Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
ความเข้าใจผิดมาจากการที่การประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานน้อยมากๆทำให้สื่อหรือคนที่ต้องการเอาตัวเองเป็นสื่อสร้าง content กึ่งเล่นกึ่งจริงทำให้คนที่ไม่เข้าใจอยู่แล้วก็อ่อนไหวง่าย เรื่องพวกนี้สังคมไทยยังต้องการความรู้อีกมากแต่เข้าถึงยากมาก ถ้าคนที่ไม่ได้ทำงานสาย Tech หรือทำธุรกิจจริงๆจะไม่มีทางรู้เลยแต่จริงๆผู้บริโภคต้องรู้ใกล้เคียงหรือเทียบเท่ากับผู้ประกอบการ
เอาจริง ๆ กฎหมายทั้งหมดมันมีคำว่า "เจตณารมณ์ของกฎหมาย" คำนี้ต่างหากที่ทำให้แถบไม่ต้องมานั่งตีความเลย แต่การต้องมาตีความเพราะ "คนหาช่องโหว่ของกฎหมายต่างหาก" พยายามเอาตัวรอดหรือพยายามจะเอาผิดใคร
เจตนารมณ์นี้แหล่ะครับ ที่ทำให้ต้องมานั่งตีความ แล้วคนที่ตีความก็ตีความตามรู้สึกของตัวเองหรือไปถามกลุ่มตัวอย่างทั้งที่จริงๆ ควรตีความตามหลักวิทยาศาสตร์หรือเขียนให้มันชัดเจนแล้วตีความตามตัวอักษรไปเลย
เท่าที่ดู เค้าไว้ใช้กับองค์กรมากกว่าคนธรรมดานะ เพราะจากที่ผ่านๆก็ไม่ได้มีคนธรรมดาคนไหนโดน PDPA เลย ไอที่คุณเห็นข่าวออกหนะ เค้าแค่ขู่ และต่อให้แจ้ง PDPA ก็ไม่โดนอยู่ดี
@@Lawrence_Aprl จริงๆมันมีหลักวิธีการตีความกฎหมายอยู่ค่ะ เพราะบางกฎหมายไม่สามารถระบุชัดแจ้งได้ครบละเอียดได้จึงต้องให้นักกฎหมายตีความให้อีกที
ไม่ถูกต้องซะทีเดียวตัวอย่างเช่นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำหมายถึงการสร้างโรงเรือนที่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ของผู้อื่น แต่กรณีตามข้อเท็จจริงถ้าปรากฏว่าสร้างโรงเรือนในที่ของตนเองขณะสร้างไม่มีการรุกล้ำต่อมาปรากฏว่าที่ของตนเองได้ถูกแบ่งขายและส่วนที่ถูกแบ่งขายไปนั้นติดส่วนใดส่วนหนึ่งของบ้าน เช่นนี้ท่านจะปรับบทกฎหมายอย่างไรบอกว่าเป็นการรุกล้ำก็ไม่ใช่เพราะไม่มีกฎหมายใดบัญญัติถึงกรณีดังกล่าวไว้จึงต้องอาศัยการตีความและการอุดช่องว่างของกฎหมายมาใช้ นั้นจะเห็นได้ว่ากฎหมายจะไม่บัญญัติไว้จนชัดเจนเฉพาะเจาะจงเกินไปซึ่งจะนำไปปรับใช้ยากกับข้อเท็จจริงซึ่งจะแตกต่างกันไปแล้วแต่กรณีในบทบัญญัติเดียวกัน ต้องอาศัยการตีความของกฎหมายมาปรับใช้
ตำรวจไงคับ ที่เป็นปัญหา
12:20 จริงง คือถ้าจะเตือนภัยจริงๆ ก็แค่ให้เห็นภาพเบลอๆ+เสียง filter ก็ดูพอเข้าใจเหตุการณ์ได้แล้วว่าเกิดอะไรขึ้นในคลิปการที่เห็นหน้าคนกระทำในคลิปมันคือการระบุตัวตนคนกระทำ ไม่ใช่แค่การเตือนภัยละ
ยกตัวอย่าง พรบ. คอม ที่หลายคนก็บอกว่าดี แต่พอนำมาใช้จริงแล้วเป็นไงล่ะ มีคำถามมากมายว่ารัฐออกพรบ. นี้มาเพื่อคนไทยจริง ๆ หรือเปล่า หรือตั้งใจออกมาเพื่อปิดปากคน และรักษาผลประโยชน์ของพวกพ้องตนเอง กรณี PDPA ก็คงเหมือนกัน ไม่ว่าประเทศไทยจะมีกฏหมายที่ดีแค่ไหน ตราบใดที่สังคมไทยยังไม่สามารถทำให้ผู้รักษากฎหมาย ใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียมและยุติธรรมได้ มีไปก็เท่านั้น
ฟังแล้วเข้าใจมากขึ้นเลยครับ จะได้ระวังตัวและใช้กันให้ถูก
ย้อนหลังไลฟ์จบมาต่อ PDPA ที่ฟังในไลฟ์มาแล้วก็ยังมาดูวนอีก สนุกเพลินๆ
ข้อมูลส่วนบุคคล มันจะแยกไปอีกนะ PDPA จะเน้นที่เป็น Sensitive Information มากกว่า ส่วนพวกข้อมูลทั่วๆ ไป มันจะหลวมๆ ฟีลแบบไม่ค่อยอะไร แถมมีเงื่อนไขตามสมควร ตามธรรมชาติของกิจกรรมนั้นๆ อีก เช่น การขอให้ลบข้อมูลผู้ป่วย HN No. ในระหว่างการรักษา ก็ใช่ว่าจะทำได้ ไรงี้อะ
พรบ จะมีสองส่วนเลยนะครับ ทั้งข้อมูลส่วนบุคคลกับข้อมูลอ่อนไหว
ปัญหาคือรัฐไทยไม่ได้ดูที่เจตนา ไม่งั้นธนาธรที่ถือหุ้นสื่อแล้วบริษัทไม่ได้ทำสื่อมาแล้ว 2ปี ไม่โดนปลดหรอก
บาง appมีปุ่มให้กดยืนยัน การอนุญาตใช้ข้อมูลส่วนบุคคล ผ่าน app กดแบบยืนยันง่ายๆ ไม่ต้องเสียตังค์แต่พอคิดจะถอนการอนุญาต กลับไม่มีปุ่มให้กดยกเลิกใน appแต่แสดงเป็นข้อความ ประกาศว่า "โปรดโทรแจ้งพนักงานที่เบอร์ .... (เบอร์ 4 หลัก ที่ต้องเสียตังค์)"แหม่ หัวหมอจัดเลย!!! โทรมาสิ จะได้เก็บกินค่าโทร
ฟังแล้ววุ่นวาย ไม่ถ่ายคลิป ถ่ายใครเลยอ่ะ ง่ายดี ไม่ต้องมีปัญหาทีหลัง
ถ่ายได้แต่ห้ามลงโซเชียล จะเผยแพร่ต้องให้เจ้าหน้าที่ นักข่าวเท่านั้นจบ
กรณีไลฟ์ ต้องมีป้ายแจ้งในพื้นที่ ที่ไลฟ์ครับ แบบเดียวกับ cctv ครับ เพื่อให้คนในพื้นที่รับทราบกรณีหยิบกล้องมาไลฟ์ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเลย ก็ดูตามเจตนา ตามที่พี่อาร์มว่าครับ
กรงขังหมาชัดๆ ไม่มีใครมาแงะเจตนา ในหัวผมได้หรอกครับ
มีเรื่องนึง แล้วทำไมเค้าไม่ระบุเพิ่มไปง่าย ๆ เลยครับว่าถ้าคุณจะมาฟ้อง pdpa คุณจะต้องไม่ผิดจริง ๆ แต่ถ้าคุณผิดจริงตามกฏหมายอะไรก็แล้วแต่ไม่ว่าจะ ผิดกฎจราจร ทำร้ายร่างกายผู้อื่น ขโมยของ การฟ้องจะไม่มีผลอะไรทำนองนี้อ่ะครับ ผมว่าแบบนี้น่าจะโอเคอยู่นะเรื่องคนผิดจะได้เคลีย ๆ ไป จะได้ไม่คลุมเครือ
ผมว่าเพราะหลักการของ PDPA ไม่ได้ตั้งใจจะเอามาใช้ฟ้องกันระหว่างบุคคลครับ แต่มีเมืองไทยนี่แหละนี่ความคิดบรรเจิดเห็นข้อกฎหมายแล้วนึกว่าใช้ได้หมด ก็คงต้องรอให้ทีมที่ออกข้อกม.มีเคสกรณีต่าง ๆ มานำเสนอให้ความรู้ประชาชนมากขึ้นล่ะครับ ถึงจะเข้าใจตรงกันได้
@@wpinj3113 ต่างประเทศก็มีปัญหา
@@wpinj3113 ต่างประเทศก็มีปัญหา
ตอบทั้ง 2 ท่านครับว่าขนาดตปท.เริ่มก่อนเราหลายปียังมีปัญหาเลยใช่มั้ยครับ ไม่แปลกที่ของเราก็จะมีปัญหา แต่ต่างประเทศดีกว่าที่มีการตัดสินที่เป็นธรรมกว่า ส่วนของไทยทำใจครับ เงินหนาได้เปรียบเสมอ
จากใจ นักศึกษาวิชา กฎหมาย ช่องโหว่มันเยอะครับ คิดง่ายๆ ถ้า ให้ ศาลตัดสิน คดี แล้ว ศาลเข้าข้างหรือ ลำเอียง ผลจะ เปลี่ยนไปเลย แค่นั้น อะ ของ ไทยอะ ศาล มี อำนาจเยอะ ไหนจะ อิงฎีกาอีก ถ้า คดี แรก ศาล เข้าข้างคนผิด คดีอื่นๆใน กรณีเดียวกัน ก็จะ กลายก็ ตัดสินเหมือนๆกันหมด
คุณเป็นนักศึกษากฏหมายจริงหรอครับ 555แค่รูปประโยค วิธีการเขียน การแบ่งคำเว้นวรรคคำก็มั่วซั่วไปหมด ดูไม่เหมือนคนมีความรู้เลยนะครับ อย่าพยายามไปแอบอ้างสร้างตัวตนในโลกอินเทอร์เน็ตเลยครับ มันตลก555
เรียนกฎหมายมาจริงดิ? ทำไมอ่านแล้วรู้สึกแปลกๆ คนที่เค้าเรียนกฎหมายเค้าไม่ต้องเรียนการเขียนสำนวน หรือเรียบเรียงประโยคหรอ? เราก็ไม่รู้เพราะเรียนแค่กฎหมายธุรกิจ แต่ที่แน่ๆเขียนคำเว้นคำเค้าไม่ทำกันนะ
ไม่เชื่ออะว่าเรียนกฎหมายมา
คือผมว่าคอนเท้นที่เขาเขียนมันก็ถูกนะ ถ้ามีคำพิพากษามาคดีนึงแล้ว ในอนาคตมันก็เอาไปใช้ต่อๆกัน ยืนกันมั่วๆ ไปเรื่อยๆ
คำพิพากษาต่อจะให้เป็นฎีกาก็กลับกันได้คับ ถ้าคำพิพากษาที่มีอยู่หลักของมันยังไม่ดีพอ ประเทศไทยเราไม่มี doctrine of precedent นะครับ เเล้วก็ส่วนตัวผมมองว่าช่องโหว่ทางกฎหมายข้อเสียก็มีเเต่ข้อดีก็มีเหมือนกัน เเละมันน่าจะไม่เกี่ยวกับศาลลำเอียงนะคับ
หวังว่าคนที่เข้าใจแบบผิดๆ จะเข้าใจมากขึ้นนะ
จริงๆ มันคิดไม่ยาก ผิดไม่ผิด อยู่ที่จุดประสงค์ว่า ดี หรือ ร้ายแต่ที่เป็นปัญหาคือกฏหมายเลือกจะคุ้มครองใคร...
