละส่วนที่มันประกอบสร้างตัวตนหรือกายของเรา แต่ถ้าแยกเอาสมองออกมาหนึ่งก้อน หรือแยกเอาจมูกออกมา สมองนั้นก็คงจะไม่เรียกว่าเรา จมูกนั้นก็ไม่ใช่นาย ก นาย ข หรือใคร แต่คือจมูก) พิจารณาเวทนาในเวทนา (ถอดรื้อความสุขความทุกข์โดยพิจารณาว่ามีสุขย่อมมีทุก เกิดและดับวนๆเวียนๆไปเสมอ) พิจารณาจิตในจิต (ถอดรื้ออารมณ์และความรู้สึก ความนึกคิดโดยพิจารณาเพื่อละทิ้งความทรงจำ/ประสบการณ์และสำนึก ที่ประกอบสร้างเป็นเราในบริบทของประสบการณ์) พิจารณาธรรมในธรรม(ถอดรื้อสำนึกที่ว่าทุกสิ่งมีอยู่นั้นย่อมเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไป)
ตอนนี้ค่อนข้างซับซ้อนเลยค่ะ คิดว่าอาจจะเพราะเกี่ยวกับเรื่อง mind ด้วย มันเป็น area ที่มีความเป็นวิทยาศาสตร์ค่อนข้างสูง กระบวนการการคิด การรับรู้ ความรู้สึก ความทรงจำ ฯลฯ แต่เราเชื่อว่าตัวตน (ถ้ามีอยู่นะ) ก็เป็นการผสมผสานระหว่าง body กับ mind แหละ เพราะอย่างที่คุณภาคิณอธิบาย สมองคนๆ นึงมันอยู่กับร่างกายเขามาตลอด ความใกล้ชิดแนบแน่นที่แต่ละคนมีกับ body ตัวเองนี่ทำให้เกิดความเชื่อ (or มายาคติ) ว่า นี่แหละคือชั้น (และแบบนั้น ที่ถูกใจเธอ 555) ถึงแม้เราจะรู้ว่าเซลล์ตายทุกวัน ในเชิงกายภาพร่างกายเราตายทุกวัน และความทรงจำเราก็เปราะบาง แก่แล้วก็เลอะเลือนด้วย แต่ whatever points ที่มันยังร้อยกันอยู่ (แบบ Locke ว่า) ก็ทำให้เราตระหนักว่านั่นคือ self ค่ะ มีกรณีเรื่องฝาแฝดด้วยที่เราคิดว่าอาจจะเป็นตัวอย่างเรื่อง self ที่น่าสนใจ ความเหมือน (ทั้งกาย+ความคิด+การรับรู้เป็นคู่) ของฝาแฝดเป็นเรื่องที่ชวนคิดค่ะ ยิ่งถ้าลักษณะแฝดสยาม ยิ่งพีคเลยเนื่องจากเราสนใจวรรณกรรม อีกเรื่องที่อยากเสนอคือนวนิยายเรื่อง Alice's Adventures in Wonderland โดย Lewis Carroll ค่ะ มีคำถามว่าฉันคือใคร เธอคือใคร แล้วขนาดตัว Alice เปลี่ยนไปเรื่อยๆ เอ ชั้นเป็นคนเดิมในตอนเช้ามั้ยนะ ถกเรื่อง self กันแบบฉ่ำมาก วรรณกรรมเด็กแบบใด 55
จริงครับ ประเด็นนี้คิดต่อได้ยาวๆ เลย มีเรื่องที่ตัดออกไปจากที่คิดไว้ทีแรกเยอะมากๆ สนุกมากสำหรับคนเนิร์ดในหลายวงการครับ 555
ปรัชญา เป็นการถกเถียง หาเหตุผลด้วยเหตุผล ความเข้าใจกันและกันทั้งในตนและผู้อื่น ซึ่งในหัวข้อ เราคือใคร ตัวตนเรามีอำนาจในตนแค่ไหน ทำให้ความเข้าใจต่อตนและผู้อื่นในสังคมมากขึ้น มีความเห็นอกเห็นใจกัน มองทุกสิ่งที่เชื่อมโยง ซึ่งการพูดคุยเชิงปรัชญาควรให้มีในการเรียนตั้งแต่ประถม จะเป็นประโยชน์มากทั้ง เด็ก เยาวชน
ขอบคุณทีมงาน และวิทยากรที่เอาเรื่องที่เราเหมือนมองข้าม มาตั้งคำถามได้อย่างต้องครุ่นคิดฟังตอนนี้แล้ว รู้สึกว่าตัวตนเราเป็นสายของบล๊อคเชน แก้ หรือลืมที่บล๊อกไหน ก็ไม่ใช่ตัวเราทันทีสำหรับปัญหาในอดีตทางพุทธถึงไม่ได้ให้แก้ด้วยการลืม แต่ให้รู้ จำ และวางลงซะ
ตอนเด็กๆ ผมคิดมาตลอดเลยว่าไม่ใช่ตัวเองผมเป็นใครก็ไม่รู้และคนรอบข้างก็เป็นใครไม่รู้ เขาจะรู้สึกเหมือนเราและเขามีตัวตนจริงๆไหม พึ่งจะมารู้ว่ามีคนคิดเรื่องนี้มานาน แล้วรู้สึกสบายใจขึ้นว่าเราไม่ได้คิดไปเอง ตอนนั้นรู้สึกได้ว่าเหมือนเราแสดงหนังที่เราเข้าใจบทนั้นคนเดียว แล้วคนอื่นก็ต้องแสดงบทคนอื่น โคตรจะสับสนเลย
ผมชอบเป็นตอนนั้งเหม่อ รู้สึกว่าตัวตนของเราว่างปล่าว เหมือไม่เคยรู้จักคนรอบข้างกับตัวเองเลย เหมือนว่าเราเป็นใครก็ไม่รู้
ปรัชญาโตตรดีเลยยย หลายๆอย่างที่เคยมีคำถามในใจ ก็ปลดล็อคได้ด้วยการฟังอะไรแบบนี้ การฟังปรัชญา
ขออนุญาตเสนอว่าให้ทำคลิปแยกมาตอบคอมเมนว่าคนมีความคิดเห็นยังไง เวลาก่อนจบรายการมักจะฝากคำถาม แต่คนดูไม่รู้เลยว่าได้อ่านยัง ให้คำคลิปแยกมานั่งอ่านคอมเมนไปเลยครับ สนุกดี
ขอบคุณมากครับ จะลองไปหารือกับทีมเรื่องนี้ดู แต่มายืนยันว่า เราอ่านคอมเมนต์ที่ตอบคำถามทุกอัน โดยเฉพาะอันยาวๆ ครับ ส่วนตัวชอบเป็นพิเศษ รู้สึกเหมือนตรวจข้อสอบ 55555
ชอบช่อง ปรัชญา มากๆๆ ยิ่งฟังยิ่งค้นหาตัวเองเจอ หาคำตอบให้ตัวเองในหลายๆอย่าง
ชอบมากค่ะ 🙏🏻 คิดเรื่องแบบนี้อยู่ตลอดเลย และได้ประโยชน์จากมันอยู่เสมอ ดีใจที่มีรายการแบบนี้ค่ะ
เรื่อง consciousness นี่มี thought experiment อันนึงของ Parfitt ที่ไปไกลกว่าการ upload สมองเข้าสู่ระบบ digital คือ สมมติว่า teleportation มีอยู่จริง และทำงานโดยการแยกชิ้นส่วนตัวเราออก แล้วประกอบขึ้นใหม่ที่ปลายทางด้วยสสารใหม่ แต่ทุกอย่าง continue ก่อนเข้าเครื่องคิดว่าเย็นนี้จะกินข้าวผัด ออกจากเครื่องกลับถึงบ้านสั่งข้าวผัดมากิน ตื่นเช้าไปทำงานตามปกติ คำถามคือสิ่งมีชีวิตที่ปรากฎขึ้นที่ปลายทางคือเราหรือไม่ หรือเราตายไปแล้วตั้งแต่ต้นทางถ้าเอาตาม Parfitt เค้าก็จะบอกว่าตัวเราไม่ได้เดินทางกลับบ้าน แต่ถูกสร้างขึ้นใหม่ที่ปลายทาง ซึ่งไม่ได้ต่างไปจากการที่ร่างกายผลัดเปลี่ยนเซล หรือการที่ตอนเด็กๆ เราเคยไม่ชอบกินข้าวผัด ตัวเราเมื่อวานตายไปแล้ว แต่มีบางส่วนที่หลงเหลือมาเป็นเราในวันนี้ ทั้ง physicality และ mentality ไม่ว่าจะเป็นสถานะทางสังคม ความสัมพันธ์ ความรู้สึก ความเชื่อ ความชอบ เป็นแนวคิดคล้ายๆ ของ Locke ซึ่งในกรณีนี้ก็คงจะตอบว่ามันก็คือตัวเรานี่แหละเพราะมัน continue กัน ต่างกันแค่ตรงที่ Locke จะเน้นที่ความทรงจำซึ่งมีประเด็นปัญหาว่าความทรงจำของคนเรามันไม่แน่นอน มันอาจะหายไป หรือถูกปรุงแต่งได้ง่ายส่วนถ้าเป็น Hume ก็คงจะตอบว่าสิ่งมีชีวิตที่ปลายทางไม่ใช่ตัวเรา เพราะความรับรู้มันจบลงไปแล้ว คำถามคือ 1. เริ่มขึ้นหรือจบลงนับจากตรงไหน ถ้าตอบว่า unconsciousness คือจุดตัด แล้วในทางวิทยาศาสตร์ที่บอกว่า sleeping state คือ unconscious state การที่เรานอนหลับแล้วตื่นขึ้นมาในตอนเช้า ถือว่าเรายังเป็นคนเดิมรึเปล่า แล้วแตกต่างอย่างไรกับการ teleport 2. ถ้าตัวเราจริงๆ ตายไปตั้งแต่ที่ต้นทาง หัวหน้างานสามารถบอกว่าจะไม่จ่ายเงินเดือนให้เราแล้วได้มั้ย
ขอบคุณค่ะ☺🌸
Story = ตัวตนเพราะทุกคนมี Story ทุกคนจึงมีตัวตน คนแปลกหน้า คนไม่รู้จัก เรายังไม่รู้ Story ของเขา เขาจึงยังไม่มีตัวตน .. คนรู้จัก คนคุ้นเคย เรารู้ Story เขาแล้ว เขาจึงมีตัวตน ..สัมผัสถึงการมีตัวตน คือสัมผัสทางความรู้สึก ที่ผ่านมาจากความทรงจำ เรื่องราวที่เคยผ่านมาด้วยกัน ความทรงจำที่เคยมีร่วมกัน แม้ไม่ได้ใกล้ขิดกัน แต่เขาก็ยังอยู่ภายในหัวใจ .. เคยคิดถึงใครไหม เคยรักใครอย่างสุดหัวใจไหม .. ??กับใครบางคน มีตัวตนแค่ในความฝัน .. ก็พอแล้ว .. 🩵🩵🩵
ดวงจิต - จิตวิญญาณ - วิญญาณ นั้นแหละคือตัวตนของเรา มองลึกลงไปในจิตใจ เราจะพบกับจิตวิญญาณของเรา ที่ล่อเลี้ยงด้วยจิตใต้สำนึกมาตั้งแต่เกิด
ผมเชื่อคำพูดนึงของศ.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์มากๆแกบอกประมาณว่า(ผมจำคำแม่นๆไม่ได้)คุณคือปากกา ผมคือปากกาคุณเขียนผมผมเขียนคุณเราเขียนซึ่งกันละกัน
❤ ว้าวมากค่ะ
ฟังจบแล้วคิดว่าตัวเองได้แนวคิดมาอย่างนึงคือ ถึงไม่รู้ว่าตัวตนเราคืออะไร แต่ตัวเราสามารถทำอะไรได้บ้างกับตัวตนนี้
สำหรับผม (มัลติเวิร์ส)เรา คือ สิ่งประกอบสร้างของ กาลอวกาศ แต่ละฉากแต่ละเหตุการณ์ที่ผ่านไปของมัน เราก็จะถูกสร้างใหม่ ประกอบแล้วประกอบอีก นิยามแล้วนิยามอีก แต่ละฉากแต่ละฉาก ร้อยเรียงแตกแยกสายทานไปเรื่อยๆ มีความเป็นไปได้มากมายที่จะสามารถสร้างขึ้นใหม่ได้เสมออิเล็กตรอนวิ่งไปมาด้วยความเร็วในห่วงเวลา สร้างฉากขึ้นมาไม่รู้จบ เราแทบจะไม่มีอยู่จริง ถ้าหาความจริงเราก็จะชนเพดานที่มองไม่เห็นเรารู้แค่ว่า ฉาก ณ ฉากนี้ คือ เราที่อยู่ตรงนี้ แต่อดีตและอนาคต ไม่มีทางคือเราได้เลย คุณฟันธงแบบนั้นไม่ได้
สนุกมากค่ะ ต้องฟังอีกสักสองรอบ เหมือนเจอการพูดคุยที่ตามหามานาน ถ้ามีกิจกรรมอย่าง จิบชา ถกปรัชญา อะไรแบบนี้คงดีนะคะ อยากคุยด้วยค่ะ ป.ล. ช่วงท้ายที่พูดถึงการมีบางอำนาจ บางกลุ่มที่ทำให้เราได้รับข้อมูลบางอย่าง จดจำกลายเป็นความทรงจำ จนหล่อหล่อมตัวตนเราขึ้นมา อยากรู้ว่า มันมีกระบวนการหรือเครื่องมืออะไรบางอย่างที่จะทำให้เราฉุกคิดหรือคัดกรองความรู้ เรื่องราว ประวัติศาสตร์ ก่อนที่มันจะกลายมาเป็นความทรงจำ แล้วหล่อหลอมตัวเราที่อาจจะดีขึ้นบ้างไหมคะ?