วันที่ไลฟ์มาฮาตอนหลัง ที่หลายๆเว็บยังทำผิด PDPA กันอยู่ เก็บคุกกี้แบบเนียนๆ และยังไม่มีให้คนใช้เลือกได้ว่าอนุญาตให้เก็บคุกกี้อันไหนบ้าง (มัดมือชกเก็บทุกอย่าง ทั้งที่จริงๆมี PDPA แล้วต้องปรับเปลี่ยนทั้งหมด) และแน่นอนว่า สปอนเซอร์ของเราบางอันนั้นก็ไม่รอด 😂(ไม่รู้ตอนนี้แก้ไขแล้วรึยังนะ)
แล้วคุกกี้มันคืออะไรคะ
กฎหมายมีเจตนารมณ์ ป้องกันนักไลฟ์สดมโนว่าตัวเองถูกต้อง ไม่ถนัดใช้กฎหมายแต่ถนัดหากินเป็นกลุ่ม เพจต่าง ๆ ปั่นกระแสลบเพราะเสียประโยชน์ ปกติหากินจากการปั่น
ต้องมีคำพิพากษาบรรทัดฐาน เป็นตัวอย่างสักเคส เพื่อให้คดีต่างๆที่เกิดมาลักษณะเดียวตอนหลังได้ตัดสินตามครับ
กฎหมายมันดีนะ แต่มันมีปัญหาตรงคนตัดสินที่ไม่มีความน่าเชื่อถือ หรือไม่สามารถทำให้คนเชื่อมั่นได้ ก็รู้ๆอยู่ระบบการตัดสิน
กฎหมายส่วนมากมันดี มันสากลใช้กันในประเทศที่พัฒนา แต่การบังคับใช้ของเจ้าหน้าที่กับความเข้าใจของปรระชาชนต่างหากที่มีปัญหา ... เสมอมา
น้องผู้หญิงฟ้อง PDPA ปกป้องตัวเอง เพราะว่าน้อง ผญ เสียหาย คนรอบตัวรับรู้ พ่อแม่อีก แถมในคลิปน้องผู้หญิงก็แทบจะไม่ใส่อะไรแล้ว ถ้าเป็นพลเมืองดีจริง ๆ ก็คุยกับเหยื่อก่อนไหม ว่าเหยื่อจะเอาความหลัวไหม หรืออนุญาตให้ลงโซเชี่ยลไหมนี่ไม่ถามเจตนาเหยื่อเลย ความเป็นพลเมืองดีไม่ได้เป็นบัตรผ่านให้ละเมิดสิทธิคนอื่นนะ โดยเฉพาะสิทธิของเหยื่อ ที่เป็นผู้เสียหายเต็ม ๆ ที่ลงไปคิดว่าเหยื่อจะเสียหายน้อยลงหรอ นี่ว่าไม่นะ
แค่ว่าเรื่องในครั้งนั้นก็จะเงียบไปเลยรึเปล่า
@@marumaru8338 คือยังไงหรอครับผญเขาจะเเจ้งความไม่ได้หรอครับ
ข้อดีของการลงโซเชียลของเคสนี้คือ ทำให้เราๆได้รู้ว่ามีเหตุการณ์แบบนี้ และทำให้เจ้าหน้าที่กระตือรือร้นในการทำงาน(เพราะเป็นกระแส) ส่วนตัวเป็นผมผมไม่ฟ้องแต่จะคุยจนกว่าเขาจะลบคลิปให้
@@showkun1793 มีหลายกรณีครับ 1. ผญไม่แจ้งความ2.แจ้งความ เรื่องเงียบ3.แจ้งความแต่ไม่ดัง คนที่ถ่ายคลิปแต่ไม่ลงเพราะกลัวโดนฟ้องไม่รู้ว่ามีคนต้องการคลิป
@@marumaru8338 มันไม่ใช่ปัญหาของพลเมืองดีครับ ถ้าถ่ายไว้ก็ส่งให้ผู้เสียหาย แล้วมันก็จะเป็นเรื่องของผู้เสียหายแล้วครับว่าอยากจะทำอะไรกับคลิปที่มี ถ้าผู้เสียหายอยากให้เรื่องมันดัง เขาก็โพสต์เองได้ครับ แต่ถ้าเขาไม่อยากโพสต์ลง เราไปจัดการข้อมูลส่วนตัวของคนอื่นไม่ได้ครับ
สงสัยครับ ดูจบก็สงสัยอยู่ดี อย่างเคสที่มีคนไลฟ์ใน twitch ไลฟ์ชีวิตประจำวันแต่มีบางครั้งที่เจออะไรแปลกๆ ตัวคนไลฟ์อ้างว่าถูกตามหรือถุกแอบมองอะไรประมาณนี้ สงสัยครับว่าในเคสแบบนี้ถ้าเจ้าของไลฟ์พุดเลยว่าถูกแอบมองแอบตาม แล้วแบบนี้คนที่ตามสามารถมาฟ้องได้มั้ยครับโดยการอ้างว่าตัวเองไม่ได้ตาม แล้วในกรณีนี้จะวัดไงครับว่าเค้าแอบตามจริงรึเปล่า?? แล้วใครจะถูกจะผิดไงครับ ??
ก็ลองคิดว่าคุณแค่เผอิญเดินไปทางเดียวกับคนที่ไลฟ์พอดีแล้ว อยู่ๆมีคนDMมาหาคุณเพียบเลยว่า"ไอ้สโตกเกอร์" ทำไงอะ?ถ้ารู้สึกไม่ปลอดภัยจริงๆ สิ่งที่เขาควรทำคือ ปิดไลฟ์แล้วไปแจ้งเจ้าหน้าที่ครับ55 ไม่ใช่ไลฟ์แล้วหวังให้คนในแชทแจ้งให้
ถ้าเห็นหน่าก็ผิดครับ ต่อให้ไม่มี pdpa ก็ยังมีกฎหมายหมิ่นประมาทซึ่งโดยทั่วไปถ้าสงสัย รีบแจ้ง จนท. ครับ ไม่ใช่มัวแต่เปิดไลฟ์แล้วเดาไปเรื่อยเปื่อย
อันนี้ไม่เกี่ยวกับ PDPA แล้วครับ แต่มีหลักฐานว่ามีบุคลต้องสงสัยตามอยู่ แล้วมีหลักฐานแน่ชัด ไม่ใช่แค่ความรู้สึก ก็แจ้งความปกติเลย
@@Winnerpowenite จริง พวกหลอน ขี้มโนว่ามีคนตาม คนมองยิ่งมากขึ้นในสังคมเมือง
คำถามแรกฟ้องได้มั้ย ตอบฟ้องได้ ตามที่เขาอ้าง อาจฟ้องหมิ่นประมาท ส่วนpdpa จากที่ผมศึกษาเบื้องต้น น่าจะไม่เข้าpdpa (ความคิดส่วนตัว) แต่หากเข้าpdpa ทางแก้มีข้อยกเว้น* ม.24 เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล pdpa ม. 24 (2)สังเกต คำว่าบุคคล กฎหมายไม่ได้ระบุเฉพาะผู้เสียหายอย่างเดียว เหมือนช่วยป้องกันพลเมืองดีอยู่นิดหน่อย *(เตือน)แต่ไม่ใช่คุณจะกล่าวหามั่วๆนะ ไม่อย่างงั้นคุณก็โดนเข้าฟ้องหมิ่นประมาทกลับหรือกฎหมายอื่นอีก และห้ามเผยแพร่ลงโซเชียลหรือต่อสาธารณชน ซึ่งทำให้ผู้อื่นรู้ถึงข้อมูลส่วนบุคคล เผยแพร่ได้เพียงผู้มีอำนาจหรือตำรวจได้รับรู้ เพื่อป้องกันเหตุร้ายแก่ผู้อื่นได้ (แนะนำ)ถ่ายคลิปให้เขากลัวก็พอแล้ว อยากพูดเยอะ พูดแค่หยุดนะ ไม่งั้นฉันจะแจ้งความ ทุกอย่างฉันบันทึกเป็นหลักฐานหมดแล้ว หยุดซะตัวอย่าง* ถ้าเราเห็นผัวเมียทะเลาะกันเช่นตามข่าว แล้วมีการทำร้ายร่างกาย คนถ่ายคลิปพลเมืองดีจะถ่ายคลิปเพื่อไม่ให้มีการทำร้ายร่างกาย ป้องกันอันตรายแก่ร่างกายบุคคล แม้ผู้ถ่ายจะไม่ใช่คนที่เสียหายก็ตาม แต่ก็ได้รับการยกเว้น สามารถทำได้ตามม.24 *เน้น*ข้อยกเว้นไม่ใช่คุณมีอิสระในการเผยแพร่ ถ้ากระทบสิทธิหรือเสรีภาพของเขา คุณก็ไม่ได้รับการยกเว้น เช่น การเผยแพร่ลงโซเชียลทำให้คนมาด่าหรือต่อว่าคนที่ถูกถ่าย อันนี้กระทบเขาแน่นอน คำถามที่สองวัดได้ไงว่าเป็นจริงมั้ย ตามกฎหมาย การพิสูจน์ว่ามีคนตามหรือถูกแอบมองจริงมั้ย(เป็นจริงตามฟ้องมั้ย) ต้องใช้พยานหลักฐานต่างๆมาพิสูจน์ ต่างคนต่างอ้างกันมาเลย โดยศาลจะเป็นคนตัดสินว่าใครมีหลักฐานน่าเชื่อถือกว่า แล้วจะได้ข้อสรุปว่าใครถูกใครผิด (เฉพาะในทางกฎหมายนะ) เพราะว่าข้อเท็จจริงในชีวิตจริง กับข้อเท็จจริงในทางกฎหมายต่างกัน คุณต้องแยกให้ออก บางครั้งคนไลฟ์อาจโดนตามถูกแอบมองจริงๆในชีวิตจริง ซึ่งเขาควรเป็นฝ่ายถูกในชีวิตจริงๆ แต่ถ้าเขามีหลักฐานไม่หนักแน่นพอ คนไลฟ์ก็อาจโดนฟ้องกลับฐานหมิ่นประมาทก็ได้ ในทางกฎหมายเขาจึงอาจเป็นฝ่ายแพ้ก็ได้สิ่งผมจะสื่อ กฎหมายเขาดูพยานหรือหลักฐานที่ชัดเจนเป็นความสำคัญอันดับต้นๆ ไม่ได้เอาความรู้สึกส่วนตัว หรือความมโนมาพิจารณา(อาจมีรายละเอียดปลีกย่อยอื่นอีกที่สำคัญ)อาจอธิบายแล้วไม่เข้าใจ หรือหากให้ข้อมูลที่ผิดพลาดต้องขออภัย เพราะทั้งหมดที่อธิบายมาจากการเข้าใจของตัวเอง ทั้งนี้ ทั้งหมดผมตีความจากตัวบท โดยไม่ได้ตีความไปถึงจริยธรรมหรือคุณธรรมอันดีหรือประโยชน์แห่งความยุติธรรม ซึ่งส่วนนี้จะเป็นหน้าที่ของศาลที่จะใช้ดุลพินิจเป็นรายกรณีหรืออาจเป็นบรรทัดฐานอันดีในอนาคตที่อาจเกิดขึ้นได้ 🙏🙏
ประเด็นคือการถ่ายที่มีการโพสทำให้ผู้อื่นเสียหายโดยที่ไม่ใช่ข้อเท็จจริงหรือเป็นข้อเท็จจริงแค่ส่วนหนึ่ง แค่การไม่เป็นข้อเท็จจริงทั้งหมดแล้วโพสก็ไม่สมควรถูกต้องแล้ว ไอ้การที่คิดว่าตัวเองถูกแล้วโพสเพื่อหาพรรคพวกนี่มันเป็นวัฒนธรรมของสมัยนี้ใช่ไหม?
ภาพปก ยอดเยี่ยม 🤣🤣👍👍👍👍
ความเห็นผมนะ กฎหมายนี้ไม่ได้มีปัญหาครับ แต่ปัญหามันอยู่ที่คนไทยครับ 55555
ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ในประเทศเรา น่ากลัวกว่าตัวบทกฏหมายสะอีก
โจรคนร้ายหรือวัยรุ่นตีทำร้ายคนอื่นถูกเบลอหมดในไทย แล้วประชาชนจะระวังตัวในสังคมยังไง สังคมไทยประหลาดสุดในโลกนี้.
PDPA ก็บัญญัติเลย ว่าไม่สามารถใช้กับส่วนบุคคลได้ กฎหมายนี้ไว้บังคับใช้กับบริษัทที่เก็บข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าเท่านั้นส่วนเรื่องทำให้เสื่อมเสียให้ใช้หมิ่นประมาทเอา จบเลยครับ
จากที่ฟังเคสต่างประเทศกล้องเก็บไว้ดูเองไม่ได้โพส+กับส่งเป็นหลักฐานแบบปิด ศาลยังตัดสินให้ผิดศาลก็ไม่ดูเจตนาเลย กว่าจะได้ความเป็นธรรม....
เพราะมันมีกฏหมายว่าห้ามถ่ายหรือบันทึก ของชาวบ้านถ้าไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งในกรณีนี้มันผิดเต็มๆ เเม้จะไม่เกิดเหตุอะไร เเต่เมื่อเกิดเหตุเท่านั้นถึงจะได้รับข้อยกเว้น มันเลยต้องลากยาวกันไป
สิ่งหนึ่งเลยที่เห็นบ่อย ๆ คือ พวกทำคอนเทนต์ ถ่ายรูปกับเพื่อน แต่ทำเบลอหน้าแล้วก็บอกเดี๋ยวโดน PDPAตลกโปกฮา แต่หารู้ไม่ว่ามันยิ่งสร้างความเข้าใจผิดในสังคม
กฏหมายออกไปทางช่วยคนทำผิดกับช่วยตำรวจ จะได้ไม่ต้องโดนด่าว่าทำงานช้าไรงี้ ก็เห็นๆกันอยู่ถ้าไม่ลงโซเชียล ก็ไม่ทำงานกัน
กฏหมายอะดีครับ แค่ว่าสื่อกับผู้พิทักษ์สันติราษฎร์มันไม่ค่อยเอาไหน
จริงครับบอกเลยว่ากฎหมายดี(ถ้าอยู่ถูกประเทศ)
พอให้เบลอหมดเหมือนคนมีเงินจะได้เปรียบเลย ถ้าคนทำผิดเป็นคนรวยละ โพสแบบเห็นตัวไปเลยกับเบลอ ก็เห็นความต่างขึ้นมาเลยแบบคนมีอิทธิพลเรื่องก็จะเงียบง่ายเลยทีนี้เพราะไม่ชัดเจน แต่เจ้าตัวรู้ตัว ดีไม่ดีคนถ่ายโดนตามเจอโดนเก็บ ☠(แค่ความคิดเห็นส่วนตัวนะครับ แค่รู้สึกว่าช่องโหว่มันดูมีเยอะเกินไปในตอนเริ่มใช้)
ก็เพราะ.... นั่นเป็นสิ่งที่ไม่ควรจะมีครับ..... หมายถึง การที่คนมีอิทธิพลมาลบคุณออกไปจากจำนวนประชากรน่ะนะ555
เอาจริงดิ คิดงี้อ่อ มันไม่ได้ง่ายขนาดนั้น
ก็เพราะมโนไปไกลขนาดนี้ไง คนเค้าเลยเข้าใจผิดกันไปใหญ่ ต้องเข้าใจว่าบางคนเค้าเชื่อเรื่องมโนเป็นตุเป็นตะเลยนะ
ตีความ และหลีกเลี่ยง คือหลักสำคัญถ้าใครจะมีปัญหาจริงๆ คนคนนั้นคือคนที่จะหาผลประโยชน์จากช่องโหว่นั่นแล้วล่ะ การถ่ายเพื่อเป็นหลักฐานมันต่างกับการถ่ายแล้วโพสเพื่อหาพรรคพวกอยู่นะ.
@@nekoyama5460หลายคนรวยบ้างคนทำผิดไม่เห็นโดนอะไรเลยครับ
ในข่าวที่ผู้หญิงไปถ่ายคนตีกัน เจตนาแรกที่โพสคือเป็นอุทาหร แต่พอคนในคลิปขอให้ลบแล้วคนโพสดันไม่ยอมลบ เจตนาเลยเปลี่ยน ไอ้หมอนั่นเลยไปแจ้งความ
คนพวกนี้ ไม่ได้โพสต์เป็นอุทาหรณ์ไรหรอกครับ เอาแสงล้วนๆ ได้มีคอนเทนท์เรียกยอดไลค์ยอดแชร์แล้วมันอิ่มเอม ให้เป็นอุทาหรณ์มันเป็นแค่ข้ออ้างสวยหรู
@@DixxyV ถ้าเห็นคนตีกันตายถ่ายได้มั้ย
@@supernova_TNK ถ่ายได้ แต่เอาไปอัพลงโซเชียลไม่ได้ ยกเว้นแต่จะเบลอหน้าให้คนมองไม่ออกว่าใครเป็นใคร ถึงจะอัพได้
ถ้าใครเคยดูคลิป เรื่องพักเท้ารถบิ๊กไบค์ที่ตำรวจไทยบอกว่ามันผิด กฏหมายอันนี้ก็ไม่ต่างกันหรอก
PDPA มันแค่เก็บหรือเอามาประมวลผลก็ผิดแล้วไม่ใช่หรอครับ ไม่ต้องรอเผยแพร่
สื่อน่าจะเอาเวลาไปทำข่าวว่ายังมีองค์กรไหนยังทำ ผิด PDPA อยู่บ้าง มีหลายที่เลยเช่นบางธนาคาร ไม่มีช่องให้ติ๊กยอมรับหรือไม่ยอม มีแต่ให้เซ็นแล้วจบเลยซึ่งผิด บาง app shopping ก็ขอดูข้อมูลที่เก็บไว้ไม่ได้
ปัญหาคือคำว่าเจ้าหน้าที่ กับ ดุลพินิจ ในไทยไม่ควรให้เจ้าหน้าที่มีดุลพินิจ
คำว่า สือ เนี่ย หมายถึงพวก สำนักข่าว ช่องข่าว ไรงี้ใช่ไหมคะ แล้วพวกบุคคลดังๆ เพจดัง หรือไม่ดังก็ได้ ที่เขาเอาข่าวมาเผยแพร่ ถือเป็นสื่อไหมคะ
เป็นพลเมืองดีก็เป็นไปครับ แต่อย่าอยากแชร์ไปหมดทุกอย่าง ถ่ายเป็นหลักฐานได้ แต่ไม่โพสต์ลงโซเชียลมั่วซั่ว
กฏหมายไทยดีหมดครับ แต่พอบังคับใช้ มันจะแปลกๆตลอด บางคนแค่ เข้าค่ายเป็นยังไม่ผิด แต่ศาลพิจารณาว่าผิดเพราะคิดร้ายบางคนทำผิด แต่ศาลบอก ไม่มีเจตนาร้าย ก็ไม่ผิด นี้แหละกฏหมายไทย ที่มีให้เห็นจากที่ผ่านๆ
นึกถึงเคจรองเท้าเหมือนกันเลย สงสารพี่เขามากมีสกุ๊ปไปคุยกับแกหลังเรื่องเกิดมานานแล่วโครตน่าสงสารอยากให้ตามฟ้องให้มันตูดบานไปเลย
โครตเกลียดคำว่า"ดุลยพินิจ"ในกฏหมาย ถ้าจะให้ตีความตามอักษรก็ระบุรายละเอียดให้ชัดเลย นี้แปลว่า "ดุลยพินิจ" = "ลมฟ้าอากาศของเจ้าหน้าที่"
ไลฟ์จบ คลิปอัพเลยยย
สุดท้ายบริษัทห้างร้านทั้งหลายมันก็ให้เซ็น consent ไม่งั้นไม่ให้ทำธุรกรรมอะไรต่อแล้วจะออกกฏหมายมาเพื่อ? (คุณสรยุทธกล่าวไว้)
อย่างน้อยคุณก็ได้รับรู้ไง ว่าเค้าจะถ่ายคุณ และเอาข้อมูลของคุณตรงไหนไปบ้าง หน้าที่ของคุณคือ"อ่าน"ก่อนที่จะเซ็นยินยอม
เห้ยย~~~~ ผมดูพี่มาหรายเดือนมากๆแล้ว แต่เพิ่งรู้ ผมลืมกดติดตาม ขอโทดคับ55555
มีข้อดีแต่ใช้จริงกับประเทศที่มีการคอลัปชั่นติดท๊อปของโลกอย่างไทยไม่ได้ไง นี้แหละประเด็นมันแก้ไม่ได้ไง มีกี่เคสแล้วหละที่ลงโซเชียลแล้วเป็นข่าวจนคดีมันคืบหน้าอะ บอกตรงๆไม่ต้องโลกสวยกฏหมายนี้ใช้จริงในไทยไม่ได้
ชอบรูปปกมากค่ะ
กราบพี่อามมากค่ะ พี่อามคือแหล่งความรู้ที่เรามารับประจำ
ถ้าคู่กรณีเป็นตำรวจหรือคนมีตำแหน่งใหญ่โต ไม่เอาลงโซเซียล แต่ไปให้ตำรวจ เราจะแน่ใจได้ยังไงว่าเค้าจะไม่ช่วยกัน หรือเราจะโดนเก็บซะเอง เด๋วนี้คนก็ไม่มั่นใจในองกรนี้กันเยอะนะ อุอุ
ความผู้หญิง เป็นคนยังดี 55+ 🤣🤣🤣
เข้าใจผิดเรื่อง ผู้เสียหายฟ้องคนท้ายนะครับ เพราะโพสต์ลงโซเชียล โดยที่เจ้าตัวไม่อนุญาต ทำให้เขาเสียหาย เขาเลยฟ้องตามสิทธิ์ได้ มันชัดเจนแล้วว่า ห้ามโพสต์ลงสื่อ แต่ไม่ได้ห้ามถ่ายนะครับ เพราะมีหลายคลิปที่สื่อแค่มุมเดียว แต่พอเรื่องจริงเฉลย ไม่ได้เป็นตามที่คลิปนั้นแจ้งไว้ แต่ความเสียหายเกิดขึ้นไปแล้ว
ถ้าบ.เก่าเราเอาคลิปเก่ามารีรันขายของมีเราติด แต่เราลาออกมาเดือนนึงแล้วบ.เก่ายังเอาคลิปที่มีเราไปรีรันขายของอยู่เลย แบบนี้บ.เก่าผิดมั้ยคะ
กฎหมายปกป้องโจร ถ้าคุณถ่ายโจรขณะทำความผิด คุณจะโพสต์ประกาศตามหาเองไม่ได้ ต้องแจ้งตำรวจอย่างเดียว แล้วมันจะมีประโยชน์อะไรกับกฎหมายนี้
กฎหมายปกป้องพลเมืองโดยท่วไป กรณีมนุษย์กล้องถ่ายประจานทั้งที่ไม่รู้สี่ไม่รู้แปดแล้วเดือดร้อนเยอะมาก มากกว่าเคสถ่ายโจรอีก