ไม่มี แค่เราต้องตระหนักรู้เอาเอง เพราะเมื่อ วาทะกรรม จัดระเบียบร้อยเรียงมาแล้ว ถูกรับรู้แล้ว มันจะส่งผลเป็นลูกโซ่
มี สิ่งนั้นคือ กาลามสูตร
เราทุกคนล้วนสำคัญตนว่าตัวเองนั้นยู่เพื่อทำคุณประโยชน์ เป็นหัวหน้าครอบครัว เป็นคนสำคัญมีตำแหน่งมีอำนาจ ตำแหน่งและอำนาจที่ครอบครัวและสังคมให้เรามานั้นเพราะเขาเห็นคุณค่าในตัวเราวางใจให้เราทำประโยชน์สร้างคุณค่า จนเราสำคัญตนมากหลายครั้งที่ล่วงละเมิดตัดสินพิพากษาผู้อื่น ด้วยจิตใจที่เอียนเอียงนั้น ว่าด้วยตนสำคัญสุด แท้ที่จริงทุกคนทุกสิ่งอย่างล้วนเกิดมาเพื่อช่วยเหลือเพื่อทำประโยชน์ เพียงเท่านี้
Epนี้ ฟังแล้วชวนคิดมาก สนุกดีค่ะ ฉันเป็นร่างกาย ความเชื่อ ประสบการณ์ ความคิด การกระทำ ที่อาจเปลี่ยนแปลงไปได้เรื่อยๆ ขอบคุณค่ะ❤❤❤
43:45 ก่อนที่จะไปกินเหล้า ตัวตนที่ยังไม่กินเหล้าเป็นคนตัดสินใจกินครับดังนั้นเราจึงต้องใช้กฎหมายกับตัวตนที่ยังไม่กินเหล้าด้วย
ชอบมากครับคำถามดูง่ายๆ แต่ลึกซึ้งส่วนตัวคิดว่า ตัวตน ในทางกฎหมาย อาจจะพูดถึง ชื่อ สกุลบัตรประจำตัวประชาชน แผลเป็นคิ้วซ้าย ผ่านเรียน รด แล้วเป็นคนเมืองไหนในทางกายภาพ คงพูดถึง รูปร่าง หน้าตาน้ำหนักส่วนสูง ก็เปลี่ยนแปลงไปเยอะอยู่นะตอนนี้ กับ ตอนเด็กๆ 55ในทางทางประสบการณ์ น่าจะพูดถึง งาน สังคม Life style ครอบครัวชอบวิ่ง ชอบร้องเพลง มา drip กาแฟ กันเถอะในมุม อัลไซเมอร์ คิดว่า น่าจะเป็น คนละ ตัวตน กันครับ
"ตัวตนของคุณที่ว่าเป็นภาพลวงตา คุณสร้างเอง"พี่ภาคินพูดมาตอนจบ ผมนี้หน้าตึงเหมือนฟางเลยครับ55.....สิ่งที่ไม่เปลี่ยนไปจากตัวตน คือความชอบรึเปล่าครับแต่มันก็ถูกหล่อหลอมมาในตอนเด็กเหมือนกันผมคือชายใส่แว่นร่างสูงที่ตอนนี้เป็นคนพิการทางสมอง คล้ายๆอาการของสตีเฟน ฮอว์กิงแต่ยังไม่หนักแบบภาพจำเขาในรูป ผมชอบเกมและการ์ตูนเดินไม่ได้ ไถ่รถเอาแบบ ฮอว์กิงผมยังพอใช้มือได้และยังมีความคิดเป็นของตัวเองก็พยายามดิ้นกับขีวิต โดยมีที่บ้านคอยช่วยตอนเด็กก็ๆวาดการ์ตูนเรื่อยมาจนวาดได้ดีกว่าคนทั่วไปแต่ก็ไม่เก่งอะไร จนอาการสมองฝ่อเริ่มมาตอนมหาลัยและหนักเริ่อยๆจนทำงานไม่ได้ แต่ก็ตอนเรียนจบพอดีโดยที่ทางบ้านมีประวัติ สมองฝ่อ จนเห็นพ่อค่อยๆเป็นจนเขาออกจากงานแล้วเคลื่อนไหวได้น้อยเรื่อยๆเหมือนเห็นสปอยมาเสมอว่าจะเป็นยังไง จนเขาหายไป ตอนผมอยู่มหาลัยตัวผมตอนเด็กเคยตกจากที่สูงจนบาดเจ็บหนักที่หัวเลยคิดว่าเหตุการนั้นเป็นใบเบิกทางให้สมองฝ่อ หรือเพราะกรรมพันธ์กันแน่ตอนนี้ผมคิดว่าไม่กลัวอะไรนอกจากการหายไปหรือความตายผมคิดว่าเราน่าจะถูกขับเคลื่อนด้วยตวามอยาก ความต้องการ ความฝันในตอนนี้รึเปล่าครับ ที่มันเปลี่ยนแปลงเสมอตามเวลา อย่างตอนเด็กที่อยากเป็นนักวาดตัวตึงของไทย ที่ญี่ปุ่นยอมรับตอนนี้ ผมก็ดิ้นรนกับชีวิตในจังหว่ะของตัวเอง และอยากมีร้านหนังสือการ์ตูน✨
❤
เป็นกำลังใจให้นะคะ ❤
ผมเคยเชื่อและศรัทธาบางเรื่องอย่างสุดโต่ง แต่เวลาผ่านไป รับรู้มากขึ้น ก็ความคิดกลับขั้วในเรื่องนั้นครับ หมดศรัทธากับบางเรือง
ไม่เชื่ออะไรเลยดีเหมือนกันครับ
เป็นคำถามท้ายคลิปที่ยากที่สุดเลย 😂เราคือใครหรอ พอฟังจบคลิป ยังหาคำตอบที่แบบชัดๆไม่ได้เลย ร่างกายก้ไม่ใช่ เหลือแค่จิตวิญญาณ ที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าคนเรามีไหมนี้สิครับ
เป้าหมายของชีวิตของมนุษย์ เป็นสิ่งสมมติ แมวก็ไม่มีเป้าหมายชีวิตก็ยังเป็นแมว
นึกถึงหนังเกาหลี wonderland เลยค่ะ เมื่อเราตายไปแล้ว ระบบเอาชีวิตและความทรงจำของเรามาใส่ในAI แล้วให้ตอบสนองต่อคนที่คุยด้วยแทนตัวเรา ชวนให้คิดว่า จริงๆแล้ว AI ตัวนั้น ยังเป็นตัวตนของเรามั้ย ... ชอบรายการนี้ค่ะ ชวนให้คิด หลายep ช่วยปลดล็อคอะไรที่ค้างๆในใจได้หลายเรื่อง สนุกจังค่ะ ทำมาเรื่อยๆนะคะ
ไม่เป็นแน่นอน เพราะความทรงจำในอดีต เป็นเหมือนการเล่นแผ่นเสียงซ้ำให้กับคนเดิมๆฟัง เอาง่ายๆ ถ้าคนที่คุณรู้จัก มีลูกหลังจากที่คุณตาย AI จะผูกพัน เด็กที่เกิดใหม่ว่าเป็นหลานได้ไม๊ ความรู้สึกแบบนี้ AI มีแล้ว จริงๆหรือ? 😅
EP. นี้ ดีๆๆๆๆ. มากกกกกก. ผมดูรอบสามแล้วครับ..ทั้งเนื้อหา ทั้ง flow ทั้งบุคคลิก ทั้งความเป็นธรรมชาติ 👍👍👍
เป็นคนที่ชอบตั้งคำถามกับสื่งต่างๆ พอเจอรายการนี้ ถูกจริตมากเหมือนนั่งฟังเพื่อนคุยกันเลย ของคุณมากนะคะ😊
EPนี้สนุก ชวนขบคิดมากๆ
ฟังไป คิดไป ชอบมาก ไม่คิดว่าวันนึงจะฟังอะไรแบบนี้แล้วเพลิน😂จากคนตื้นเขินคนนึงค่า
16:20 นึกภาพตามแล้วกวนโอ๊ยมาก555555555
ผมคิดว่า ตอนที่แล้วว่าน่าสนใจแล้ว ตอนนี้มันคือสุดยอดมากๆ ตั้งแต่หัวข้อเลยครับ
เหมือนหนังเกาหลีเรื่อง Wonderland เลยค่ะ สร้างตัวตนขึ้นมาเพื่อให้เราสามารถพูดคุยกับคนที่เสียชีวิตไปแล้ว แต่สุดท้ายสิ่งที่สร้างขึ้นก็ยังไม่สามารถแทนที่ ตัวตน ที่แท้จริงได้อยู่ดี ประเด็นนี้น่าสนใจดีมากค่ะ 👍🏻
EP นี้ deep มากกกกค่ะ ฟังไปคิดไปตั้งคำถามกับตัวเองไป
สิ่งเดียวที่ไม่เคยเปลี่ยนเลย คือความรู้สึกของ“การมีชีวิต” หรือ “รู้” ที่มีอยู่ตลอดเวลา เมื่ออยู่กับ “รู้” ที่ไม่เคยเคลื่อนหรือเปลี่ยนเลย จะเริ่มเห็นว่า “ตัวเรา” จะมีหรือไม่มีอยู่ตลอดเวลา แต่หากมีความอยากรู้อยากเข้าใจ จึงไปจ้องว่ามีเราไหม ก็จะรู้สึกว่ามีตัวเราตลอดเวลา เพราะ …มีเรากำลังจ้องอยู่ มีเจตตาเมื่อไหร่ก็มีเราเมื่อนั้น ต้องอาศัยการสังเกตุไปเรื่อยๆ จนพบว่า มีเราหรือไม่มีเรา เป็นสิ่งที่บังคับไม่ได้ … เห็นเมื่อไหร่ก็เลิกเมื่อนั้น
ขอบคุณสำหรับรายการดีๆที่ฟังตอนนึงได้นานๆ มีแต่เนื้อหาที่มีคุณภาพค่ะ
มองว่าตัวตนเราแยกจากกันด้วยสิ่งไหน ก็คือองค์ประกอบทั้งหมดที่เกี่ยวข้องของเรานั่นแหละ ชื่อ รูปลักษณ์ นิสัย ประสบการณ์ ฝาแฝดถ้าไม่แยกด้วยชื่อ คนก็แทบจะคิดว่าเป็นคนเดียวกัน รถที่หน้าตาเหมือนกัน แยกกันด้วยป้ายทะเบียนหรือชื่อคนขับบลาๆ อย่างดอกกุหลาบ ถ้ากลายเป็นพืชที่งอกดอกทรงดอกทานตะวันแต่เป็นสีแดงออกมาทั้งๆที่ต้นยังเป็นหนามอยู่ ก็จะไม่ใช่ดอกกุหลาบ เพราะขาดองค์ประกอบของความเป็นดอกกุหลาบที่มนุษย์นิยามไว้ในความคิดดั้งเดิม กลายเป็นสายพันธ์ใหม่แทน สุดท้ายถ้าทุกอย่างเหมือนกันหมด สมมติเป็นเซลล์ตับ มันก็จะต้องอาศัยการแยกกันด้วยตำแหน่งของเซลล์ในพื้นที่ของตับ มันมองที่องค์ประกอบโดยรวมของสิ่งนั้นๆ สุดท้ายถ้าองค์ประกอบทุกอย่างเหมือนกันหมด ก็คงจะเหลือแต่ตำแหน่งที่อยู่บนความเป็นจริงนี้ที่เราคงไม่สามารถเอามาซ้อนทับกันได้ ถ้านอกจากสิ่งเหล่านี้ มองว่ามันก็คือสิ่งเดียวกันไปเลย เช่นจำพวกหน่วยความจำในพื้นที่harddisk ทุกๆหน่วยของมันเราแยกไม่ได้ว่ามันคืออันไหน จนเราไม่ได้ให้ความสำคัญว่า1mbที่เราใช้บนharddisk มันคือ1หน่วย ณ ตำแหน่งไหนอยู่
เมื่อก่อนคิดว่าตัวเองเป็นตัวเอกในละคร คนอื่นๆเป็นผู้ร้าย โตมาค่อยเข้าใจว่าคนอื่นก็คือตัวเอกในชีวิต ในเรื่องราวของเขา แต่ละคนมีนิสัยที่ผสมปนเปกันไป ไม่สุดโต่งเหมือนในนิทาน
ฟังช่วงท้ายๆนึกถึงโฆษณาชวนเชื่อ
คิดเหมือนกันไหม b1
@@minhyukshii3190คิดเหมือนกันเลย b2
ผู้ที่มีอำนาจจะยัดความทรงจำให้คุณ ผมว่ามันใช่เลย
มนุษย์เป็นใคร มาจากไหน ตายไปแล้ว จะไปไหน คือคำถามคาใจที่ทุกๆคนอยากรู้.บ้างก็สนใจแสวงหาบ้างก็เหน็ดเหนื่อย . ต่อคำถามนี้ จิตใจของมนุษย์ไม่เคยอิ่มไม่เคยพอ กับคำตอบที่รับรู้มา เสมือนหนึ่งกินอาหารไม่อิม.อยู่ใต้ฟ้าเดียวกัน มองไปที่ขอบฟ้า มองเห็นภาพเม่เหมือนกัน.มันคือวังวนแห่งชีวีต ทีหาทางออกไม่ได้ เพียงแค่ ไม่เชื่อว่าพระเจ้า สร้างเรามา.วันหนึ่งข้างหน้า คุณจะเชื่อว่า พวกเขาสร้างเรามา ด้วยความขมขื่น.
ฟอเรสกั้มเคยพูดว่าผมไม่รู้ว่าคนเราต้องลิขิตชีวิตมั้ย(free will)รึว่าแค่ล่องลอยไปตามลมเท่านั้น(Determinism)แต่ผมว่ามันน่าจะถูกทั้งคู่อาจเป็นได้ทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน(compatibilism) ผมคิดถึงคุณนะเจนนี่(Perception)
รายการนี้มันดีมากๆๆๆ อยากให้แมสจริงๆ
ชอบ ep.นี้ ขอบคุณมากครับ
ลึกดีอ่ะ ชอบๆๆๆ❤
ตัวตนของคุณ คือ ร่างกาย อวัยวะ ปราสาทสัมผัส การรับรู้และความรู้สึกต่อสิ่งแวดล้อม และความทรงจำ ที่ร้อยเรียงโครงสร้างของกระแสปราสาททั้งที่อยู่ในโครงสร้างของสมอง และสารเคมีทั้งในสมอง และอยู่ในเซลทุกๆ เซลที่ยังคงเหลือรอดอยู่
เนื้อหาดี เป็นกำลังใจค่ะ😍😘
ฟังเพลินมากค่ะ ❤❤❤
ดูจบแล้วสนุกมากครับ
ชอบepนี้ครับ
ตัวตนของผมน่าจะเป็น ”เรื่องราว”มันเริ่มตั้งแต่ตอนผมเกิด และสิ้นสุดเมื่อตอนผมกลายเป็นฝุ่น
เส้นด้ายจำนวนมากที่มัดรวมกันจนกลายเป็นตัวตน ตามที่คุณภาคินอธิบาย ในทางพุทธศาสนา เรียกว่า สังโยชน์ ค่ะ
สังโยชน์คือเครื่องที่ผูกสัตว์ให้ติดกับโลกนี้
ถ้าจะหาสิ่งที่ไม่เหมือนคนอื่นคงเป็นไปไม่ได้ที่จะพูดกันง่าย ๆ มีแต่ต้องอธิบายยาวๆ แต่ถ้ามองข้ามเรื่องนั้นไป ผมว่าผมคือมนุษย์ที่เกิดมาเพื่อเรียนรู้โลกใบนี้แล้วก็จากไปโดยที่หวังว่าทุกคนจะใช้ชีวิตอย่างสงบสุขได้โดยไม่ต้องเบียดเบียนกัน แก่นผมมีแค่นี้เลย
”I think therefore i am“ เพราะฉันคิด ฉันจึงมีอยู่
การคิด อาจจะไม่ใช่การคิดก็ได้อาจจะเป็นแค่เหตุการณ์ให้คิด
เราคือ ส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง พิพัฒนาการ เราจะสร้างตัวตนของเรา สังคมของเราเอง ด้วย internet ผู้ควบคุมจะไม่สามารถปลูกฝังมายาคติได้อีกต่อไป
โหว ep นี้ทำให้คิดอะไรได้หลายอย่างเลย
ตัวตนที่ใครมองเหน ไม่เหนตัวตนเรา...ตัวตนเราที่มองเหน ไม่เหน๊ตัวตนใคร... สร้างวางตัวตนเปนก้อน ๆ รึการใด ๆ ความใด ๆ ต่าง ๆ ที่เปลี่ยนไปมา แบบใด... รึมีบางสิ่งจุดยืน ที่รู้ไม่รู้ ยังคงเดิม แม้จะอายุช่วงใด ยังคงเดิมเปนตัวตนแบบนั้น รึตัวตนที่เปลี่ยนบ่อยมาก เปลี่ยนมาก โดยไม่เหลือตัวตนเดิม รึในใจยังคงมี รึไม่มีตัวตนเดิม แบบใดเก่าเดิม ใหม่แทน รึผสมเก่าใหม่
จะตอบเรื่องตัวตน แต่ก็เหมือนจะได้ถอดดูความหมายของชีวิต และองค์ที่ประกอบรวมเป็นชีวิตและตัวตนของเราเลยครับ เรื่องธรรมดา สามัญ ที่ไม่ใช่จะเข้าใจได้ง่ายๆ เลย
❤❤❤ขอขอบคุณ🎉🎉 ทางทีมงาน The standard, พี่ภาคิน, และพี่ฟาง ที่ทำ Podcast ดีๆ เกี่ยวกับปรัชญาครับ 🎉// อยากให้พี่ๆ ทำเรื่องเกี่ยวกับ ❤“ความหมายของชีวิต (เกิดมาเพื่ออะไร)“ และ/หรือ 🎉“ความหมายงานการทำงาน (ทำงานไปเพื่ออะไร)”😊❤ซึ่งจะทำให้ทางช่อง The standard podcast และรายการ Short cut ปรัชญา เป็นที่รู้จักมากขึ้นไปอีก🎉 จากยอดวิว และยอดแชร์จากการทำคอนเทนต์ในหัวข้อที่เป็นสิ่งที่เป็นคำถามของทุกคน🎉😊ขอบคุณล่วงหน้าครับผม🎉 รู้สึกยินดีที่ได้แสดงความคิดเห็นครับ❤
ขอบคุณมากเลยครับ 'ทำงานไปเพื่ออะไร' มาแน่นอน เร็วๆ นี้ครับ 😆
@@pknnn ขอบคุณมากๆเลยครับ❤️🤩 จะรอติดตามทุกๆตอนต่อไปยาวเลยครับ👑
เป็นสิ่งที่น่าคิด น่าทึ่ง น่าจะนำมาใช้ ได้ในชีวิตประจำวัน
ยกให้เป็นตอนที่ฟังแล้วลึกที่สุดเลยคับ แต่ก็โคตรดีเหมือนเดิม55555
ชอบมากค่ะ❤❤❤❤❤❤
50:22 นึกถึง Concept ของหนัง Inception เลยครับ
สุดจริงepนี้
ผมเชื่อว่า "หน้าที่ที่ถูกต้อง"น่าจะใช้แทนคำว่าตัวตนได้ครับ ฟังหลวงพ่อพุทธทาส เพราะ ถ้ายึดทุกสรรพสิ่งบนโลกหรือจักรวาลของเราการที่จะดำรงอยู่ได้ทุกสิ่งมันพึ่งพาอาศัยกันและกัน ทุกสิ่งก็เลยต้องมีหน้าที่ของมันเองรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตตามที่มนุษย์นิยาม
เราใช้เกณฑ์ไหนมาวัดความถูกต้องล่ะครับ
เห็นหลวงพ่อบอกใช้หลัก "ตถตา" คือ ธรรมชาติ จะมี คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละอย่างไม่ว่า จะเป็นสิ่งมีชีวิต โลก หรือ เอกภพ ก็ตาม เช่น ดวงอาทิตย์ หน้าที่มันเฉพาะหลักของมันให้แสงสว่างและความร้อนและรังสีต่างๆ น้ำหน้าที่เฉพาะมันก็ให้ความร้อนได้และให้มากไม่แพ้ดวงอาทิตย์ แต่ต้องเอามันมาแยกสารประกอบ "แต่หน้าเฉพาะ"น้ำไม่ใช่ให้ความร้อน แต่คือ การ การให้ชีวิตและหล่อเลี้ยงชีวิตเป็นหลัก เกณฑ์ที่ใช้วัดคือมันต้องสอดคล้องกับชีวิตเราหน้าที่การงาน สิ่งที่เราชอบ สิ่งที่ถ่ายทอดมาจากพ่อแม่หรือบรรพบุรุษเรา ถ้าอยากจะย้อนและสาวลึกลงไปอีก ก็ใช้หลัก "อิทัปปัจจยตา"บวกกับ สมาธินิดหน่อย ก็คงรู้ได้ ทั้งหมดนี้ผมก็ฟังหล่วงพ่อมาครับ
@@ธรรมะคือความจริง เวลาบอกว่าอวัยวะในร่างกายมีหน้าที่ต่างๆผมพอเข้าใจมแต่บอกว่าดวงอาทิตย์มีหน้าที่ให้แสงสว่างนี่ผมไม่ค่อยเก็ต แสงสว่างในดวงอาทิตย์มันน่าจะเป็นผลพวงจากกระบวนการต่างๆในดวงอาทิตย์เอง มันไม่น่าจะมีหน้าที่ให้แสงสวางอะไรกับใคร แล้วอย่างเราเลี้ยงหมูไว้เป็นอาหาร หน้าที่ที่ถูกต้องของหมูคือเป็นอาหารของเราใช่ไหม
@@ธรรมะคือความจริง งี้เราต้องเป็นอนาธิปไตยแล้วครับ ไม่ต้องปกครองด้วยกฎหมาย แต่ปกครองด้วยกฎธรรมชาติแทน ผมชอบนะ 555
@@inntacho ขอบคุณครับที่ชอบ แต่จริงๆแล้วผมก็ยังไม่ค่อยเข้าใจสิ่งที่ผมพิมพ์ไปเลยครับผมแค่จำมาจากคลิปใน หลวงพ่อพุทธทาสใน you tube ครับ
ชอบความเล่าไปถามไปชวนคิดดีครับ เคสของเอล็กก็น่าคิด ทำให้มุมมองต่อคนความจำเสื่อมของผมเปลี่ยนไปเลย 😂ผมชอบขมวดตอนท้ายนะครับ ผมว่าการตระหนักถึงความไม่เที่ยงแท้ได้สม่ำเสมอ จะเปลี่ยนมุมมองเรามากๆเลย
ตัวตนของเรามีจริงหรือไม่ แล้วตัวตนเราในความทรงจำคนอื่นมีตัวตนจริงๆ หรือเปล่าในเมื่อคนอื่นก็มีการตีความ มีความทรงจำที่ไม่ใช่ ความทรงจำของเรา
ฟังไปฟังมา มันย้อนมาที่คำว่า"การรับรู้"
ฟังทีไรก็ต้องขมวดคิ้ว🤔 ชวนคิดดีมากๆค่าา
ตัวตนของเราเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่อาจจะเป็นก้อนรวมของความทรงจำที่ผ่านมา แต่เมื่อเราตายไปแล้ว ความหมายของตัวตนของเราจะเปลี่ยนเป็นเท่ากับความทรงจำของคนอื่นที่ยังจำเรื่องของเราได้ค่ะ
ฟังแล้วอยากให้ทางรายการ พูดถึงเรื่อง inside out เลยครับ เรื่องตัวตน เรื่องความรู้สึกต่างๆ
ผมเข้ามาดูแล้วนะแอดมิน
มันอยู่ที่เราจะนิยามตามบริบทหรือการรับรู้แบบไหนไหมคะ เช่นตัวตนตามสังคม // ถ้าลักษณะนามธรรม ตัวตนแบบจิตเดิมแท้ คำตอบมันก็จะออกมาอีกแบบนึง เคยอ่านเจอที่ไหนลืมแล้วค่ะ ให้เราเอาอาชีพ ชื่อนามสกุล ฐานะการเงิน ที่อยู่อาศัย ออกไปให้หมดและหาคำตอบให้ได้ว่า “เหลืออะไรอยู่” เมื่อลอกคราบทุกอย่างหมดแล้วนั่นแหละคือคำตอบ ✨🪐แต่ทุกวันนี้ ก็ยังตอบตัวเองไม่ได้นะคะแต่คิดกับตัวเองว่า ร่างกาย พฤติกรรมต่างๆ คือ end product ของสิ่งที่มองไม่เห็น รวมถึงปรัชญา นิยาม นามธรรม คุณค่าที่ยึดถือ ถูก expressionเป็นยัยคนนี้ 🪐😇