สรุปไม่มีถูกผิดมีแต่ถูกมองว่าผิด ถูกมองว่าถูก
ด่านนี้ยิ้มเลย
คีย์เวิร์ด "เจ้าหน้าที่"
คือคลิปในข่าวดัง เห็นท่อนบนเปลือยไกลๆ แล้วเห็นหน้าเหยื่อชัดเจน แล้วเค้าให้ลบก็ไม่ลบ แถมประจานเพิ่ม เค้าเลยฟ้องครับ
ถ้าศาลบ้านเราเจ้าหน้าที่บ้านเรามันดีจริง คนไม่ด่าหรือกังวลกฎหมายนี้แน่นอน ผมล่ะปวดหัวคนโลกสวยบางคนอยากรู้ว่าเขาอยู่ประเทศเดียวกันไหม
เจ้าหน้าที่บางคนยังเชื่องช้า
จริงๆแล้ว การโดนถ่ายคลิปถ่ายรูปไปลงโซเชียลแล้วเดือดร้อนนี่ มันก็ได้กฎหมายหมิ่นประมาทครอบคลุมอยู่แล้วมั้ง PDPA ไม่น่าครอบคลุมนะ
จะผิดอะไรจะปรับอะไร อยู่ที่เจ้าหน้าที่ตัดสินความถูกต้อง
ผมว่าเขาก็ระบุชัดเจนแล้วนะ ถ่ายไว้เป็นประโยชน์สาธารณะไม่ผิด แต่ถ้าลงโซเชี่ยวผิดทันที ต้องส่งให้นักข่าวหรือตำรวจครับ
เอาอคติเป็นที่ตั้ง คนไทยงี้แหละ
ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ แล้วดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ขึ้นอยู่กับอะไรน้าาา
รู้ๆกันอยู่
อุ๊ยยยย
$$$$$ ไม่รู้ ไม่้รู้
คฟ.ทำร้ายประชาชน มีพลเมืองดีถ่ายลงโซเชียลให้เห็นความเลว จะโดนฟ้องpdpaไหมครับ
คุณลุง คุณป้า ผู้สูงอายุ ถ่ายวิดีโอเตือนภัยอะไรสักอย่าง แต่ลงไม่ได้ต้องมานั่งแต่งวิดีโอเบลอภาพ เบลอเสียงผู้คน แลดูไม่ค่อยจะเมคเซ้นต์เท่าไหร่
พวกช่องแกล้งคน ทดสอบสังคมจะได้หมดไป คนโดนแกล้ง คนโดนทดสอบไม่ได้อะไรเลย เสียทั้งเวลา เสียทั้งความรู้สึก
โดเนทมันลามมาจากช่องพี่ซันแล้วววว
พี่อามช่วยบอกวิธีหน่อยคับ ช่องyoutubeโดนแฮคเปลี่ยนเมลสำรองเบอร์โทรหมดเลย กู้คืนไม่ได้คับ
ผมอธิบายในเฟสจนเหนื่อยอ่ะ จนยอดไลน์น้อยลง เพราะคนคิดว่าผมเป็นสลิ่ม
ช่างภาพถ่ายรูปงานแต่ง ติดแขกในงาน ลงรูปในportfolio โดนฟ้องมั้ย
เห็นสปอนเอเปกแล้วเส้า
อยากให้คลิป ที่เกี่ยวกับดราม่ารายวัน มาเร็วๆ เอาซัก 3 4 วัน หลังดราม่า ก็ยังดีคับ อันนี้ผ่านไปเป็นอาทิตย์แล้วง่ะ ความอินในคอนเท้นมันน้อยลงไม่ได้เร่ง ไม่ได้ว่า นะ แค่เสนอเฉยๆคับ ปล่อยความเห็นผมผ่านไปก็ได้
ต่างประเทศไม่มีฟ้องGDPRเพราะมันมีกฏหมายคุ้มครอง ผลเมืองดีนี่ครับ
มันต่างกันอยู่นะ เอาคลิปมาเป็นหลักฐานกับเอาคลิปมาประจาน
ถ้าเอาหลักฐานไปให้ตำรวจให้นักข่าวแล้วไม่มีใครสนใจต้องต้องทำไงแต่ห้ามประจานนะ
@@user-lv3wo8kw2h คนที่อยากให้เป็นข่าวคือใคร ผู้เสียหายอยากให้เป็นข่าว หรือคนถ่ายอยากให้เป็นข่าว
@@user-lv3wo8kw2h ฟ้องตำรวจมาตรา 157 สิ ถ้ามีหลักฐานการกระทำความผิดของอาชญากรแล้วตำรวจละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ ก็ฟ้อง
@@energyvampire7831 แล้วถ้าตำรวจบอกว่าทำคดีนี้อยู่ ต้องหาหลักฐาน ต้องเรียกผู้ต้องแต่เขาไม่มาครับ ฟ้องม.157ไปก็ผิดเองสิครับ
@@energyvampire7831 157 ทฤษฎีแข็งแกร่ง ใช้จริงมันเคยใช้กับใครจริงจังเยอะขนาดไหนหรอครับ
สรุปต้องไม่ฟ้อง PDPA แต่ไปฟ้อง "หมิ่นประมาท" แทน
ถ้า Saul Goodman อยู่ในเมืองไทยงานคงเยอะน่าดู
ในรัฐที่ใช้นิติสงคราม5555555 ใครผิดไม่ผิดไม่รู้กูฟ้องมึงก่อน 20 คดี มึงขึ้นศาลใต่สวนจนไม่เป็นอันทำมาหากินละ ถ้าระดับองค์กรมันดีใง แต่ระดับคนปกติ
กฏหมายมันดี แต่คนไทยยังไม่คุ้นชิน เลยไม่รู้ว่าอะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้
เรื่องกล้องวงจรปิดที่พี่อาร์มเล่า ผมว่าอยู่ที่เจ้าของบ้านที่ถูกถ่ายว่ายอมความหรือไม่ น่าจะจบแค่ตรงนี้นะ
แล้วเกิดแบบ เจ้าหน้าที่รัฐกำลังกระทืบประชาชนแล้วประชาชนไปถ่ายนี้ผิดไหมครับ
การบัญญัติ พรบ ให้กว้างๆไว้ก่อน เชื่อผมเถอะครับว่าดีแล้ว หากบัญญัติให้มันแคบวันจะส่งผลในสักวันแแน่ๆ
เอาจริงเรื่องตรรกะคนไทยบางส่วนเขาป่วยกันมากอ่ะ อยากเป็นพลเมืองดีแต่อยากโพสเฟส มันไม่ใช่การเตือนภัยมันแต่มันเป็นการประจาน
เเล้วถ้าอนากเตือนภัยต้องส่งไปที่ไหนครับ
@@supernova_TNK ก็ตามในคลิป9อามเลยครับ ส่งให้สื่อ โพสต์เองโดยเบลอหน้าและเสียง
เจตนา มันพิสูจน์เชิงประจักษ์ยังไงครับ
ดุลพินิจล้วนๆแม้แต่นายอาร์มยังไม่รู้วิธีรอดเลย ถ้าอยากไลฟ์สดในที่สาธรณะ
อ่อเจตนามันดี แต่ถ้ามันมีปัญหามันก็คือกฏหมายที่มีปัญหาครับ
อยากถามกรณีถ่ายไว้เพื่อดูเองแต่มีการส่งต่อให้เพื่อนดูบ้าง ทีนี้เพื่อนดันไปอัพขึ้นโซเชียลโดยไม่ได้เซ็นเซอร์อะไร ตกลงตรงนี้ใครจะเป็นคนผิดครับ
ทุกอย่างขึ้นอยู่กับศาลที่เคารพครัช 😅
เเล้วถ้าผมวาดรูปเหมือนสาวที่นั่งอยู่ฝั่งตรงข้าม bts ละโพสจะโดนไหมครับ หรือเเค่กล้องถ่ายภาพอย่างเดียว
กฏหมายมาตอนนี้ คนบางกลุ่มกลัวโดนล้างแค้นหรือเปล่า
กฎหมายนี้รั้งไว้นานแล้ว เพราะมันวุ่ยวายครูมเครือ
กฏหมายดิ้นได้ ใช้ความคิดเห็นตัดสินหรือเปล่าครับ
พี่อาร์ม ผมโดนคนมันขึ้นไปขอดูกล้องวงจรปิดในที่ทำแล้วเอาคลิปมาลงเฟซบุ๊คอ่ะครับ รายละเอียดคือ ผมจะเอารถออก แต่มีมอไซค์มาจอดขวางและล็อคคอไว้ ผมเลยถอยโค้งมันเป็นวงกลมเลย แบบนี้ผมห้องมันได้มั้ยครับ
เห็นว่ามีกฏหมายลูกมาอีก 4 ขอสั้นๆ บ้างนะครับ
อะ อื้ม EA 555555555555555555555555555555555555555555555555
สุดท้ายนะ ไม่ต้องตีความอะไรทั้งนั้น ใช้วิจารณญาณน่ะครับทุกคน สมองกับcommon sense อะคับ
ดุลยพินิจ พูดในไทยมันอาจเอียงๆ55555
มีกฎหมายลูกออกมาเพิ่มอีก 4 ฉบับแล้วนะครับ
อยากรู้เกณ ในการนับว่าเป็นสื่อ? หรือไม่ใช่สื่ออะครับ อย่างคุณอาร์มนี่สำหรับผมก็สื่อขนาดย่อมแล้วนะครับ 555
กฎหมายไทยอะคุณ
คือนายอาร์มต่อให้เป็นเรื่องน่าเบื่อแต่พอฟังนายอาร์มแล้วสนุกอ่ะ แบบเหมือนมีเพื่อนมาเล่าสาระให้ฟังแบบสนุกๆเพลินๆอ่ะ ถึงปกติเพื่อนผมจะไร้สาระก็เหอะ
งี้ก้ออดดูเปิดเลนส์ส่องพีเพิ้ลสิคับ
กฎหมายซับซ้อน
ความเข้าใจผิดมาจากการที่การประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานน้อยมากๆ
ทำให้สื่อหรือคนที่ต้องการเอาตัวเองเป็นสื่อสร้าง content กึ่งเล่นกึ่งจริง
ทำให้คนที่ไม่เข้าใจอยู่แล้วก็อ่อนไหวง่าย เรื่องพวกนี้สังคมไทยยังต้องการความรู้อีกมาก
แต่เข้าถึงยากมาก ถ้าคนที่ไม่ได้ทำงานสาย Tech หรือทำธุรกิจจริงๆจะไม่มีทางรู้เลย
แต่จริงๆผู้บริโภคต้องรู้ใกล้เคียงหรือเทียบเท่ากับผู้ประกอบการ
เอาจริง ๆ กฎหมายทั้งหมดมันมีคำว่า "เจตณารมณ์ของกฎหมาย" คำนี้ต่างหากที่ทำให้แถบไม่ต้องมานั่งตีความเลย แต่การต้องมาตีความเพราะ "คนหาช่องโหว่ของกฎหมายต่างหาก" พยายามเอาตัวรอดหรือพยายามจะเอาผิดใคร