ขอบคุณนะคะ
ผมคือผมที่ถูกตัวตนในอดีตชักใยอยู่เบื่องหลังโดยไม่รู้ตัวอยากนะที่จะใช้ชีวิตตามที่ตัวตนปัจจุบันเป็นฝึกอยู่กับปัจจุบันทีละนิดทีละหน่อยละกัน 5555
ยกมือตอบครับความสามารถในการรับรู้ของตนเอง และ ความสามารถในการสร้างความรับรู้ให้กับผู้อื่น
ครับ🎉🎉
เราคือตัวตนที่คุณระลึกได้ ไม่ว่าคุณจะจำได้ว่าอย่างไร สิ่งนั้นล้วนเป็นเรา
ชอบ😊
นิยาม ฟางเป็นคนน่ารัก❤คนหนึ่ง😊
แลกเปลี่ยนความเห็นครับ พี่เพิ่งศึกษา การค้นพบของสิทธัตถะครับ คือ เริ่มจาก อายตนะภายนอกมากระทบอายตนะภายใน (พวกประตู6บาน หู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจอะครับ)แล้ววิญญาณก็จะรู้ (จิตรู้)แล้วสัญญาก็จะขุดอดีตมา แล้วสังขาร วิ่งไป ปรุงแต่งสร้างนามรูป เกิดเรื่องราว กระทบเกิดความรู้สึก แล้วเกิดตัณหา ยึดมั่นถือมั่น ถ้าตัวสติที่มีพลังก็จะดึงจิตหรือความคิดไม่ให้จมหรือตามไปกับตัณหา คือปล่อยให้มันดับไป วิธีฝึกคือใช้สติผูกยึดจิตให้อยู่กับการกระทำอะไรก็ได้กับร่างกายครับ แล้วสังเกตดูความคิดที่สังขารม้นสร้างแล้วดับไปครับ มันคือกฎธรรมชาติครับ ปล.ชอบมากครับ น้องฟาง น้องภาคิน ขอบคุณมากครับ
ตอนเด็กผมถูกปลูกฝังให้รัก แต่โตมามีความคิดได้มากขึ้น ประสบการณ์มากขึ้น เลยตั้งคำถามกับตัวเอง ทำไมเราต้องรักด้วย ทุกวันนี้เฉยๆ ไม่ยืนในโรงหนังอีกเลย
คิดว่า มีผู้คนคิดอย่างนี้มากขึ้น ยิ่งปัจจุบันเราปะทะกับข้อมูลที่สืบค้นได้สะดวก เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและในปริมาณมาก ไม่ใช่แค่รับจากวิทยุ หนังสือพิมพ์ เอกสารใบปลิว ที่ปั่นหัวง่าย เวลาอ่าน " The Prince" แล้วตั้งคำถามกับสิ่งที่ชอบหล่อหลอมกัน ก็น่าสนใจละ
ิชอบติดตามตลอด
รูปประธรรมนามธรรมถ้า่ปรัชญาตะวันตกเพราะฉันคิดฉันจึงมีอยู่ นึก+คิด=เกิดตัวตน
คิดว่าตัวตนในมุมของการรับรู้มีอยู่2ส่วน ส่วนแรกคือส่วนที่เรารับรู้ตัวเราเองและส่วนที่สองคือตัวตนที่คนอื่นรับรู้หรือมองเห็นตัวเรา AI กำลังทำงานกับส่วนที่สองนี้ และวันนึงมันอาจทำสำเร็จ คงมีแต่เราที่รู้ว่านั่นไมใช่ตัวตนของเราคิดแล้วก็อยากกลับไปดูหนังเรื่อง Wonderland กับ The matrix อีกซักรอบ
คิดถึง ความเป็นไทย
ถ้าอัตตา คือ สิ่งที่ไม่เป็นอย่างอื่น ถ้างั้นสิ่งเที่ยง ก็คือ อัตตา นั่นเอง ก็ไม่แปลกใจหรอกที่พระพุทธเจ้าจะสอนว่า ขันธ์ ๕ ไม่ใช่อัตตาของเรา (อนัตตา) ส่วนเมื่อถามว่าแล้วอะไรคือ ฉัน ก็เห็นตอบได้อยู่แล้วว่าไม่มีอะไรเลยที่เป็นฉันเลย หลายครั้งคนที่ไม่ได้ศึกษาคำสอนของพระพุทธศาสนาก็จะหลงผิดว่าขันธ์บางอย่างเป็นฉัน แต่เมื่อถามลงไปลึกจริงๆ ก็จะเห็นว่ามันไม่ใช่ฉันเลย แต่การอยู่ในโลกมันมีภาษาใช้สื่อสาร เขาก็สมมตินามขึ้น (ชื่อ) เพื่อให้รู้เข้าใจทั่วกันได้ในหมู่ชน เช่น เพราะทั้ง ๕ ขันธ์ประกอบกันนาม (ชื่อ) ทั้งหลายก็เกิดขึ้นเป็นภาษาว่านั้น ฉัน, คุณ, เขา ฯลฯ ทั้งนี้มันก็เพื่อสื่อสารกันได้ง่ายกว่าการเรียกว่า สัตว์ อะไรก็สัตว์ เมื่อคุยกันมันจะรู้เรื่องยากก็ให้นาม (ชื่อ) กันไป อาจเพื่อใช้เรียกขาน เรียกใช้งาน บ่งชี้ได้ ทำประโยชน์ได้ ฯลฯ เช่น สัตว์โดยส่วนใหญ่เกิดมาเราก็ให้ชื่อว่า แมว หมา นก หนู ฯลฯ โดยมีการระบุนาม (ชื่อ) เพิ่ม ในกรณีที่มีหลายตัวก็เพื่อใช้สื่อสาร ในพืชก็เหมือนกัน ก็ให้ชื่อไปต่างๆ จัดหมู่ จัดสปีชีส์กันไป แม้นคนก็ไม่ต่างจะเรียกคนๆ มันก็ดูไม่เท่ห์เอาซะเลย แล้วก็เกิดการยึดถือนาม (ชื่อ) ทั้งหลายว่าเป็นฉัน คุณ เขา ฯลฯ ไปแทน จนมีการเปลี่ยนนาม (ชื่อ) เพราะเห็นว่ามันยังไม่ใช่ฉัน ท้ายสุดจะเห็นว่า มนุษย์อยากมีสุข ยั้งยืน ในหลายๆ เรื่อง คือ เห็นว่า เรา เป็น สิ่งเที่ยงไปอีกเช่นเดียวกัน ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตที่มีสติปัญญา ย่อมสะดุ้งกลัวต่อความไม่เที่ยงกันทั้งนั้น ก็เลยแสวงหากันไปต่างๆ ตามความน่าเพลิดเพลินเหล่านั้น เช่น ชอบแสวงหาความยั้งยืน มั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลง และยังจะไม่ยอมรับรู้ความจริงอีก
มาดูคุณ ฟาง ครับ น่ารักดี😊
มนุษย์รับรู้ทุกสิ่ง ผ่าน "รูป รส กลิ่น เสียง กายสัมผัส ใจนึก".สิ่งที่แยกและทำให้เราจดจำได้ ว่าอะไร คืออะไร คือ "ส่วนผสม" ของการรับรู้ทั้ง6 ซึ่งมันละเอียดอ่อนมากแม้แต่แก้วกาแฟแบบเดียวกัน โรงงานเดียวกัน ถ้าเราตั้งใจพิจารณามันดีๆ แต่ละใบ ให้ความรู้สึกกับเราที่แตกต่างกัน.คำตอบที่ว่า เราคือใคร? เราคงเป็นข้อสรุปของการรับรู้ทั้ง6 ที่เปลี่ยนแปลงได้ ไม่คงทน ไม่หยุดนิ่ง
เทปหน้าขอให้พี่ภาคินลองแต่งตัวใส่วิคละเลียนแบบการแต่งกาย น้ำเสียง การพูดแบบคุณฟาง แต่คุยในท็อปปิคปรัชญาแบบเดิม น่าสนใจเลยนะว่ามั้ย 😅
ฉันคือประสบการณ์และจิตสำนึกของฉัน
ช่วงนี้ผมก็คิดอะไรทำนองนี้บ่อยมากเลยครับ เผอิญได้มีโอกาสอ่านงานของท่าน พุทธทาสภิกขุ หนังสือเรื่อง “คู่มือมนุษย์” อ่านไปแค่บางส่วนมันค่อนข้างสั่นคลอนมากในช่วงแรกที่ว่าสิ่งต่างๆล้วนเป็นภาพลวงตา การยึดมั่นถือมั่นในสิ่งต่างๆทำให้เกิดทุกข์ มันก็ตีกันในหัวด้วยความที่ผมอาจจะอ่านงานแค่บางส่วน บางส่วนก็ยังไม่กล้าอ่านเพราะแอบกลัวว่า สิ่งที่เรายึดถือไว้เป็นตัวตนของเรามันไม่จริงเลยหรอ แต่พอปรับจูนความคิดได้นิดหน่อยไอ่เรื่องตัวตนที่ว่าก็ค่อนข้างมีประโยชน์เลยครับช่วยให้มองสิ่งต่างจากเดิมมากมาย และยิ่งฟังอีพีนี้มันช่วยปลดล็อคเรื่องของ ต่อให้ตัวตนเรามันอาจจะไม่มีที่ให้ยึดจับขนาดนั้นแต่คำว่าตัวตนของเรามันก็มีบริบททางสังคมที่เราอยู่ซึ่งมันเป็นสิ่งที่ตัวเรา involved อยู่ซึ่งเราหรือตัวตนของเราอาจจะมีความสามารถในการสร้างความทรงจำดีๆไว้ให้กับสังคมแวดล้อมตัวเราได้บ้าง
ชอบฉากหลังนะ.. ดูแล้ว รู้สึกหลอนดี..😢😮
เป็นEp ที่ได้ฟังแล้วถามคำถามตัวเองเยอะอยู่ ซับซ้อนมากกก แต่อย่างนึงที่ฟังแล้วพอเข้าใจคือ ไม่มีใครรู้สึกเหมือนที่เรารู้สึก แล้วเราก็คงไม่วันรู้สึกเหมือนที่คนอื่นรู้สึก ทั้งๆที่เป็นเรื่องเดียวกัน นั้นคงทำให้เป็นตัวเราแล้วละ
ใช่เลยครับ แถมเราคนเดียวกันนี้ ถ้าลืมทุกอย่างที่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้านี้ไปหมด ยังอาจไม่มีทางรู้สึกเหมือนเราคนเดิมที่ยังจำทุกอย่างที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้ได้ อีกต่างหาก 🥲😅
และนี่เป็นเหตุผลว่าทำไม หุ่นยนต์มันถึงจะฉลาด ai+กับความทรงจำและประสบการณ์ของคนนั้น เอามาผสมร่วมกัน แล้วย้ายเข้าไปในร่างใหม่ ที่เราอยากจะได้ ai มันไม่ได้น่ากลัว มนุษย์ด้วยกันเนี่ยแหละที่น่ากลัว
ตัวเรา คือ ความรู้สึก(ประสาทสัมผัส) เมื่อไม่รู้สึก ก็ ไม่ใช่ เรา..
เรียกว่าตัวตน (ไม่นับตามพุทธ) = ค่าประสบการณ์ เทียบเหมือนตัวละครในเกม MMORPG เก็บค่าประสบการณ์ อัพ level เรียนรู้ Skill จนกว่าจะลบตัวละครไหมครับ
นักสร้างคอนเทนต์หรือสื่อต่างๆจริงๆแล้ว ก็เป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ถูกควบคุมและสร้างตัวตนเอาไว้ในแต่ละวันเหมือนกันนะ จะเป็นตัวตนที่ถูกสร้างอีกรูปแบบหนึ่งในลักษณะการทำซ้ำวนๆ
00:00 Highlight
00:41 เราคือใครในทางปรัชญา
05:04 เราเปลี่ยนไปแล้วยังเป็นคนเดิมไหม
10:39 การทดลองทางความคิด
22:34 แนวคิดว่าสิ่งภายนอกคือเรา
23:23 แนวคิดเรื่องตัวตนของ เดวิด ฮิวม์
32:59 แนวคิดเรื่องตัวตนของ จอห์น ล็อก
44:43 ทำไมเราต้องหาคำตอบว่าตัวตนคืออะไร
52:36 คำถามทิ้งท้าย
เวลาจะคอมเม้นคลิปรายการนี้ทีไร สิ่งที่เกิดขึ้นคือ พิมพ์แล้วลบ ลบแล้วพิมพ์ วนไปวนมาอยู่นั่นแหละ
พอหยุดพิมพ์แล้วกลับมาอ่านที่ตัวเองเขียน ปรากฎว่า ไม่รู้เรื่องอยู่ดี 55555
ชอบรายการนี้มากกกๆๆ เพราะมันทำให้ความคิดของเราสนุกมากขึ้นไปอีก
ผมนึกถึงปรัชญา “เรือของทีซิอุส” ที่ถามว่า ถ้าเรือถูกซ่อมแซมและเปลี่ยนชิ้นส่วนไปเรื่อยๆ จนในที่สุดไม่มีชิ้นส่วนเดิมเหลืออยู่เลย เรือยังจะเป็นเรือลำเดิมหรือไม่
เหมือนกันกับชีวิตเรา เรามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นความคิด ประสบการณ์ หรือสิ่งรอบตัว แต่สุดท้ายเราก็ยังเป็น “เรา” อยู่ดี น่าสนใจว่าแม้ทุกสิ่งทุกอย่างเปลี่ยนไป เราก็ยังคงมีตัวตนที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ดังนั้น ความเป็นตัวเราอาจจะไม่ใช่แค่ชิ้นส่วนหรือประสบการณ์ที่เราผ่านมา แต่เป็นสิ่งที่เราเลือกที่จะเป็นในปัจจุบัน
เรือของทีซิอุสนี่เป็นเรื่องแรกๆ ที่ผมคิดถึงเหมือนกันตอนเตรียมเนื้อหาครับ แต่สุดท้ายตัดสินใจตัดออกไปก่อน เดี๋ยวเก็บไว้ทำ shorts แยกดีกว่า ขอบคุณสำหรับไอเดียฮะ 😆
@@pknnnยินดีมากๆ เลยครับ ตื่นเต้นมากเลยครับ อยากรู้แล้วว่าพี่ภาคินมองปรัชญาเรื่องนี้อย่างไรครับ 😆
(ตื่นเตันกับปรัชญา พูดไปจะมีใครเชื่อไหมครับเนี่ย 5555)
@@JumpTaeyeon มิลินทร์ปัญหา มองคล้ายกันแต่เป็นรถ แต่สรุปออกมาไม่มี “เรา” เพราะทุกสิ่งก่อเกิดขึ้นมาและเปลี่ยนแปลงไม่มีแม้เอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะไม่มีตัวตั้งแต่แรก
@@nattawutkongsutthi6178 ใช่เลยครับ เป็นแนวคิดคล้ายๆ กันในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกันมากๆ จากสองวัฒนธรรมที่อาจจะไปมาหาสู่กันอยู่บ้างนะครับ 🙂
+1
ชอบมากค่ะ ถูกใจมาก นี่เป็นคนๆหนึ่งที่ออยู่แบบไม่เข้าสังคม ไม่มีเพื่อนฝูงที่พูดคุยบ้าๆแบบนี่ได้ แต่เราชอบนั่งคุยกับตัวเอง มันเหมือนคนบ้านะคะ แต่เราทำแล้วเหมือนได้รู้จักตัวเองมากขึ้น…. ตัวตนของเราเป็นคนรัก เพื่อน ครอบครัว อาจารย์ มันคือธรรมชาติ มันอาจเป็นภาพลวงตาแต่ก็ไม่ใช่ เรารู้สึกว่าคนๆนั่น อยู่ในตัวเรา คอยปลอมโยนและเติบโตไปพร้อมๆกับเรา ทุกความทรงจำที่เจ็บปวด น่ากลัว เลวร้าย จนหนทาง ผสมกับความสุขเล็กๆน้อย ความสบายและปลอดภัย … ตัวตนของเราก็คือตัวเราในปัจจุบันค่ะ ไม่ว่าจะเป็นอดีย อนาคต ปัจจุบัน เรามีแค่คนๆเดียวบนโลกความจริง ไม่แน่เราอาจเป็นเนื้อคู่ของตัวเอง แต่อยู่ในรูปของจิตวิญญาณ บ้างครั้งมันเงียบและปล่อยให้เราอยู่กับความจริงที่น่ากลัวเพียงลำพัง แต่เรามักสร้างตัวตนที่เข้มแข็งขึ้นเพื่อปกป้องตัวเองจากความคิดลบๆในตัวเรา หรือความเลวร้ายจากผู้อื่น มันคือการเรียนรู้และแก้ไขค่ะ //อินมากกกกก ชอบพอตแคสปรัชญามากค่ะ เหมือนเป็นสิ่งต่อเติมความหมายในชีวิตหนูเลย
โหผมอึ้งมากครับ เหมือนเป็นการปูพื้นทางสู่การทำความเข้าใจการถอนรื้อตัวตนฉบับปุถุชนก่อนจะศึกษาสติปัฏฐานสูตรเลย ทั้งพิจารณากายในกาย (ถอดรื้ออวัยวะแต่ละส่วนที่มันประกอบสร้างตัวตนหรือกายของเรา แต่ถ้าแยกเอาสมองออกมาหนึ่งก้อน หรือแยกเอาจมูกออกมา สมองนั้นก็คงจะไม่เรียกว่าเรา จมูกนั้นก็ไม่ใช่นาย ก นาย ข หรือใคร แต่คือจมูก) พิจารณาเวทนาในเวทนา (ถอดรื้อความสุขความทุกข์โดยพิจารณาว่ามีสุขย่อมมีทุก เกิดและดับวนๆเวียนๆไปเสมอ) พิจารณาจิตในจิต (ถอดรื้ออารมณ์และความรู้สึก ความนึกคิดโดยพิจารณาเพื่อละทิ้งความทรงจำ/ประสบการณ์และสำนึก ที่ประกอบสร้างเป็นเราในบริบทของประสบการณ์) พิจารณาธรรมในธรรม(ถอดรื้อสำนึกที่ว่าทุกสิ่งมีอยู่นั้นย่อมเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไป)
ตอนนี้ค่อนข้างซับซ้อนเลยค่ะ คิดว่าอาจจะเพราะเกี่ยวกับเรื่อง mind ด้วย มันเป็น area ที่มีความเป็นวิทยาศาสตร์ค่อนข้างสูง กระบวนการการคิด การรับรู้ ความรู้สึก ความทรงจำ ฯลฯ แต่เราเชื่อว่าตัวตน (ถ้ามีอยู่นะ) ก็เป็นการผสมผสานระหว่าง body กับ mind แหละ เพราะอย่างที่คุณภาคิณอธิบาย สมองคนๆ นึงมันอยู่กับร่างกายเขามาตลอด ความใกล้ชิดแนบแน่นที่แต่ละคนมีกับ body ตัวเองนี่ทำให้เกิดความเชื่อ (or มายาคติ) ว่า นี่แหละคือชั้น (และแบบนั้น ที่ถูกใจเธอ 555) ถึงแม้เราจะรู้ว่าเซลล์ตายทุกวัน ในเชิงกายภาพร่างกายเราตายทุกวัน และความทรงจำเราก็เปราะบาง แก่แล้วก็เลอะเลือนด้วย แต่ whatever points ที่มันยังร้อยกันอยู่ (แบบ Locke ว่า) ก็ทำให้เราตระหนักว่านั่นคือ self ค่ะ
มีกรณีเรื่องฝาแฝดด้วยที่เราคิดว่าอาจจะเป็นตัวอย่างเรื่อง self ที่น่าสนใจ ความเหมือน (ทั้งกาย+ความคิด+การรับรู้เป็นคู่) ของฝาแฝดเป็นเรื่องที่ชวนคิดค่ะ ยิ่งถ้าลักษณะแฝดสยาม ยิ่งพีคเลย
เนื่องจากเราสนใจวรรณกรรม อีกเรื่องที่อยากเสนอคือนวนิยายเรื่อง Alice's Adventures in Wonderland โดย Lewis Carroll ค่ะ มีคำถามว่าฉันคือใคร เธอคือใคร แล้วขนาดตัว Alice เปลี่ยนไปเรื่อยๆ เอ ชั้นเป็นคนเดิมในตอนเช้ามั้ยนะ ถกเรื่อง self กันแบบฉ่ำมาก วรรณกรรมเด็กแบบใด 55
จริงครับ ประเด็นนี้คิดต่อได้ยาวๆ เลย มีเรื่องที่ตัดออกไปจากที่คิดไว้ทีแรกเยอะมากๆ สนุกมากสำหรับคนเนิร์ดในหลายวงการครับ 555
ปรัชญา เป็นการถกเถียง หาเหตุผลด้วยเหตุผล ความเข้าใจกันและกันทั้งในตนและผู้อื่น ซึ่งในหัวข้อ เราคือใคร ตัวตนเรามีอำนาจในตนแค่ไหน ทำให้ความเข้าใจต่อตนและผู้อื่นในสังคมมากขึ้น มีความเห็นอกเห็นใจกัน มองทุกสิ่งที่เชื่อมโยง ซึ่งการพูดคุยเชิงปรัชญาควรให้มีในการเรียนตั้งแต่ประถม จะเป็นประโยชน์มากทั้ง เด็ก เยาวชน
ขอบคุณทีมงาน และวิทยากร
ที่เอาเรื่องที่เราเหมือนมองข้าม มาตั้งคำถามได้อย่างต้องครุ่นคิด
ฟังตอนนี้แล้ว รู้สึกว่าตัวตนเราเป็นสายของบล๊อคเชน
แก้ หรือลืมที่บล๊อกไหน ก็ไม่ใช่ตัวเราทันที
สำหรับปัญหาในอดีต
ทางพุทธถึงไม่ได้ให้แก้ด้วยการลืม แต่ให้รู้ จำ และวางลงซะ
ตอนเด็กๆ ผมคิดมาตลอดเลยว่าไม่ใช่ตัวเองผมเป็นใครก็ไม่รู้และคนรอบข้างก็เป็นใครไม่รู้ เขาจะรู้สึกเหมือนเราและเขามีตัวตนจริงๆไหม พึ่งจะมารู้ว่ามีคนคิดเรื่องนี้มานาน แล้วรู้สึกสบายใจขึ้นว่าเราไม่ได้คิดไปเอง ตอนนั้นรู้สึกได้ว่าเหมือนเราแสดงหนังที่เราเข้าใจบทนั้นคนเดียว แล้วคนอื่นก็ต้องแสดงบทคนอื่น โคตรจะสับสนเลย
ผมชอบเป็นตอนนั้งเหม่อ รู้สึกว่าตัวตนของเราว่างปล่าว เหมือไม่เคยรู้จักคนรอบข้างกับตัวเองเลย เหมือนว่าเราเป็นใครก็ไม่รู้
ปรัชญาโตตรดีเลยยย หลายๆอย่างที่เคยมีคำถามในใจ ก็ปลดล็อคได้ด้วยการฟังอะไรแบบนี้ การฟังปรัชญา
ขออนุญาตเสนอว่าให้ทำคลิปแยกมาตอบคอมเมนว่าคนมีความคิดเห็นยังไง เวลาก่อนจบรายการมักจะฝากคำถาม แต่คนดูไม่รู้เลยว่าได้อ่านยัง ให้คำคลิปแยกมานั่งอ่านคอมเมนไปเลยครับ สนุกดี
ขอบคุณมากครับ จะลองไปหารือกับทีมเรื่องนี้ดู แต่มายืนยันว่า เราอ่านคอมเมนต์ที่ตอบคำถามทุกอัน โดยเฉพาะอันยาวๆ ครับ ส่วนตัวชอบเป็นพิเศษ รู้สึกเหมือนตรวจข้อสอบ 55555
ชอบช่อง ปรัชญา มากๆๆ ยิ่งฟังยิ่งค้นหาตัวเองเจอ หาคำตอบให้ตัวเองในหลายๆอย่าง
ชอบมากค่ะ 🙏🏻 คิดเรื่องแบบนี้อยู่ตลอดเลย และได้ประโยชน์จากมันอยู่เสมอ ดีใจที่มีรายการแบบนี้ค่ะ
เรื่อง consciousness นี่มี thought experiment อันนึงของ Parfitt ที่ไปไกลกว่าการ upload สมองเข้าสู่ระบบ digital คือ สมมติว่า teleportation มีอยู่จริง และทำงานโดยการแยกชิ้นส่วนตัวเราออก แล้วประกอบขึ้นใหม่ที่ปลายทางด้วยสสารใหม่ แต่ทุกอย่าง continue ก่อนเข้าเครื่องคิดว่าเย็นนี้จะกินข้าวผัด ออกจากเครื่องกลับถึงบ้านสั่งข้าวผัดมากิน ตื่นเช้าไปทำงานตามปกติ คำถามคือสิ่งมีชีวิตที่ปรากฎขึ้นที่ปลายทางคือเราหรือไม่ หรือเราตายไปแล้วตั้งแต่ต้นทาง
ถ้าเอาตาม Parfitt เค้าก็จะบอกว่าตัวเราไม่ได้เดินทางกลับบ้าน แต่ถูกสร้างขึ้นใหม่ที่ปลายทาง ซึ่งไม่ได้ต่างไปจากการที่ร่างกายผลัดเปลี่ยนเซล หรือการที่ตอนเด็กๆ เราเคยไม่ชอบกินข้าวผัด ตัวเราเมื่อวานตายไปแล้ว แต่มีบางส่วนที่หลงเหลือมาเป็นเราในวันนี้ ทั้ง physicality และ mentality ไม่ว่าจะเป็นสถานะทางสังคม ความสัมพันธ์ ความรู้สึก ความเชื่อ ความชอบ เป็นแนวคิดคล้ายๆ ของ Locke ซึ่งในกรณีนี้ก็คงจะตอบว่ามันก็คือตัวเรานี่แหละเพราะมัน continue กัน ต่างกันแค่ตรงที่ Locke จะเน้นที่ความทรงจำซึ่งมีประเด็นปัญหาว่าความทรงจำของคนเรามันไม่แน่นอน มันอาจะหายไป หรือถูกปรุงแต่งได้ง่าย
ส่วนถ้าเป็น Hume ก็คงจะตอบว่าสิ่งมีชีวิตที่ปลายทางไม่ใช่ตัวเรา เพราะความรับรู้มันจบลงไปแล้ว คำถามคือ 1. เริ่มขึ้นหรือจบลงนับจากตรงไหน ถ้าตอบว่า unconsciousness คือจุดตัด แล้วในทางวิทยาศาสตร์ที่บอกว่า sleeping state คือ unconscious state การที่เรานอนหลับแล้วตื่นขึ้นมาในตอนเช้า ถือว่าเรายังเป็นคนเดิมรึเปล่า แล้วแตกต่างอย่างไรกับการ teleport 2. ถ้าตัวเราจริงๆ ตายไปตั้งแต่ที่ต้นทาง หัวหน้างานสามารถบอกว่าจะไม่จ่ายเงินเดือนให้เราแล้วได้มั้ย
ขอบคุณค่ะ☺🌸
Story = ตัวตน
เพราะทุกคนมี Story ทุกคนจึงมีตัวตน คนแปลกหน้า คนไม่รู้จัก เรายังไม่รู้ Story ของเขา เขาจึงยังไม่มีตัวตน .. คนรู้จัก คนคุ้นเคย เรารู้ Story เขาแล้ว เขาจึงมีตัวตน ..
สัมผัสถึงการมีตัวตน คือสัมผัสทางความรู้สึก ที่ผ่านมาจากความทรงจำ เรื่องราวที่เคยผ่านมาด้วยกัน ความทรงจำที่เคยมีร่วมกัน แม้ไม่ได้ใกล้ขิดกัน แต่เขาก็ยังอยู่ภายในหัวใจ .. เคยคิดถึงใครไหม เคยรักใครอย่างสุดหัวใจไหม .. ??