เจตนารมณ์นี้แหล่ะครับ ที่ทำให้ต้องมานั่งตีความ แล้วคนที่ตีความก็ตีความตามรู้สึกของตัวเองหรือไปถามกลุ่มตัวอย่างทั้งที่จริงๆ ควรตีความตามหลักวิทยาศาสตร์หรือเขียนให้มันชัดเจนแล้วตีความตามตัวอักษรไปเลย
เท่าที่ดู เค้าไว้ใช้กับองค์กรมากกว่าคนธรรมดานะ เพราะจากที่ผ่านๆก็ไม่ได้มีคนธรรมดาคนไหนโดน PDPA เลย ไอที่คุณเห็นข่าวออกหนะ เค้าแค่ขู่ และต่อให้แจ้ง PDPA ก็ไม่โดนอยู่ดี
@@Lawrence_Aprl จริงๆมันมีหลักวิธีการตีความกฎหมายอยู่ค่ะ เพราะบางกฎหมายไม่สามารถระบุชัดแจ้งได้ครบละเอียดได้จึงต้องให้นักกฎหมายตีความให้อีกที
ไม่ถูกต้องซะทีเดียว
ตัวอย่างเช่นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำหมายถึงการสร้างโรงเรือนที่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ของผู้อื่น แต่กรณีตามข้อเท็จจริงถ้าปรากฏว่าสร้างโรงเรือนในที่ของตนเองขณะสร้างไม่มีการรุกล้ำต่อมาปรากฏว่าที่ของตนเองได้ถูกแบ่งขายและส่วนที่ถูกแบ่งขายไปนั้นติดส่วนใดส่วนหนึ่งของบ้าน เช่นนี้ท่านจะปรับบทกฎหมายอย่างไรบอกว่าเป็นการรุกล้ำก็ไม่ใช่เพราะไม่มีกฎหมายใดบัญญัติถึงกรณีดังกล่าวไว้จึงต้องอาศัยการตีความและการอุดช่องว่างของกฎหมายมาใช้ นั้นจะเห็นได้ว่ากฎหมายจะไม่บัญญัติไว้จนชัดเจนเฉพาะเจาะจงเกินไปซึ่งจะนำไปปรับใช้ยากกับข้อเท็จจริงซึ่งจะแตกต่างกันไปแล้วแต่กรณีในบทบัญญัติเดียวกัน ต้องอาศัยการตีความของกฎหมายมาปรับใช้
ตำรวจไงคับ ที่เป็นปัญหา
12:20 จริงง คือถ้าจะเตือนภัยจริงๆ ก็แค่ให้เห็นภาพเบลอๆ+เสียง filter ก็ดูพอเข้าใจเหตุการณ์ได้แล้วว่าเกิดอะไรขึ้นในคลิป
การที่เห็นหน้าคนกระทำในคลิปมันคือการระบุตัวตนคนกระทำ ไม่ใช่แค่การเตือนภัยละ
ยกตัวอย่าง พรบ. คอม ที่หลายคนก็บอกว่าดี แต่พอนำมาใช้จริงแล้วเป็นไงล่ะ มีคำถามมากมายว่ารัฐออกพรบ. นี้มาเพื่อคนไทยจริง ๆ หรือเปล่า หรือตั้งใจออกมาเพื่อปิดปากคน และรักษาผลประโยชน์ของพวกพ้องตนเอง กรณี PDPA ก็คงเหมือนกัน ไม่ว่าประเทศไทยจะมีกฏหมายที่ดีแค่ไหน ตราบใดที่สังคมไทยยังไม่สามารถทำให้ผู้รักษากฎหมาย ใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียมและยุติธรรมได้ มีไปก็เท่านั้น
ฟังแล้วเข้าใจมากขึ้นเลยครับ จะได้ระวังตัวและใช้กันให้ถูก
ย้อนหลังไลฟ์จบมาต่อ PDPA ที่ฟังในไลฟ์มาแล้วก็ยังมาดูวนอีก สนุกเพลินๆ
ข้อมูลส่วนบุคคล มันจะแยกไปอีกนะ PDPA จะเน้นที่เป็น Sensitive Information มากกว่า ส่วนพวกข้อมูลทั่วๆ ไป มันจะหลวมๆ ฟีลแบบไม่ค่อยอะไร แถมมีเงื่อนไขตามสมควร ตามธรรมชาติของกิจกรรมนั้นๆ อีก เช่น การขอให้ลบข้อมูลผู้ป่วย HN No. ในระหว่างการรักษา ก็ใช่ว่าจะทำได้ ไรงี้อะ
พรบ จะมีสองส่วนเลยนะครับ ทั้งข้อมูลส่วนบุคคลกับข้อมูลอ่อนไหว
ปัญหาคือรัฐไทยไม่ได้ดูที่เจตนา ไม่งั้นธนาธรที่ถือหุ้นสื่อแล้วบริษัทไม่ได้ทำสื่อมาแล้ว 2ปี ไม่โดนปลดหรอก
บาง app
มีปุ่มให้กดยืนยัน การอนุญาตใช้ข้อมูลส่วนบุคคล ผ่าน app กดแบบยืนยันง่ายๆ ไม่ต้องเสียตังค์
แต่พอคิดจะถอนการอนุญาต กลับไม่มีปุ่มให้กดยกเลิกใน app
แต่แสดงเป็นข้อความ ประกาศว่า "โปรดโทรแจ้งพนักงานที่เบอร์ .... (เบอร์ 4 หลัก ที่ต้องเสียตังค์)"
แหม่ หัวหมอจัดเลย!!! โทรมาสิ จะได้เก็บกินค่าโทร
ฟังแล้ววุ่นวาย ไม่ถ่ายคลิป ถ่ายใครเลยอ่ะ ง่ายดี ไม่ต้องมีปัญหาทีหลัง
ถ่ายได้แต่ห้ามลงโซเชียล จะเผยแพร่ต้องให้เจ้าหน้าที่ นักข่าวเท่านั้นจบ
กรณีไลฟ์ ต้องมีป้ายแจ้งในพื้นที่ ที่ไลฟ์ครับ แบบเดียวกับ cctv ครับ เพื่อให้คนในพื้นที่รับทราบ
กรณีหยิบกล้องมาไลฟ์ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเลย ก็ดูตามเจตนา ตามที่พี่อาร์มว่าครับ
กรงขังหมาชัดๆ ไม่มีใครมาแงะเจตนา ในหัวผมได้หรอกครับ
มีเรื่องนึง แล้วทำไมเค้าไม่ระบุเพิ่มไปง่าย ๆ เลยครับว่าถ้าคุณจะมาฟ้อง pdpa คุณจะต้องไม่ผิดจริง ๆ แต่ถ้าคุณผิดจริงตามกฏหมายอะไรก็แล้วแต่ไม่ว่าจะ ผิดกฎจราจร ทำร้ายร่างกายผู้อื่น ขโมยของ การฟ้องจะไม่มีผลอะไรทำนองนี้อ่ะครับ ผมว่าแบบนี้น่าจะโอเคอยู่นะเรื่องคนผิดจะได้เคลีย ๆ ไป จะได้ไม่คลุมเครือ
ผมว่าเพราะหลักการของ PDPA ไม่ได้ตั้งใจจะเอามาใช้ฟ้องกันระหว่างบุคคลครับ แต่มีเมืองไทยนี่แหละนี่ความคิดบรรเจิดเห็นข้อกฎหมายแล้วนึกว่าใช้ได้หมด ก็คงต้องรอให้ทีมที่ออกข้อกม.มีเคสกรณีต่าง ๆ มานำเสนอให้ความรู้ประชาชนมากขึ้นล่ะครับ ถึงจะเข้าใจตรงกันได้
@@wpinj3113 ต่างประเทศก็มีปัญหา
@@wpinj3113 ต่างประเทศก็มีปัญหา
ตอบทั้ง 2 ท่านครับว่าขนาดตปท.เริ่มก่อนเราหลายปียังมีปัญหาเลยใช่มั้ยครับ ไม่แปลกที่ของเราก็จะมีปัญหา แต่ต่างประเทศดีกว่าที่มีการตัดสินที่เป็นธรรมกว่า ส่วนของไทยทำใจครับ เงินหนาได้เปรียบเสมอ
จากใจ นักศึกษาวิชา กฎหมาย ช่องโหว่มันเยอะครับ คิดง่ายๆ ถ้า ให้ ศาลตัดสิน คดี แล้ว ศาลเข้าข้างหรือ ลำเอียง ผลจะ เปลี่ยนไปเลย แค่นั้น อะ ของ ไทยอะ ศาล มี อำนาจเยอะ ไหนจะ อิงฎีกาอีก ถ้า คดี แรก ศาล เข้าข้างคนผิด คดีอื่นๆใน กรณีเดียวกัน ก็จะ กลายก็ ตัดสินเหมือนๆกันหมด
คุณเป็นนักศึกษากฏหมายจริงหรอครับ 555แค่รูปประโยค วิธีการเขียน การแบ่งคำเว้นวรรคคำก็มั่วซั่วไปหมด ดูไม่เหมือนคนมีความรู้เลยนะครับ อย่าพยายามไปแอบอ้างสร้างตัวตนในโลกอินเทอร์เน็ตเลยครับ มันตลก555
เรียนกฎหมายมาจริงดิ? ทำไมอ่านแล้วรู้สึกแปลกๆ คนที่เค้าเรียนกฎหมายเค้าไม่ต้องเรียนการเขียนสำนวน หรือเรียบเรียงประโยคหรอ? เราก็ไม่รู้เพราะเรียนแค่กฎหมายธุรกิจ แต่ที่แน่ๆเขียนคำเว้นคำเค้าไม่ทำกันนะ
ไม่เชื่ออะว่าเรียนกฎหมายมา
คือผมว่าคอนเท้นที่เขาเขียนมันก็ถูกนะ ถ้ามีคำพิพากษามาคดีนึงแล้ว ในอนาคตมันก็เอาไปใช้ต่อๆกัน ยืนกันมั่วๆ ไปเรื่อยๆ
คำพิพากษาต่อจะให้เป็นฎีกาก็กลับกันได้คับ ถ้าคำพิพากษาที่มีอยู่หลักของมันยังไม่ดีพอ ประเทศไทยเราไม่มี doctrine of precedent นะครับ เเล้วก็ส่วนตัวผมมองว่าช่องโหว่ทางกฎหมายข้อเสียก็มีเเต่ข้อดีก็มีเหมือนกัน เเละมันน่าจะไม่เกี่ยวกับศาลลำเอียงนะคับ
หวังว่าคนที่เข้าใจแบบผิดๆ จะเข้าใจมากขึ้นนะ
จริงๆ มันคิดไม่ยาก ผิดไม่ผิด อยู่ที่จุดประสงค์ว่า ดี หรือ ร้าย
แต่ที่เป็นปัญหาคือกฏหมายเลือกจะคุ้มครองใคร...