กับใครบางคน มีตัวตนแค่ในความฝัน .. ก็พอแล้ว .. 🩵🩵🩵
ดวงจิต - จิตวิญญาณ - วิญญาณ นั้นแหละคือตัวตนของเรา
มองลึกลงไปในจิตใจ เราจะพบกับจิตวิญญาณของเรา ที่ล่อเลี้ยงด้วยจิตใต้สำนึกมาตั้งแต่เกิด
ผมเชื่อคำพูดนึงของศ.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์มากๆ
แกบอกประมาณว่า(ผมจำคำแม่นๆไม่ได้)คุณคือปากกา ผมคือปากกาคุณเขียนผมผมเขียนคุณเราเขียนซึ่งกันละกัน
❤ ว้าวมากค่ะ
ฟังจบแล้วคิดว่าตัวเองได้แนวคิดมาอย่างนึงคือ ถึงไม่รู้ว่าตัวตนเราคืออะไร แต่ตัวเราสามารถทำอะไรได้บ้างกับตัวตนนี้
สำหรับผม (มัลติเวิร์ส)
เรา คือ สิ่งประกอบสร้างของ กาลอวกาศ แต่ละฉากแต่ละเหตุการณ์ที่ผ่านไปของมัน เราก็จะถูกสร้างใหม่ ประกอบแล้วประกอบอีก นิยามแล้วนิยามอีก แต่ละฉากแต่ละฉาก ร้อยเรียงแตกแยกสายทานไปเรื่อยๆ มีความเป็นไปได้มากมายที่จะสามารถสร้างขึ้นใหม่ได้เสมอ
อิเล็กตรอนวิ่งไปมาด้วยความเร็วในห่วงเวลา สร้างฉากขึ้นมาไม่รู้จบ เราแทบจะไม่มีอยู่จริง ถ้าหาความจริงเราก็จะชนเพดานที่มองไม่เห็น
เรารู้แค่ว่า ฉาก ณ ฉากนี้ คือ เราที่อยู่ตรงนี้ แต่อดีตและอนาคต ไม่มีทางคือเราได้เลย คุณฟันธงแบบนั้นไม่ได้
สนุกมากค่ะ ต้องฟังอีกสักสองรอบ เหมือนเจอการพูดคุยที่ตามหามานาน ถ้ามีกิจกรรมอย่าง จิบชา ถกปรัชญา อะไรแบบนี้คงดีนะคะ อยากคุยด้วยค่ะ
ป.ล. ช่วงท้ายที่พูดถึงการมีบางอำนาจ บางกลุ่มที่ทำให้เราได้รับข้อมูลบางอย่าง จดจำกลายเป็นความทรงจำ จนหล่อหล่อมตัวตนเราขึ้นมา อยากรู้ว่า มันมีกระบวนการหรือเครื่องมืออะไรบางอย่างที่จะทำให้เราฉุกคิดหรือคัดกรองความรู้ เรื่องราว ประวัติศาสตร์ ก่อนที่มันจะกลายมาเป็นความทรงจำ แล้วหล่อหลอมตัวเราที่อาจจะดีขึ้นบ้างไหมคะ?
ไม่มี แค่เราต้องตระหนักรู้เอาเอง เพราะเมื่อ วาทะกรรม จัดระเบียบร้อยเรียงมาแล้ว ถูกรับรู้แล้ว มันจะส่งผลเป็นลูกโซ่
มี สิ่งนั้นคือ กาลามสูตร
เราทุกคนล้วนสำคัญตนว่าตัวเองนั้นยู่เพื่อทำคุณประโยชน์ เป็นหัวหน้าครอบครัว เป็นคนสำคัญมีตำแหน่งมีอำนาจ ตำแหน่งและอำนาจที่ครอบครัวและสังคมให้เรามานั้นเพราะเขาเห็นคุณค่าในตัวเราวางใจให้เราทำประโยชน์สร้างคุณค่า จนเราสำคัญตนมาก
หลายครั้งที่ล่วงละเมิดตัดสินพิพากษาผู้อื่น ด้วยจิตใจที่เอียนเอียงนั้น ว่าด้วยตนสำคัญสุด
แท้ที่จริงทุกคนทุกสิ่งอย่างล้วนเกิดมาเพื่อช่วยเหลือเพื่อทำประโยชน์ เพียงเท่านี้
Epนี้ ฟังแล้วชวนคิดมาก สนุกดีค่ะ ฉันเป็นร่างกาย ความเชื่อ ประสบการณ์ ความคิด การกระทำ ที่อาจเปลี่ยนแปลงไปได้เรื่อยๆ ขอบคุณค่ะ❤❤❤
43:45 ก่อนที่จะไปกินเหล้า ตัวตนที่ยังไม่กินเหล้าเป็นคนตัดสินใจกินครับ
ดังนั้นเราจึงต้องใช้กฎหมายกับตัวตนที่ยังไม่กินเหล้าด้วย
ชอบมากครับ
คำถามดูง่ายๆ แต่ลึกซึ้ง
ส่วนตัวคิดว่า ตัวตน
ในทางกฎหมาย อาจจะพูดถึง ชื่อ สกุล
บัตรประจำตัวประชาชน แผลเป็นคิ้วซ้าย ผ่านเรียน รด แล้ว
เป็นคนเมืองไหน
ในทางกายภาพ คงพูดถึง รูปร่าง หน้าตา
น้ำหนักส่วนสูง ก็เปลี่ยนแปลงไปเยอะอยู่นะ
ตอนนี้ กับ ตอนเด็กๆ 55
ในทางทางประสบการณ์
น่าจะพูดถึง งาน สังคม Life style ครอบครัว
ชอบวิ่ง ชอบร้องเพลง มา drip กาแฟ กันเถอะ
ในมุม อัลไซเมอร์ คิดว่า น่าจะเป็น คนละ ตัวตน กันครับ
"ตัวตนของคุณที่ว่าเป็นภาพลวงตา คุณสร้างเอง"
พี่ภาคินพูดมาตอนจบ ผมนี้หน้าตึงเหมือนฟางเลยครับ55
.
.
.
.
.
สิ่งที่ไม่เปลี่ยนไปจากตัวตน คือความชอบรึเปล่าครับ
แต่มันก็ถูกหล่อหลอมมาในตอนเด็กเหมือนกัน
ผมคือชายใส่แว่นร่างสูงที่ตอนนี้เป็นคนพิการทางสมอง คล้ายๆอาการของสตีเฟน ฮอว์กิง
แต่ยังไม่หนักแบบภาพจำเขาในรูป ผมชอบเกมและการ์ตูน
เดินไม่ได้ ไถ่รถเอาแบบ ฮอว์กิง
ผมยังพอใช้มือได้และยังมีความคิดเป็นของตัวเอง
ก็พยายามดิ้นกับขีวิต โดยมีที่บ้านคอยช่วย
ตอนเด็กก็ๆวาดการ์ตูนเรื่อยมาจนวาดได้ดีกว่าคนทั่วไป
แต่ก็ไม่เก่งอะไร จนอาการสมองฝ่อเริ่มมาตอนมหาลัย
และหนักเริ่อยๆจนทำงานไม่ได้ แต่ก็ตอนเรียนจบพอดี
โดยที่ทางบ้านมีประวัติ สมองฝ่อ จนเห็นพ่อค่อยๆเป็นจนเขาออกจากงานแล้วเคลื่อนไหวได้น้อยเรื่อยๆ
เหมือนเห็นสปอยมาเสมอว่าจะเป็นยังไง จนเขาหายไป ตอนผมอยู่มหาลัย
ตัวผมตอนเด็กเคยตกจากที่สูงจนบาดเจ็บหนักที่หัว
เลยคิดว่าเหตุการนั้นเป็นใบเบิกทางให้สมองฝ่อ หรือเพราะกรรมพันธ์กันแน่
ตอนนี้ผมคิดว่าไม่กลัวอะไรนอกจากการหายไปหรือความตาย
ผมคิดว่าเราน่าจะถูกขับเคลื่อนด้วยตวามอยาก ความต้องการ ความฝัน
ในตอนนี้รึเปล่าครับ ที่มันเปลี่ยนแปลงเสมอตามเวลา
อย่างตอนเด็กที่อยากเป็นนักวาดตัวตึงของไทย ที่ญี่ปุ่นยอมรับ
ตอนนี้ ผมก็ดิ้นรนกับชีวิตในจังหว่ะของตัวเอง และอยากมีร้านหนังสือการ์ตูน✨
❤
เป็นกำลังใจให้นะคะ ❤
ผมเคยเชื่อและศรัทธาบางเรื่องอย่างสุดโต่ง แต่เวลาผ่านไป รับรู้มากขึ้น ก็ความคิดกลับขั้วในเรื่องนั้นครับ หมดศรัทธากับบางเรือง
ไม่เชื่ออะไรเลยดีเหมือนกันครับ
เป็นคำถามท้ายคลิปที่ยากที่สุดเลย 😂
เราคือใครหรอ พอฟังจบคลิป ยังหาคำตอบที่แบบชัดๆไม่ได้เลย ร่างกายก้ไม่ใช่ เหลือแค่จิตวิญญาณ ที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าคนเรามีไหมนี้สิครับ
เป้าหมายของชีวิตของมนุษย์ เป็นสิ่งสมมติ แมวก็ไม่มีเป้าหมายชีวิตก็ยังเป็นแมว
นึกถึงหนังเกาหลี wonderland เลยค่ะ เมื่อเราตายไปแล้ว ระบบเอาชีวิตและความทรงจำของเรามาใส่ในAI แล้วให้ตอบสนองต่อคนที่คุยด้วยแทนตัวเรา ชวนให้คิดว่า จริงๆแล้ว AI ตัวนั้น ยังเป็นตัวตนของเรามั้ย
... ชอบรายการนี้ค่ะ ชวนให้คิด หลายep ช่วยปลดล็อคอะไรที่ค้างๆในใจได้หลายเรื่อง สนุกจังค่ะ ทำมาเรื่อยๆนะคะ
ไม่เป็นแน่นอน เพราะความทรงจำในอดีต เป็นเหมือนการเล่นแผ่นเสียงซ้ำให้กับคนเดิมๆฟัง เอาง่ายๆ ถ้าคนที่คุณรู้จัก มีลูกหลังจากที่คุณตาย AI จะผูกพัน เด็กที่เกิดใหม่ว่าเป็นหลานได้ไม๊ ความรู้สึกแบบนี้ AI มีแล้ว จริงๆหรือ? 😅
EP. นี้ ดีๆๆๆๆ. มากกกกกก. ผมดูรอบสามแล้วครับ..ทั้งเนื้อหา ทั้ง flow ทั้งบุคคลิก ทั้งความเป็นธรรมชาติ 👍👍👍
เป็นคนที่ชอบตั้งคำถามกับสื่งต่างๆ พอเจอรายการนี้ ถูกจริตมากเหมือนนั่งฟังเพื่อนคุยกันเลย ของคุณมากนะคะ😊
EPนี้สนุก ชวนขบคิดมากๆ
ฟังไป คิดไป ชอบมาก ไม่คิดว่าวันนึงจะฟังอะไรแบบนี้แล้วเพลิน😂
จากคนตื้นเขินคนนึงค่า
16:20 นึกภาพตามแล้วกวนโอ๊ยมาก555555555
ผมคิดว่า ตอนที่แล้วว่าน่าสนใจแล้ว ตอนนี้มันคือสุดยอดมากๆ ตั้งแต่หัวข้อเลยครับ
เหมือนหนังเกาหลีเรื่อง Wonderland เลยค่ะ สร้างตัวตนขึ้นมาเพื่อให้เราสามารถพูดคุยกับคนที่เสียชีวิตไปแล้ว แต่สุดท้ายสิ่งที่สร้างขึ้นก็ยังไม่สามารถแทนที่ ตัวตน ที่แท้จริงได้อยู่ดี ประเด็นนี้น่าสนใจดีมากค่ะ 👍🏻
EP นี้ deep มากกกกค่ะ ฟังไปคิดไปตั้งคำถามกับตัวเองไป
สิ่งเดียวที่ไม่เคยเปลี่ยนเลย คือความรู้สึกของ“การมีชีวิต” หรือ “รู้” ที่มีอยู่ตลอดเวลา เมื่ออยู่กับ “รู้” ที่ไม่เคยเคลื่อนหรือเปลี่ยนเลย จะเริ่มเห็นว่า “ตัวเรา” จะมีหรือไม่มีอยู่ตลอดเวลา แต่หากมีความอยากรู้อยากเข้าใจ จึงไปจ้องว่ามีเราไหม ก็จะรู้สึกว่ามีตัวเราตลอดเวลา เพราะ …มีเรากำลังจ้องอยู่ มีเจตตาเมื่อไหร่ก็มีเราเมื่อนั้น ต้องอาศัยการสังเกตุไปเรื่อยๆ จนพบว่า มีเราหรือไม่มีเรา เป็นสิ่งที่บังคับไม่ได้ … เห็นเมื่อไหร่ก็เลิกเมื่อนั้น
ขอบคุณสำหรับรายการดีๆที่ฟังตอนนึงได้นานๆ มีแต่เนื้อหาที่มีคุณภาพค่ะ
มองว่าตัวตนเราแยกจากกันด้วยสิ่งไหน ก็คือองค์ประกอบทั้งหมดที่เกี่ยวข้องของเรานั่นแหละ ชื่อ รูปลักษณ์ นิสัย ประสบการณ์ ฝาแฝดถ้าไม่แยกด้วยชื่อ คนก็แทบจะคิดว่าเป็นคนเดียวกัน รถที่หน้าตาเหมือนกัน แยกกันด้วยป้ายทะเบียนหรือชื่อคนขับบลาๆ อย่างดอกกุหลาบ ถ้ากลายเป็นพืชที่งอกดอกทรงดอกทานตะวันแต่เป็นสีแดงออกมาทั้งๆที่ต้นยังเป็นหนามอยู่ ก็จะไม่ใช่ดอกกุหลาบ เพราะขาดองค์ประกอบของความเป็นดอกกุหลาบที่มนุษย์นิยามไว้ในความคิดดั้งเดิม กลายเป็นสายพันธ์ใหม่แทน สุดท้ายถ้าทุกอย่างเหมือนกันหมด สมมติเป็นเซลล์ตับ มันก็จะต้องอาศัยการแยกกันด้วยตำแหน่งของเซลล์ในพื้นที่ของตับ มันมองที่องค์ประกอบโดยรวมของสิ่งนั้นๆ สุดท้ายถ้าองค์ประกอบทุกอย่างเหมือนกันหมด ก็คงจะเหลือแต่ตำแหน่งที่อยู่บนความเป็นจริงนี้ที่เราคงไม่สามารถเอามาซ้อนทับกันได้ ถ้านอกจากสิ่งเหล่านี้ มองว่ามันก็คือสิ่งเดียวกันไปเลย เช่นจำพวกหน่วยความจำในพื้นที่harddisk ทุกๆหน่วยของมันเราแยกไม่ได้ว่ามันคืออันไหน จนเราไม่ได้ให้ความสำคัญว่า1mbที่เราใช้บนharddisk มันคือ1หน่วย ณ ตำแหน่งไหนอยู่
เมื่อก่อนคิดว่าตัวเองเป็นตัวเอกในละคร คนอื่นๆเป็นผู้ร้าย โตมาค่อยเข้าใจว่าคนอื่นก็คือตัวเอกในชีวิต ในเรื่องราวของเขา แต่ละคนมีนิสัยที่ผสมปนเปกันไป ไม่สุดโต่งเหมือนในนิทาน
ฟังช่วงท้ายๆนึกถึงโฆษณาชวนเชื่อ
คิดเหมือนกันไหม b1
@@minhyukshii3190คิดเหมือนกันเลย b2
ผู้ที่มีอำนาจจะยัดความทรงจำให้คุณ ผมว่ามันใช่เลย
มนุษย์เป็นใคร มาจากไหน ตายไปแล้ว จะไปไหน คือคำถามคาใจที่ทุกๆคนอยากรู้.