วันที่ไลฟ์มาฮาตอนหลัง ที่หลายๆเว็บยังทำผิด PDPA กันอยู่ เก็บคุกกี้แบบเนียนๆ และยังไม่มีให้คนใช้เลือกได้ว่าอนุญาตให้เก็บคุกกี้อันไหนบ้าง (มัดมือชกเก็บทุกอย่าง ทั้งที่จริงๆมี PDPA แล้วต้องปรับเปลี่ยนทั้งหมด) และแน่นอนว่า สปอนเซอร์ของเราบางอันนั้นก็ไม่รอด 😂(ไม่รู้ตอนนี้แก้ไขแล้วรึยังนะ)
แล้วคุกกี้มันคืออะไรคะ
กฎหมายมีเจตนารมณ์ ป้องกันนักไลฟ์สดมโนว่าตัวเองถูกต้อง ไม่ถนัดใช้กฎหมายแต่ถนัดหากินเป็นกลุ่ม เพจต่าง ๆ ปั่นกระแสลบเพราะเสียประโยชน์ ปกติหากินจากการปั่น
ต้องมีคำพิพากษาบรรทัดฐาน เป็นตัวอย่างสักเคส เพื่อให้คดีต่างๆที่เกิดมาลักษณะเดียวตอนหลังได้ตัดสินตามครับ
กฎหมายมันดีนะ แต่มันมีปัญหาตรงคนตัดสินที่ไม่มีความน่าเชื่อถือ หรือไม่สามารถทำให้คนเชื่อมั่นได้ ก็รู้ๆอยู่ระบบการตัดสิน
กฎหมายส่วนมากมันดี มันสากลใช้กันในประเทศที่พัฒนา แต่การบังคับใช้ของเจ้าหน้าที่กับความเข้าใจของปรระชาชนต่างหากที่มีปัญหา ... เสมอมา
น้องผู้หญิงฟ้อง PDPA ปกป้องตัวเอง เพราะว่าน้อง ผญ เสียหาย คนรอบตัวรับรู้ พ่อแม่อีก แถมในคลิปน้องผู้หญิงก็แทบจะไม่ใส่อะไรแล้ว
ถ้าเป็นพลเมืองดีจริง ๆ ก็คุยกับเหยื่อก่อนไหม ว่าเหยื่อจะเอาความหลัวไหม หรืออนุญาตให้ลงโซเชี่ยลไหม
นี่ไม่ถามเจตนาเหยื่อเลย ความเป็นพลเมืองดีไม่ได้เป็นบัตรผ่านให้ละเมิดสิทธิคนอื่นนะ โดยเฉพาะสิทธิของเหยื่อ ที่เป็นผู้เสียหายเต็ม ๆ
ที่ลงไปคิดว่าเหยื่อจะเสียหายน้อยลงหรอ นี่ว่าไม่นะ
แค่ว่าเรื่องในครั้งนั้นก็จะเงียบไปเลยรึเปล่า
@@marumaru8338 คือยังไงหรอครับผญเขาจะเเจ้งความไม่ได้หรอครับ
ข้อดีของการลงโซเชียลของเคสนี้คือ ทำให้เราๆได้รู้ว่ามีเหตุการณ์แบบนี้ และทำให้เจ้าหน้าที่กระตือรือร้นในการทำงาน(เพราะเป็นกระแส) ส่วนตัวเป็นผมผมไม่ฟ้องแต่จะคุยจนกว่าเขาจะลบคลิปให้
@@showkun1793 มีหลายกรณีครับ
1. ผญไม่แจ้งความ
2.แจ้งความ เรื่องเงียบ
3.แจ้งความแต่ไม่ดัง คนที่ถ่ายคลิปแต่ไม่ลงเพราะกลัวโดนฟ้องไม่รู้ว่ามีคนต้องการคลิป
@@marumaru8338 มันไม่ใช่ปัญหาของพลเมืองดีครับ ถ้าถ่ายไว้ก็ส่งให้ผู้เสียหาย แล้วมันก็จะเป็นเรื่องของผู้เสียหายแล้วครับว่าอยากจะทำอะไรกับคลิปที่มี ถ้าผู้เสียหายอยากให้เรื่องมันดัง เขาก็โพสต์เองได้ครับ แต่ถ้าเขาไม่อยากโพสต์ลง เราไปจัดการข้อมูลส่วนตัวของคนอื่นไม่ได้ครับ
สงสัยครับ ดูจบก็สงสัยอยู่ดี อย่างเคสที่มีคนไลฟ์ใน twitch ไลฟ์ชีวิตประจำวันแต่มีบางครั้งที่เจออะไรแปลกๆ ตัวคนไลฟ์อ้างว่าถูกตามหรือถุกแอบมองอะไรประมาณนี้ สงสัยครับว่าในเคสแบบนี้ถ้าเจ้าของไลฟ์พุดเลยว่าถูกแอบมองแอบตาม แล้วแบบนี้คนที่ตามสามารถมาฟ้องได้มั้ยครับโดยการอ้างว่าตัวเองไม่ได้ตาม แล้วในกรณีนี้จะวัดไงครับว่าเค้าแอบตามจริงรึเปล่า?? แล้วใครจะถูกจะผิดไงครับ ??
ก็ลองคิดว่าคุณแค่เผอิญเดินไปทางเดียวกับคนที่ไลฟ์พอดีแล้ว อยู่ๆมีคนDMมาหาคุณเพียบเลยว่า"ไอ้สโตกเกอร์" ทำไงอะ?
ถ้ารู้สึกไม่ปลอดภัยจริงๆ สิ่งที่เขาควรทำคือ ปิดไลฟ์แล้วไปแจ้งเจ้าหน้าที่ครับ55 ไม่ใช่ไลฟ์แล้วหวังให้คนในแชทแจ้งให้
ถ้าเห็นหน่าก็ผิดครับ ต่อให้ไม่มี pdpa ก็ยังมีกฎหมายหมิ่นประมาท
ซึ่งโดยทั่วไปถ้าสงสัย รีบแจ้ง จนท. ครับ ไม่ใช่มัวแต่เปิดไลฟ์แล้วเดาไปเรื่อยเปื่อย
อันนี้ไม่เกี่ยวกับ PDPA แล้วครับ แต่มีหลักฐานว่ามีบุคลต้องสงสัยตามอยู่ แล้วมีหลักฐานแน่ชัด ไม่ใช่แค่ความรู้สึก ก็แจ้งความปกติเลย
@@Winnerpowenite จริง พวกหลอน ขี้มโนว่ามีคนตาม คนมองยิ่งมากขึ้นในสังคมเมือง
คำถามแรกฟ้องได้มั้ย ตอบฟ้องได้ ตามที่เขาอ้าง อาจฟ้องหมิ่นประมาท ส่วนpdpa จากที่ผมศึกษาเบื้องต้น น่าจะไม่เข้าpdpa (ความคิดส่วนตัว)
แต่หากเข้าpdpa ทางแก้มีข้อยกเว้น* ม.24
เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล pdpa ม. 24 (2)
สังเกต คำว่าบุคคล กฎหมายไม่ได้ระบุเฉพาะผู้เสียหายอย่างเดียว เหมือนช่วยป้องกันพลเมืองดีอยู่นิดหน่อย *(เตือน)แต่ไม่ใช่คุณจะกล่าวหามั่วๆนะ ไม่อย่างงั้นคุณก็โดนเข้าฟ้องหมิ่นประมาทกลับหรือกฎหมายอื่นอีก และห้ามเผยแพร่ลงโซเชียลหรือต่อสาธารณชน ซึ่งทำให้ผู้อื่นรู้ถึงข้อมูลส่วนบุคคล เผยแพร่ได้เพียงผู้มีอำนาจหรือตำรวจได้รับรู้ เพื่อป้องกันเหตุร้ายแก่ผู้อื่นได้ (แนะนำ)ถ่ายคลิปให้เขากลัวก็พอแล้ว อยากพูดเยอะ พูดแค่หยุดนะ ไม่งั้นฉันจะแจ้งความ ทุกอย่างฉันบันทึกเป็นหลักฐานหมดแล้ว หยุดซะ
ตัวอย่าง* ถ้าเราเห็นผัวเมียทะเลาะกันเช่นตามข่าว แล้วมีการทำร้ายร่างกาย คนถ่ายคลิปพลเมืองดีจะถ่ายคลิปเพื่อไม่ให้มีการทำร้ายร่างกาย ป้องกันอันตรายแก่ร่างกายบุคคล แม้ผู้ถ่ายจะไม่ใช่คนที่เสียหายก็ตาม แต่ก็ได้รับการยกเว้น สามารถทำได้ตามม.24 *เน้น*ข้อยกเว้นไม่ใช่คุณมีอิสระในการเผยแพร่ ถ้ากระทบสิทธิหรือเสรีภาพของเขา คุณก็ไม่ได้รับการยกเว้น เช่น การเผยแพร่ลงโซเชียลทำให้คนมาด่าหรือต่อว่าคนที่ถูกถ่าย อันนี้กระทบเขาแน่นอน
คำถามที่สองวัดได้ไงว่าเป็นจริงมั้ย ตามกฎหมาย การพิสูจน์ว่ามีคนตามหรือถูกแอบมองจริงมั้ย(เป็นจริงตามฟ้องมั้ย) ต้องใช้พยานหลักฐานต่างๆมาพิสูจน์ ต่างคนต่างอ้างกันมาเลย โดยศาลจะเป็นคนตัดสินว่าใครมีหลักฐานน่าเชื่อถือกว่า แล้วจะได้ข้อสรุปว่าใครถูกใครผิด (เฉพาะในทางกฎหมายนะ)
เพราะว่าข้อเท็จจริงในชีวิตจริง กับข้อเท็จจริงในทางกฎหมายต่างกัน คุณต้องแยกให้ออก บางครั้งคนไลฟ์อาจโดนตามถูกแอบมองจริงๆในชีวิตจริง ซึ่งเขาควรเป็นฝ่ายถูกในชีวิตจริงๆ แต่ถ้าเขามีหลักฐานไม่หนักแน่นพอ คนไลฟ์ก็อาจโดนฟ้องกลับฐานหมิ่นประมาทก็ได้ ในทางกฎหมายเขาจึงอาจเป็นฝ่ายแพ้ก็ได้
สิ่งผมจะสื่อ กฎหมายเขาดูพยานหรือหลักฐานที่ชัดเจนเป็นความสำคัญอันดับต้นๆ ไม่ได้เอาความรู้สึกส่วนตัว หรือความมโนมาพิจารณา(อาจมีรายละเอียดปลีกย่อยอื่นอีกที่สำคัญ)
อาจอธิบายแล้วไม่เข้าใจ หรือหากให้ข้อมูลที่ผิดพลาดต้องขออภัย เพราะทั้งหมดที่อธิบายมาจากการเข้าใจของตัวเอง ทั้งนี้ ทั้งหมดผมตีความจากตัวบท โดยไม่ได้ตีความไปถึงจริยธรรมหรือคุณธรรมอันดีหรือประโยชน์แห่งความยุติธรรม ซึ่งส่วนนี้จะเป็นหน้าที่ของศาลที่จะใช้ดุลพินิจเป็นรายกรณีหรืออาจเป็นบรรทัดฐานอันดีในอนาคตที่อาจเกิดขึ้นได้ 🙏🙏
ประเด็นคือการถ่ายที่มีการโพสทำให้ผู้อื่นเสียหายโดยที่ไม่ใช่ข้อเท็จจริงหรือเป็นข้อเท็จจริงแค่ส่วนหนึ่ง แค่การไม่เป็นข้อเท็จจริงทั้งหมดแล้วโพสก็ไม่สมควรถูกต้องแล้ว ไอ้การที่คิดว่าตัวเองถูกแล้วโพสเพื่อหาพรรคพวกนี่มันเป็นวัฒนธรรมของสมัยนี้ใช่ไหม?