บ้างก็สนใจแสวงหาบ้างก็เหน็ดเหนื่อย .
ต่อคำถามนี้ จิตใจของมนุษย์ไม่เคยอิ่มไม่เคยพอ กับคำตอบที่รับรู้มา เสมือนหนึ่งกินอาหารไม่อิม.
อยู่ใต้ฟ้าเดียวกัน มองไปที่ขอบฟ้า มองเห็นภาพเม่เหมือนกัน.
มันคือวังวนแห่งชีวีต ทีหาทางออกไม่ได้ เพียงแค่ ไม่เชื่อว่าพระเจ้า สร้างเรามา.
วันหนึ่งข้างหน้า คุณจะเชื่อว่า พวกเขาสร้างเรามา ด้วยความขมขื่น.
ฟอเรสกั้มเคยพูดว่า
ผมไม่รู้ว่าคนเราต้องลิขิตชีวิตมั้ย(free will)
รึว่าแค่ล่องลอยไปตามลมเท่านั้น(Determinism)
แต่ผมว่ามันน่าจะถูกทั้งคู่อาจเป็นได้ทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน(compatibilism)
ผมคิดถึงคุณนะเจนนี่(Perception)
รายการนี้มันดีมากๆๆๆ อยากให้แมสจริงๆ
ชอบ ep.นี้ ขอบคุณมากครับ
ลึกดีอ่ะ ชอบๆๆๆ❤
ตัวตนของคุณ คือ ร่างกาย อวัยวะ ปราสาทสัมผัส การรับรู้และความรู้สึกต่อสิ่งแวดล้อม และความทรงจำ ที่ร้อยเรียงโครงสร้างของกระแสปราสาททั้งที่อยู่ในโครงสร้างของสมอง และสารเคมีทั้งในสมอง และอยู่ในเซลทุกๆ เซลที่ยังคงเหลือรอดอยู่
เนื้อหาดี เป็นกำลังใจค่ะ😍😘
ฟังเพลินมากค่ะ ❤❤❤
ดูจบแล้วสนุกมากครับ
ชอบepนี้ครับ
ตัวตนของผมน่าจะเป็น ”เรื่องราว”
มันเริ่มตั้งแต่ตอนผมเกิด และสิ้นสุดเมื่อตอนผมกลายเป็นฝุ่น
เส้นด้ายจำนวนมากที่มัดรวมกันจนกลายเป็นตัวตน ตามที่คุณภาคินอธิบาย ในทางพุทธศาสนา เรียกว่า สังโยชน์ ค่ะ
สังโยชน์คือเครื่องที่ผูกสัตว์ให้ติดกับโลกนี้
ถ้าจะหาสิ่งที่ไม่เหมือนคนอื่นคงเป็นไปไม่ได้ที่จะพูดกันง่าย ๆ มีแต่ต้องอธิบายยาวๆ แต่ถ้ามองข้ามเรื่องนั้นไป ผมว่าผมคือมนุษย์ที่เกิดมาเพื่อเรียนรู้โลกใบนี้แล้วก็จากไปโดยที่หวังว่าทุกคนจะใช้ชีวิตอย่างสงบสุขได้โดยไม่ต้องเบียดเบียนกัน แก่นผมมีแค่นี้เลย
”I think therefore i am“
เพราะฉันคิด ฉันจึงมีอยู่
การคิด อาจจะไม่ใช่การคิดก็ได้อาจจะเป็นแค่เหตุการณ์ให้คิด
เราคือ ส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง พิพัฒนาการ เราจะสร้างตัวตนของเรา สังคมของเราเอง
ด้วย internet ผู้ควบคุมจะไม่สามารถปลูกฝังมายาคติได้อีกต่อไป
โหว ep นี้ทำให้คิดอะไรได้หลายอย่างเลย
ตัวตนที่ใครมองเหน ไม่เหนตัวตนเรา...
ตัวตนเราที่มองเหน ไม่เหน๊ตัวตนใคร...
สร้างวางตัวตนเปนก้อน ๆ
รึการใด ๆ ความใด ๆ ต่าง ๆ ที่เปลี่ยนไปมา แบบใด...
รึมีบางสิ่งจุดยืน ที่รู้ไม่รู้ ยังคงเดิม แม้จะอายุช่วงใด ยังคงเดิมเปนตัวตนแบบนั้น รึตัวตนที่เปลี่ยนบ่อยมาก เปลี่ยนมาก โดยไม่เหลือตัวตนเดิม รึในใจยังคงมี รึไม่มีตัวตนเดิม แบบใดเก่าเดิม ใหม่แทน รึผสมเก่าใหม่
จะตอบเรื่องตัวตน แต่ก็เหมือนจะได้ถอดดูความหมายของชีวิต และองค์ที่ประกอบรวมเป็นชีวิตและตัวตนของเราเลยครับ เรื่องธรรมดา สามัญ ที่ไม่ใช่จะเข้าใจได้ง่ายๆ เลย
❤❤❤ขอขอบคุณ🎉🎉 ทางทีมงาน The standard, พี่ภาคิน, และพี่ฟาง ที่ทำ Podcast ดีๆ เกี่ยวกับปรัชญาครับ
🎉
// อยากให้พี่ๆ ทำเรื่องเกี่ยวกับ
❤“ความหมายของชีวิต (เกิดมาเพื่ออะไร)“ และ/หรือ 🎉“ความหมายงานการทำงาน (ทำงานไปเพื่ออะไร)”
😊
❤ซึ่งจะทำให้ทางช่อง The standard podcast และรายการ Short cut ปรัชญา เป็นที่รู้จักมากขึ้นไปอีก🎉 จากยอดวิว และยอดแชร์
จากการทำคอนเทนต์ในหัวข้อที่เป็นสิ่งที่เป็นคำถามของทุกคน🎉
😊
ขอบคุณล่วงหน้าครับผม🎉 รู้สึกยินดีที่ได้แสดงความคิดเห็นครับ❤
ขอบคุณมากเลยครับ 'ทำงานไปเพื่ออะไร' มาแน่นอน เร็วๆ นี้ครับ 😆
@@pknnn ขอบคุณมากๆเลยครับ❤️🤩 จะรอติดตามทุกๆตอนต่อไปยาวเลยครับ👑
เป็นสิ่งที่น่าคิด น่าทึ่ง น่าจะนำมาใช้ ได้ในชีวิตประจำวัน
ยกให้เป็นตอนที่ฟังแล้วลึกที่สุดเลยคับ แต่ก็โคตรดีเหมือนเดิม55555
ชอบมากค่ะ❤❤❤❤❤❤
50:22 นึกถึง Concept ของหนัง Inception เลยครับ
สุดจริงepนี้
ผมเชื่อว่า "หน้าที่ที่ถูกต้อง"น่าจะใช้แทนคำว่าตัวตนได้ครับ ฟังหลวงพ่อพุทธทาส เพราะ ถ้ายึดทุกสรรพสิ่งบนโลกหรือจักรวาลของเราการที่จะดำรงอยู่ได้ทุกสิ่งมันพึ่งพาอาศัยกันและกัน ทุกสิ่งก็เลยต้องมีหน้าที่ของมันเองรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตตามที่มนุษย์นิยาม
เราใช้เกณฑ์ไหนมาวัดความถูกต้องล่ะครับ
เห็นหลวงพ่อบอกใช้หลัก "ตถตา" คือ ธรรมชาติ จะมี คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละอย่างไม่ว่า จะเป็นสิ่งมีชีวิต โลก หรือ เอกภพ ก็ตาม เช่น ดวงอาทิตย์ หน้าที่มันเฉพาะหลักของมันให้แสงสว่างและความร้อนและรังสีต่างๆ น้ำหน้าที่เฉพาะมันก็ให้ความร้อนได้และให้มากไม่แพ้ดวงอาทิตย์ แต่ต้องเอามันมาแยกสารประกอบ "แต่หน้าเฉพาะ"น้ำไม่ใช่ให้ความร้อน แต่คือ การ การให้ชีวิตและหล่อเลี้ยงชีวิตเป็นหลัก เกณฑ์ที่ใช้วัดคือมันต้องสอดคล้องกับชีวิตเราหน้าที่การงาน สิ่งที่เราชอบ สิ่งที่ถ่ายทอดมาจากพ่อแม่หรือบรรพบุรุษเรา ถ้าอยากจะย้อนและสาวลึกลงไปอีก ก็ใช้หลัก "อิทัปปัจจยตา"บวกกับ สมาธินิดหน่อย ก็คงรู้ได้ ทั้งหมดนี้ผมก็ฟังหล่วงพ่อมาครับ
@@ธรรมะคือความจริง เวลาบอกว่าอวัยวะในร่างกายมีหน้าที่ต่างๆผมพอเข้าใจมแต่บอกว่าดวงอาทิตย์มีหน้าที่ให้แสงสว่างนี่ผมไม่ค่อยเก็ต แสงสว่างในดวงอาทิตย์มันน่าจะเป็นผลพวงจากกระบวนการต่างๆในดวงอาทิตย์เอง มันไม่น่าจะมีหน้าที่ให้แสงสวางอะไรกับใคร แล้วอย่างเราเลี้ยงหมูไว้เป็นอาหาร หน้าที่ที่ถูกต้องของหมูคือเป็นอาหารของเราใช่ไหม
@@ธรรมะคือความจริง งี้เราต้องเป็นอนาธิปไตยแล้วครับ ไม่ต้องปกครองด้วยกฎหมาย แต่ปกครองด้วยกฎธรรมชาติแทน ผมชอบนะ 555
@@inntacho ขอบคุณครับที่ชอบ แต่จริงๆแล้วผมก็ยังไม่ค่อยเข้าใจสิ่งที่ผมพิมพ์ไปเลยครับ
ผมแค่จำมาจากคลิปใน หลวงพ่อพุทธทาสใน you tube ครับ
ชอบความเล่าไปถามไปชวนคิดดีครับ เคสของเอล็กก็น่าคิด ทำให้มุมมองต่อคนความจำเสื่อมของผมเปลี่ยนไปเลย 😂
ผมชอบขมวดตอนท้ายนะครับ ผมว่าการตระหนักถึงความไม่เที่ยงแท้ได้สม่ำเสมอ จะเปลี่ยนมุมมองเรามากๆเลย
ตัวตนของเรามีจริงหรือไม่ แล้วตัวตนเราในความทรงจำคนอื่นมีตัวตนจริงๆ หรือเปล่าในเมื่อคนอื่นก็มีการตีความ มีความทรงจำที่ไม่ใช่ ความทรงจำของเรา
ฟังไปฟังมา มันย้อนมาที่คำว่า"การรับรู้"
ฟังทีไรก็ต้องขมวดคิ้ว🤔 ชวนคิดดีมากๆค่าา
ตัวตนของเราเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่อาจจะเป็นก้อนรวมของความทรงจำที่ผ่านมา แต่เมื่อเราตายไปแล้ว ความหมายของตัวตนของเราจะเปลี่ยนเป็นเท่ากับความทรงจำของคนอื่นที่ยังจำเรื่องของเราได้ค่ะ
ฟังแล้วอยากให้ทางรายการ พูดถึงเรื่อง inside out เลยครับ เรื่องตัวตน เรื่องความรู้สึกต่างๆ
ผมเข้ามาดูแล้วนะแอดมิน
มันอยู่ที่เราจะนิยามตามบริบทหรือการรับรู้แบบไหนไหมคะ เช่นตัวตนตามสังคม // ถ้าลักษณะนามธรรม ตัวตนแบบจิตเดิมแท้ คำตอบมันก็จะออกมาอีกแบบนึง
เคยอ่านเจอที่ไหนลืมแล้วค่ะ ให้เราเอาอาชีพ ชื่อนามสกุล ฐานะการเงิน ที่อยู่อาศัย ออกไปให้หมดและหาคำตอบให้ได้ว่า “เหลืออะไรอยู่” เมื่อลอกคราบทุกอย่างหมดแล้วนั่นแหละคือคำตอบ ✨🪐แต่ทุกวันนี้ ก็ยังตอบตัวเองไม่ได้นะคะแต่คิดกับตัวเองว่า ร่างกาย พฤติกรรมต่างๆ คือ end product ของสิ่งที่มองไม่เห็น รวมถึงปรัชญา นิยาม นามธรรม คุณค่าที่ยึดถือ ถูก expressionเป็นยัยคนนี้ 🪐😇