ภาพปก ยอดเยี่ยม 🤣🤣👍👍👍👍
ความเห็นผมนะ กฎหมายนี้ไม่ได้มีปัญหาครับ แต่ปัญหามันอยู่ที่คนไทยครับ 55555
ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ในประเทศเรา น่ากลัวกว่าตัวบทกฏหมายสะอีก
โจรคนร้ายหรือวัยรุ่นตีทำร้ายคนอื่นถูกเบลอหมดในไทย แล้วประชาชนจะระวังตัวในสังคมยังไง สังคมไทยประหลาดสุดในโลกนี้.
PDPA ก็บัญญัติเลย ว่าไม่สามารถใช้กับส่วนบุคคลได้ กฎหมายนี้ไว้บังคับใช้กับบริษัทที่เก็บข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าเท่านั้น
ส่วนเรื่องทำให้เสื่อมเสียให้ใช้หมิ่นประมาทเอา จบเลยครับ
จากที่ฟังเคสต่างประเทศกล้องเก็บไว้ดูเองไม่ได้โพส+กับส่งเป็นหลักฐานแบบปิด ศาลยังตัดสินให้ผิด
ศาลก็ไม่ดูเจตนาเลย กว่าจะได้ความเป็นธรรม....
เพราะมันมีกฏหมายว่าห้ามถ่ายหรือบันทึก ของชาวบ้านถ้าไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งในกรณีนี้มันผิดเต็มๆ เเม้จะไม่เกิดเหตุอะไร เเต่เมื่อเกิดเหตุเท่านั้นถึงจะได้รับข้อยกเว้น มันเลยต้องลากยาวกันไป
สิ่งหนึ่งเลยที่เห็นบ่อย ๆ คือ พวกทำคอนเทนต์ ถ่ายรูปกับเพื่อน แต่ทำเบลอหน้าแล้วก็บอกเดี๋ยวโดน PDPA
ตลกโปกฮา แต่หารู้ไม่ว่ามันยิ่งสร้างความเข้าใจผิดในสังคม
กฏหมายออกไปทางช่วยคนทำผิดกับช่วยตำรวจ จะได้ไม่ต้องโดนด่าว่าทำงานช้าไรงี้ ก็เห็นๆกันอยู่ถ้าไม่ลงโซเชียล ก็ไม่ทำงานกัน
กฏหมายอะดีครับ แค่ว่าสื่อกับผู้พิทักษ์สันติราษฎร์มันไม่ค่อยเอาไหน
จริงครับบอกเลยว่ากฎหมายดี(ถ้าอยู่ถูกประเทศ)
พอให้เบลอหมดเหมือนคนมีเงินจะได้เปรียบเลย ถ้าคนทำผิดเป็นคนรวยละ โพสแบบเห็นตัวไปเลยกับเบลอ ก็เห็นความต่างขึ้นมาเลย
แบบคนมีอิทธิพลเรื่องก็จะเงียบง่ายเลยทีนี้
เพราะไม่ชัดเจน แต่เจ้าตัวรู้ตัว ดีไม่ดีคนถ่ายโดนตามเจอโดนเก็บ ☠
(แค่ความคิดเห็นส่วนตัวนะครับ แค่รู้สึกว่าช่องโหว่มันดูมีเยอะเกินไปในตอนเริ่มใช้)
ก็เพราะ.... นั่นเป็นสิ่งที่ไม่ควรจะมีครับ..... หมายถึง การที่คนมีอิทธิพลมาลบคุณออกไปจากจำนวนประชากรน่ะนะ555
เอาจริงดิ คิดงี้อ่อ มันไม่ได้ง่ายขนาดนั้น
ก็เพราะมโนไปไกลขนาดนี้ไง คนเค้าเลยเข้าใจผิดกันไปใหญ่ ต้องเข้าใจว่าบางคนเค้าเชื่อเรื่องมโนเป็นตุเป็นตะเลยนะ
ตีความ และหลีกเลี่ยง คือหลักสำคัญถ้าใครจะมีปัญหาจริงๆ คนคนนั้นคือคนที่จะหาผลประโยชน์จากช่องโหว่นั่นแล้วล่ะ การถ่ายเพื่อเป็นหลักฐานมันต่างกับการถ่ายแล้วโพสเพื่อหาพรรคพวกอยู่นะ.
@@nekoyama5460หลายคนรวยบ้างคนทำผิดไม่เห็นโดนอะไรเลยครับ
ในข่าวที่ผู้หญิงไปถ่ายคนตีกัน เจตนาแรกที่โพสคือเป็นอุทาหร แต่พอคนในคลิปขอให้ลบแล้วคนโพสดันไม่ยอมลบ เจตนาเลยเปลี่ยน ไอ้หมอนั่นเลยไปแจ้งความ
คนพวกนี้ ไม่ได้โพสต์เป็นอุทาหรณ์ไรหรอกครับ เอาแสงล้วนๆ ได้มีคอนเทนท์เรียกยอดไลค์ยอดแชร์แล้วมันอิ่มเอม ให้เป็นอุทาหรณ์มันเป็นแค่ข้ออ้างสวยหรู
@@DixxyV ถ้าเห็นคนตีกันตายถ่ายได้มั้ย
@@supernova_TNK ถ่ายได้ แต่เอาไปอัพลงโซเชียลไม่ได้ ยกเว้นแต่จะเบลอหน้าให้คนมองไม่ออกว่าใครเป็นใคร ถึงจะอัพได้
ถ้าใครเคยดูคลิป เรื่องพักเท้ารถบิ๊กไบค์ที่ตำรวจไทยบอกว่ามันผิด กฏหมายอันนี้ก็ไม่ต่างกันหรอก
PDPA มันแค่เก็บหรือเอามาประมวลผลก็ผิดแล้วไม่ใช่หรอครับ ไม่ต้องรอเผยแพร่
สื่อน่าจะเอาเวลาไปทำข่าวว่ายังมีองค์กรไหนยังทำ ผิด PDPA อยู่บ้าง มีหลายที่เลยเช่นบางธนาคาร ไม่มีช่องให้ติ๊กยอมรับหรือไม่ยอม มีแต่ให้เซ็นแล้วจบเลยซึ่งผิด บาง app shopping ก็ขอดูข้อมูลที่เก็บไว้ไม่ได้
ปัญหาคือคำว่าเจ้าหน้าที่ กับ ดุลพินิจ ในไทยไม่ควรให้เจ้าหน้าที่มีดุลพินิจ
คำว่า สือ เนี่ย หมายถึงพวก สำนักข่าว ช่องข่าว ไรงี้ใช่ไหมคะ แล้วพวกบุคคลดังๆ เพจดัง หรือไม่ดังก็ได้ ที่เขาเอาข่าวมาเผยแพร่ ถือเป็นสื่อไหมคะ
เป็นพลเมืองดีก็เป็นไปครับ แต่อย่าอยากแชร์ไปหมดทุกอย่าง ถ่ายเป็นหลักฐานได้ แต่ไม่โพสต์ลงโซเชียลมั่วซั่ว
กฏหมายไทยดีหมดครับ แต่พอบังคับใช้ มันจะแปลกๆตลอด
บางคนแค่ เข้าค่ายเป็นยังไม่ผิด แต่ศาลพิจารณาว่าผิดเพราะคิดร้าย
บางคนทำผิด แต่ศาลบอก ไม่มีเจตนาร้าย ก็ไม่ผิด
นี้แหละกฏหมายไทย ที่มีให้เห็นจากที่ผ่านๆ
นึกถึงเคจรองเท้าเหมือนกันเลย สงสารพี่เขามากมีสกุ๊ปไปคุยกับแกหลังเรื่องเกิดมานานแล่วโครตน่าสงสารอยากให้ตามฟ้องให้มันตูดบานไปเลย
โครตเกลียดคำว่า"ดุลยพินิจ"ในกฏหมาย ถ้าจะให้ตีความตามอักษรก็ระบุรายละเอียดให้ชัดเลย นี้แปลว่า "ดุลยพินิจ" = "ลมฟ้าอากาศของเจ้าหน้าที่"
ไลฟ์จบ คลิปอัพเลยยย
สุดท้ายบริษัทห้างร้านทั้งหลายมันก็ให้เซ็น consent ไม่งั้นไม่ให้ทำธุรกรรมอะไรต่อ
แล้วจะออกกฏหมายมาเพื่อ? (คุณสรยุทธกล่าวไว้)
อย่างน้อยคุณก็ได้รับรู้ไง ว่าเค้าจะถ่ายคุณ และเอาข้อมูลของคุณตรงไหนไปบ้าง หน้าที่ของคุณคือ"อ่าน"ก่อนที่จะเซ็นยินยอม
เห้ยย~~~~ ผมดูพี่มาหรายเดือนมากๆแล้ว แต่เพิ่งรู้ ผมลืมกดติดตาม ขอโทดคับ55555
มีข้อดีแต่ใช้จริงกับประเทศที่มีการคอลัปชั่นติดท๊อปของโลกอย่างไทยไม่ได้ไง นี้แหละประเด็นมันแก้ไม่ได้ไง มีกี่เคสแล้วหละที่ลงโซเชียลแล้วเป็นข่าวจนคดีมันคืบหน้าอะ บอกตรงๆไม่ต้องโลกสวยกฏหมายนี้ใช้จริงในไทยไม่ได้
ชอบรูปปกมากค่ะ
กราบพี่อามมากค่ะ พี่อามคือแหล่งความรู้ที่เรามารับประจำ
ถ้าคู่กรณีเป็นตำรวจหรือคนมีตำแหน่งใหญ่โต ไม่เอาลงโซเซียล แต่ไปให้ตำรวจ เราจะแน่ใจได้ยังไงว่าเค้าจะไม่ช่วยกัน หรือเราจะโดนเก็บซะเอง เด๋วนี้คนก็ไม่มั่นใจในองกรนี้กันเยอะนะ อุอุ
ความผู้หญิง เป็นคนยังดี 55+ 🤣🤣🤣
เข้าใจผิดเรื่อง ผู้เสียหายฟ้องคนท้ายนะครับ เพราะโพสต์ลงโซเชียล โดยที่เจ้าตัวไม่อนุญาต ทำให้เขาเสียหาย เขาเลยฟ้องตามสิทธิ์ได้ มันชัดเจนแล้วว่า ห้ามโพสต์ลงสื่อ แต่ไม่ได้ห้ามถ่ายนะครับ เพราะมีหลายคลิปที่สื่อแค่มุมเดียว แต่พอเรื่องจริงเฉลย ไม่ได้เป็นตามที่คลิปนั้นแจ้งไว้ แต่ความเสียหายเกิดขึ้นไปแล้ว
ถ้าบ.เก่าเราเอาคลิปเก่ามารีรันขายของมีเราติด แต่เราลาออกมาเดือนนึงแล้วบ.เก่ายังเอาคลิปที่มีเราไปรีรันขายของอยู่เลย แบบนี้บ.เก่าผิดมั้ยคะ
กฎหมายปกป้องโจร ถ้าคุณถ่ายโจรขณะทำความผิด คุณจะโพสต์ประกาศตามหาเองไม่ได้ ต้องแจ้งตำรวจอย่างเดียว แล้วมันจะมีประโยชน์อะไรกับกฎหมายนี้
กฎหมายปกป้องพลเมืองโดยท่วไป กรณีมนุษย์กล้องถ่ายประจานทั้งที่ไม่รู้สี่ไม่รู้แปดแล้วเดือดร้อนเยอะมาก มากกว่าเคสถ่ายโจรอีก
สรุปไม่มีถูกผิด
มีแต่ถูกมองว่าผิด ถูกมองว่าถูก
ด่านนี้ยิ้มเลย
คีย์เวิร์ด "เจ้าหน้าที่"
คือคลิปในข่าวดัง เห็นท่อนบนเปลือยไกลๆ แล้วเห็นหน้าเหยื่อชัดเจน แล้วเค้าให้ลบก็ไม่ลบ แถมประจานเพิ่ม เค้าเลยฟ้องครับ
ถ้าศาลบ้านเราเจ้าหน้าที่บ้านเรามันดีจริง คนไม่ด่าหรือกังวลกฎหมายนี้แน่นอน ผมล่ะปวดหัวคนโลกสวยบางคนอยากรู้ว่าเขาอยู่ประเทศเดียวกันไหม
เจ้าหน้าที่บางคนยังเชื่องช้า
จริงๆแล้ว การโดนถ่ายคลิปถ่ายรูปไปลงโซเชียลแล้วเดือดร้อนนี่ มันก็ได้กฎหมายหมิ่นประมาทครอบคลุมอยู่แล้วมั้ง PDPA ไม่น่าครอบคลุมนะ
จะผิดอะไรจะปรับอะไร อยู่ที่เจ้าหน้าที่ตัดสินความถูกต้อง
ผมว่าเขาก็ระบุชัดเจนแล้วนะ ถ่ายไว้เป็นประโยชน์สาธารณะไม่ผิด แต่ถ้าลงโซเชี่ยวผิดทันที ต้องส่งให้นักข่าวหรือตำรวจครับ
เอาอคติเป็นที่ตั้ง คนไทยงี้แหละ
ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ แล้วดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ขึ้นอยู่กับอะไรน้าาา
รู้ๆกันอยู่
อุ๊ยยยย
$$$$$ ไม่รู้ ไม่้รู้
คฟ.ทำร้ายประชาชน มีพลเมืองดีถ่ายลงโซเชียลให้เห็นความเลว จะโดนฟ้องpdpaไหมครับ
คุณลุง คุณป้า ผู้สูงอายุ ถ่ายวิดีโอเตือนภัยอะไรสักอย่าง แต่ลงไม่ได้ต้องมานั่งแต่งวิดีโอเบลอภาพ เบลอเสียงผู้คน แลดูไม่ค่อยจะเมคเซ้นต์เท่าไหร่
พวกช่องแกล้งคน ทดสอบสังคมจะได้หมดไป คนโดนแกล้ง คนโดนทดสอบไม่ได้อะไรเลย เสียทั้งเวลา เสียทั้งความรู้สึก
โดเนทมันลามมาจากช่องพี่ซันแล้วววว
พี่อามช่วยบอกวิธีหน่อยคับ ช่องyoutubeโดนแฮคเปลี่ยนเมลสำรองเบอร์โทรหมดเลย กู้คืนไม่ได้คับ
ผมอธิบายในเฟสจนเหนื่อยอ่ะ จนยอดไลน์น้อยลง เพราะคนคิดว่าผมเป็นสลิ่ม
ช่างภาพถ่ายรูปงานแต่ง ติดแขกในงาน ลงรูปในportfolio โดนฟ้องมั้ย
เห็นสปอนเอเปกแล้วเส้า
อยากให้คลิป ที่เกี่ยวกับดราม่ารายวัน มาเร็วๆ เอาซัก 3 4 วัน หลังดราม่า ก็ยังดีคับ อันนี้ผ่านไปเป็นอาทิตย์แล้วง่ะ ความอินในคอนเท้นมันน้อยลง
ไม่ได้เร่ง ไม่ได้ว่า นะ แค่เสนอเฉยๆคับ ปล่อยความเห็นผมผ่านไปก็ได้
ต่างประเทศไม่มีฟ้องGDPRเพราะมันมีกฏหมายคุ้มครอง ผลเมืองดีนี่ครับ
มันต่างกันอยู่นะ เอาคลิปมาเป็นหลักฐานกับเอาคลิปมาประจาน
ถ้าเอาหลักฐานไปให้ตำรวจให้นักข่าวแล้วไม่มีใครสนใจต้องต้องทำไงแต่ห้ามประจานนะ
@@user-lv3wo8kw2h คนที่อยากให้เป็นข่าวคือใคร
ผู้เสียหายอยากให้เป็นข่าว หรือคนถ่ายอยากให้เป็นข่าว
@@user-lv3wo8kw2h ฟ้องตำรวจมาตรา 157 สิ ถ้ามีหลักฐานการกระทำความผิดของอาชญากรแล้วตำรวจละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ ก็ฟ้อง
@@energyvampire7831 แล้วถ้าตำรวจบอกว่าทำคดีนี้อยู่ ต้องหาหลักฐาน ต้องเรียกผู้ต้องแต่เขาไม่มาครับ ฟ้องม.157ไปก็ผิดเองสิครับ
@@energyvampire7831 157 ทฤษฎีแข็งแกร่ง ใช้จริงมันเคยใช้กับใครจริงจังเยอะขนาดไหนหรอครับ
สรุปต้องไม่ฟ้อง PDPA แต่ไปฟ้อง "หมิ่นประมาท" แทน
ถ้า Saul Goodman อยู่ในเมืองไทยงานคงเยอะน่าดู
ในรัฐที่ใช้นิติสงคราม5555555 ใครผิดไม่ผิดไม่รู้กูฟ้องมึงก่อน 20 คดี มึงขึ้นศาลใต่สวนจนไม่เป็นอันทำมาหากินละ ถ้าระดับองค์กรมันดีใง แต่ระดับคนปกติ
กฏหมายมันดี แต่คนไทยยังไม่คุ้นชิน เลยไม่รู้ว่าอะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้
เรื่องกล้องวงจรปิดที่พี่อาร์มเล่า ผมว่าอยู่ที่เจ้าของบ้านที่ถูกถ่ายว่ายอมความหรือไม่ น่าจะจบแค่ตรงนี้นะ
แล้วเกิดแบบ เจ้าหน้าที่รัฐกำลังกระทืบประชาชนแล้วประชาชนไปถ่ายนี้ผิดไหมครับ
การบัญญัติ พรบ ให้กว้างๆไว้ก่อน เชื่อผมเถอะครับว่าดีแล้ว หากบัญญัติให้มันแคบวันจะส่งผลในสักวันแแน่ๆ
เอาจริงเรื่องตรรกะคนไทยบางส่วนเขาป่วยกันมากอ่ะ อยากเป็นพลเมืองดีแต่อยากโพสเฟส มันไม่ใช่การเตือนภัยมันแต่มันเป็นการประจาน
เเล้วถ้าอนากเตือนภัยต้องส่งไปที่ไหนครับ
@@supernova_TNK ก็ตามในคลิป9อามเลยครับ ส่งให้สื่อ โพสต์เองโดยเบลอหน้าและเสียง
เจตนา มันพิสูจน์เชิงประจักษ์ยังไงครับ
ดุลพินิจล้วนๆแม้แต่นายอาร์มยังไม่รู้วิธีรอดเลย ถ้าอยากไลฟ์สดในที่สาธรณะ
อ่อเจตนามันดี แต่ถ้ามันมีปัญหามันก็คือกฏหมายที่มีปัญหาครับ
อยากถามกรณีถ่ายไว้เพื่อดูเองแต่มีการส่งต่อให้เพื่อนดูบ้าง ทีนี้เพื่อนดันไปอัพขึ้นโซเชียลโดยไม่ได้เซ็นเซอร์อะไร ตกลงตรงนี้ใครจะเป็นคนผิดครับ
ทุกอย่างขึ้นอยู่กับศาลที่เคารพครัช 😅
เเล้วถ้าผมวาดรูปเหมือนสาวที่นั่งอยู่ฝั่งตรงข้าม bts ละโพสจะโดนไหมครับ หรือเเค่กล้องถ่ายภาพอย่างเดียว
กฏหมายมาตอนนี้ คนบางกลุ่มกลัวโดนล้างแค้นหรือเปล่า
กฎหมายนี้รั้งไว้นานแล้ว เพราะมันวุ่ยวายครูมเครือ
กฏหมายดิ้นได้ ใช้ความคิดเห็นตัดสินหรือเปล่าครับ
พี่อาร์ม ผมโดนคนมันขึ้นไปขอดูกล้องวงจรปิดในที่ทำแล้วเอาคลิปมาลงเฟซบุ๊คอ่ะครับ รายละเอียดคือ ผมจะเอารถออก แต่มีมอไซค์มาจอดขวางและล็อคคอไว้ ผมเลยถอยโค้งมันเป็นวงกลมเลย แบบนี้ผมห้องมันได้มั้ยครับ
เห็นว่ามีกฏหมายลูกมาอีก 4 ขอสั้นๆ บ้างนะครับ
อะ อื้ม EA 555555555555555555555555555555555555555555555555
สุดท้ายนะ ไม่ต้องตีความอะไรทั้งนั้น ใช้วิจารณญาณน่ะครับทุกคน สมองกับcommon sense อะคับ
ดุลยพินิจ พูดในไทยมันอาจเอียงๆ55555
มีกฎหมายลูกออกมาเพิ่มอีก 4 ฉบับแล้วนะครับ
อยากรู้เกณ ในการนับว่าเป็นสื่อ? หรือไม่ใช่สื่ออะครับ อย่างคุณอาร์มนี่สำหรับผมก็สื่อขนาดย่อมแล้วนะครับ 555
กฎหมายไทยอะคุณ
คือนายอาร์มต่อให้เป็นเรื่องน่าเบื่อแต่พอฟังนายอาร์มแล้วสนุกอ่ะ แบบเหมือนมีเพื่อนมาเล่าสาระให้ฟังแบบสนุกๆเพลินๆอ่ะ ถึงปกติเพื่อนผมจะไร้สาระก็เหอะ
งี้ก้ออดดูเปิดเลนส์ส่องพีเพิ้ลสิคับ
กฎหมายซับซ้อน