ขอบคุณนะคะ
ผมคือผมที่ถูกตัวตนในอดีตชักใยอยู่เบื่องหลังโดยไม่รู้ตัวอยากนะที่จะใช้ชีวิตตามที่ตัวตนปัจจุบันเป็นฝึกอยู่กับปัจจุบันทีละนิดทีละหน่อยละกัน 5555
ยกมือตอบครับ
ความสามารถในการรับรู้ของตนเอง และ ความสามารถในการสร้างความรับรู้ให้กับผู้อื่น
ครับ🎉🎉
เราคือตัวตนที่คุณระลึกได้ ไม่ว่าคุณจะจำได้ว่าอย่างไร สิ่งนั้นล้วนเป็นเรา
ชอบ😊
นิยาม ฟางเป็นคนน่ารัก❤คนหนึ่ง😊
แลกเปลี่ยนความเห็นครับ พี่เพิ่งศึกษา การค้นพบของสิทธัตถะครับ คือ เริ่มจาก อายตนะภายนอกมากระทบอายตนะภายใน (พวกประตู6บาน หู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจอะครับ)แล้ววิญญาณก็จะรู้ (จิตรู้)แล้วสัญญาก็จะขุดอดีตมา แล้วสังขาร วิ่งไป ปรุงแต่งสร้างนามรูป เกิดเรื่องราว กระทบเกิดความรู้สึก แล้วเกิดตัณหา ยึดมั่นถือมั่น ถ้าตัวสติที่มีพลังก็จะดึงจิตหรือความคิดไม่ให้จมหรือตามไปกับตัณหา คือปล่อยให้มันดับไป วิธีฝึกคือใช้สติผูกยึดจิตให้อยู่กับการกระทำอะไรก็ได้กับร่างกายครับ แล้วสังเกตดูความคิดที่สังขารม้นสร้างแล้วดับไปครับ มันคือกฎธรรมชาติครับ ปล.ชอบมากครับ น้องฟาง น้องภาคิน ขอบคุณมากครับ
ตอนเด็กผมถูกปลูกฝังให้รัก แต่โตมามีความคิดได้มากขึ้น ประสบการณ์มากขึ้น เลยตั้งคำถามกับตัวเอง ทำไมเราต้องรักด้วย ทุกวันนี้เฉยๆ ไม่ยืนในโรงหนังอีกเลย
คิดว่า มีผู้คนคิดอย่างนี้มากขึ้น ยิ่งปัจจุบันเราปะทะกับข้อมูลที่สืบค้นได้สะดวก เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและในปริมาณมาก ไม่ใช่แค่รับจากวิทยุ หนังสือพิมพ์ เอกสารใบปลิว ที่ปั่นหัวง่าย เวลาอ่าน " The Prince" แล้วตั้งคำถามกับสิ่งที่ชอบหล่อหลอมกัน ก็น่าสนใจละ
ิชอบติดตามตลอด
รูปประธรรมนามธรรมถ้า่ปรัชญาตะวันตกเพราะฉันคิดฉันจึงมีอยู่ นึก+คิด=เกิดตัวตน
คิดว่าตัวตนในมุมของการรับรู้มีอยู่2ส่วน ส่วนแรกคือส่วนที่เรารับรู้ตัวเราเองและส่วนที่สองคือตัวตนที่คนอื่นรับรู้หรือมองเห็นตัวเรา AI กำลังทำงานกับส่วนที่สองนี้ และวันนึงมันอาจทำสำเร็จ คงมีแต่เราที่รู้ว่านั่นไมใช่ตัวตนของเรา
คิดแล้วก็อยากกลับไปดูหนังเรื่อง Wonderland กับ The matrix อีกซักรอบ
คิดถึง ความเป็นไทย
ถ้าอัตตา คือ สิ่งที่ไม่เป็นอย่างอื่น ถ้างั้นสิ่งเที่ยง ก็คือ อัตตา นั่นเอง ก็ไม่แปลกใจหรอกที่พระพุทธเจ้าจะสอนว่า ขันธ์ ๕ ไม่ใช่อัตตาของเรา (อนัตตา) ส่วนเมื่อถามว่าแล้วอะไรคือ ฉัน ก็เห็นตอบได้อยู่แล้วว่าไม่มีอะไรเลยที่เป็นฉันเลย หลายครั้งคนที่ไม่ได้ศึกษาคำสอนของพระพุทธศาสนาก็จะหลงผิดว่าขันธ์บางอย่างเป็นฉัน แต่เมื่อถามลงไปลึกจริงๆ ก็จะเห็นว่ามันไม่ใช่ฉันเลย แต่การอยู่ในโลกมันมีภาษาใช้สื่อสาร เขาก็สมมตินามขึ้น (ชื่อ) เพื่อให้รู้เข้าใจทั่วกันได้ในหมู่ชน เช่น เพราะทั้ง ๕ ขันธ์ประกอบกันนาม (ชื่อ) ทั้งหลายก็เกิดขึ้นเป็นภาษาว่านั้น ฉัน, คุณ, เขา ฯลฯ ทั้งนี้มันก็เพื่อสื่อสารกันได้ง่ายกว่าการเรียกว่า สัตว์ อะไรก็สัตว์ เมื่อคุยกันมันจะรู้เรื่องยากก็ให้นาม (ชื่อ) กันไป อาจเพื่อใช้เรียกขาน เรียกใช้งาน บ่งชี้ได้ ทำประโยชน์ได้ ฯลฯ เช่น สัตว์โดยส่วนใหญ่เกิดมาเราก็ให้ชื่อว่า แมว หมา นก หนู ฯลฯ โดยมีการระบุนาม (ชื่อ) เพิ่ม ในกรณีที่มีหลายตัวก็เพื่อใช้สื่อสาร ในพืชก็เหมือนกัน ก็ให้ชื่อไปต่างๆ จัดหมู่ จัดสปีชีส์กันไป แม้นคนก็ไม่ต่างจะเรียกคนๆ มันก็ดูไม่เท่ห์เอาซะเลย แล้วก็เกิดการยึดถือนาม (ชื่อ) ทั้งหลายว่าเป็นฉัน คุณ เขา ฯลฯ ไปแทน จนมีการเปลี่ยนนาม (ชื่อ) เพราะเห็นว่ามันยังไม่ใช่ฉัน ท้ายสุดจะเห็นว่า มนุษย์อยากมีสุข ยั้งยืน ในหลายๆ เรื่อง คือ เห็นว่า เรา เป็น สิ่งเที่ยงไปอีกเช่นเดียวกัน ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตที่มีสติปัญญา ย่อมสะดุ้งกลัวต่อความไม่เที่ยงกันทั้งนั้น ก็เลยแสวงหากันไปต่างๆ ตามความน่าเพลิดเพลินเหล่านั้น เช่น ชอบแสวงหาความยั้งยืน มั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลง และยังจะไม่ยอมรับรู้ความจริงอีก
มาดูคุณ ฟาง ครับ น่ารักดี😊
มนุษย์รับรู้ทุกสิ่ง ผ่าน "รูป รส กลิ่น เสียง กายสัมผัส ใจนึก"
.
สิ่งที่แยกและทำให้เราจดจำได้ ว่าอะไร คืออะไร คือ "ส่วนผสม" ของการรับรู้ทั้ง6 ซึ่งมันละเอียดอ่อนมาก
แม้แต่แก้วกาแฟแบบเดียวกัน โรงงานเดียวกัน ถ้าเราตั้งใจพิจารณามันดีๆ แต่ละใบ ให้ความรู้สึกกับเราที่แตกต่างกัน
.
คำตอบที่ว่า เราคือใคร? เราคงเป็นข้อสรุปของการรับรู้ทั้ง6 ที่เปลี่ยนแปลงได้ ไม่คงทน ไม่หยุดนิ่ง
เทปหน้าขอให้พี่ภาคินลองแต่งตัวใส่วิคละเลียนแบบการแต่งกาย น้ำเสียง การพูดแบบคุณฟาง แต่คุยในท็อปปิคปรัชญาแบบเดิม น่าสนใจเลยนะว่ามั้ย 😅
ฉันคือประสบการณ์และจิตสำนึกของฉัน
ช่วงนี้ผมก็คิดอะไรทำนองนี้บ่อยมากเลยครับ เผอิญได้มีโอกาสอ่านงานของท่าน พุทธทาสภิกขุ หนังสือเรื่อง “คู่มือมนุษย์” อ่านไปแค่บางส่วนมันค่อนข้างสั่นคลอนมากในช่วงแรกที่ว่าสิ่งต่างๆล้วนเป็นภาพลวงตา การยึดมั่นถือมั่นในสิ่งต่างๆทำให้เกิดทุกข์ มันก็ตีกันในหัวด้วยความที่ผมอาจจะอ่านงานแค่บางส่วน บางส่วนก็ยังไม่กล้าอ่านเพราะแอบกลัวว่า สิ่งที่เรายึดถือไว้เป็นตัวตนของเรามันไม่จริงเลยหรอ แต่พอปรับจูนความคิดได้นิดหน่อยไอ่เรื่องตัวตนที่ว่าก็ค่อนข้างมีประโยชน์เลยครับช่วยให้มองสิ่งต่างจากเดิมมากมาย และยิ่งฟังอีพีนี้มันช่วยปลดล็อคเรื่องของ ต่อให้ตัวตนเรามันอาจจะไม่มีที่ให้ยึดจับขนาดนั้นแต่คำว่าตัวตนของเรามันก็มีบริบททางสังคมที่เราอยู่ซึ่งมันเป็นสิ่งที่ตัวเรา involved อยู่ซึ่งเราหรือตัวตนของเราอาจจะมีความสามารถในการสร้างความทรงจำดีๆไว้ให้กับสังคมแวดล้อมตัวเราได้บ้าง
ชอบฉากหลังนะ.. ดูแล้ว รู้สึกหลอนดี..😢😮
เป็นEp ที่ได้ฟังแล้วถามคำถามตัวเองเยอะอยู่ ซับซ้อนมากกก แต่อย่างนึงที่ฟังแล้วพอเข้าใจคือ ไม่มีใครรู้สึกเหมือนที่เรารู้สึก แล้วเราก็คงไม่วันรู้สึกเหมือนที่คนอื่นรู้สึก ทั้งๆที่เป็นเรื่องเดียวกัน นั้นคงทำให้เป็นตัวเราแล้วละ
ใช่เลยครับ แถมเราคนเดียวกันนี้ ถ้าลืมทุกอย่างที่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้านี้ไปหมด ยังอาจไม่มีทางรู้สึกเหมือนเราคนเดิมที่ยังจำทุกอย่างที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้ได้ อีกต่างหาก 🥲😅
และนี่เป็นเหตุผลว่าทำไม หุ่นยนต์มันถึงจะฉลาด ai+กับความทรงจำและประสบการณ์ของคนนั้น เอามาผสมร่วมกัน แล้วย้ายเข้าไปในร่างใหม่ ที่เราอยากจะได้ ai มันไม่ได้น่ากลัว มนุษย์ด้วยกันเนี่ยแหละที่น่ากลัว
ตัวเรา คือ ความรู้สึก(ประสาทสัมผัส) เมื่อไม่รู้สึก ก็ ไม่ใช่ เรา..
เรียกว่าตัวตน (ไม่นับตามพุทธ) = ค่าประสบการณ์ เทียบเหมือนตัวละครในเกม MMORPG เก็บค่าประสบการณ์ อัพ level เรียนรู้ Skill จนกว่าจะลบตัวละครไหมครับ
นักสร้างคอนเทนต์หรือสื่อต่างๆจริงๆแล้ว ก็เป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ถูกควบคุมและสร้างตัวตนเอาไว้ในแต่ละวันเหมือนกันนะ จะเป็นตัวตนที่ถูกสร้างอีกรูปแบบหนึ่งในลักษณะการทำซ้ำวนๆ