เกิดอะไรขึ้นกับ เรือดำน้ำ Titan เละเป็นโจ๊กได้ยังไง?

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 17 лип 2024
  • คลิปนี้จะเป็นการพูดถึงประเด็นจองเรือดำน้ำ Titan จากทาง Oceangate ที่กำลังเป็นประเด็นร้อน จากที่สูญหายหรือขาดการติดต่อ หลังจากนำนักท่องเที่ยว 4 คนดำน้ำลงไปชมซากเีือ Titanic ที่ความลึกกว่า 3.8 กิโลเมตรใต้ทะเล โดยสิ่งที่นำเสนอจะเป็นเรื่องของการระเบิดเข้าด้านในหรือ Implosion ว่ามันเกิดขึ้นได้อย่างไร? และตัวเรือมันมีสาเหตุจากอะไร เกิดความผิดพลาดตรงไหนจนทำให้เกิดหายนะในครั้งนี้ #titansubmersible #เรือดำน้ำTitan #oceangate
    Time Stamp
    00:00 เกริ่นนำ
    01:00 Implosion กับ Explosion ต่างกันยังไง?
    02:00 ข้อมูลเรือ Titan โดยคร่าว
    03:13 ความดันบรรยากาศ และ แรงกดจากน้ำ
    05:57 ความดันน้ำที่ความลึก 3800 เมตร
    09:10 วัสดุของเรือดำน้ำ Titan
    13:00 เรื่องความปลอดภัยของ Titan
    14:48 ยกตัวอย่างเรื่องของ Implosion (ระเบิดเข้าด้านใน)
    17:16 เรื่องของหน้าต่างกระจก ไม่ได้มาตรฐาน
    ติดตามผลงานของเรา...
    ติดตามผ่าน Facebook ได้ที่ : / zolkorn
    ติดตามผ่าน Twitch : / zolkorn
    ติดตามผ่าน Twitter ได้ที่ : / zolkorn
    ติดตามเว็บไซต์ : www.zolkorn.com
    ติดต่อเรา : www.zolkorn.com/contact/
    พูดคุยระบบเสียง : / @justazound4395
    Credit :
    ___________________________
    End music :
    Titre : Nothing I Won't Do (feat. Kianna)
    Artist : Giulio Cercato
    Powered by: / giuliocercatomusic
  • Наука та технологія

КОМЕНТАРІ • 260

  • @MovieYellow69
    @MovieYellow69 Рік тому +28

    ลุงเจม คาราเมล แกเป็นครอบครัววิศวะ แกเข้าใจเรื่องนี้ลึกซึ้งมากๆ เพราะแกดำลงไปดูไททานิค ถึง 32 ครั้ง ถ้าจำไม่ผิด แกปลอดภัยดี ความผิดพลาดของไททันคือ มีหน่วยงานให้ไปตรวจสอบมาตรฐานก็ไม่ไปตรวจสอบ หน่วยงานรัฐที่เชี่ยวชาญยังไม่ได้อนุมัติมาตรฐาน คือโมดิฟายกันเองเหมือนของเด็กเล่น ดูจากจอยควบคุมก็รู้ มีอดีตพนักงานมาเตือนเรื่องวัสดุไม่ได้มาตรฐานก็ไปไล่ฟ้องเขา สุดท้ายเลยเป็นแบบนี้

    • @HualanN
      @HualanN Рік тому +3

      เจม คาเมรอนครับ ไม่ใช่ คาราเมล เอาซะผมหิวเลย🤣

    • @firstthefirstcutzz925
      @firstthefirstcutzz925 Рік тому +1

      หิวเลยครับขอวิปครีมด้วยเยาะๆ🤣

    • @fcchannel6290
      @fcchannel6290 Рік тому

      เจอ คาเมรอน 555

  • @armourer84
    @armourer84 Рік тому +6

    การระเบิด implosion จากนั้นจะเกิดความดันที่สูง จนถึงจุดวาบไฟ มันก็จะจุดระเบิด explosion
    หลักการเดียวกับการุดระเบิดในเครื่องยนต์ดีเซล สามารถหายูทูบเกี่ยวกับการจุดระเบิดเมื่อความดันเกินกว่าจุดวาบไฟได้ครับ (หลักการเครื่องยนต์ดีเซล ไม่มีหัวเทียน)
    หลังการ implode พอมันวาบไฟ ในห้องที่มีออกซิเจน และมีเชื่อเพลิง (ไขมัน/สารอินทรีย์) มันก็จะเผาไหม้รวดเร็วและสร้างแรงดันมหาศาล เกิดระเบิดแบบ explode ตามมา (เกิดใต้น้ำนั่นแหละ)
    ชิ้นส่วนเรือจึงกระจัดกระจาย หาซากไม่เจอ ส่วน ศพหาไม่เจอเพราะโดนฌาปณกิจระหว่างการ implosion และผ่านจุดวาบไฟนั้นแล้ว

  • @marumaru.1703
    @marumaru.1703 Рік тому +7

    ด้วยความเร็วมากๆ เลยทำให้ร่างกายของคน 5 คนข้างในถูดบีบคั้นจนกลายเป็นเจลสีชมพู กลายเป็นอาหารปลาที่อยู่ระดับน้ำนั่นวันนั้น หุหุ

  • @TheCakeyono
    @TheCakeyono Рік тому +18

    อากาศถ้าโดนอัดเยอะๆ มันจะเกิดความร้อน และยิ่งความดันขนาดนั้นมันก็ระเบิดติดไฟครับ แค่ตะบันไฟ จุดไฟอันเล็กๆ ก็ทำความร้อนในเสี้ยววินาทีได้เกือบสามร้อยองศาหละ นี้มีอ็อกซิเจ็นในยานดำน้ำ เป็นสองตารางเมตรเวลา โดนความดันอัดมาก็ได้ความร้อนระดับผิวดวงอาทิตย์เลย

  • @NumGenX
    @NumGenX Рік тому +3

    บังอธิบายได้เข้าใจง่ายมากเลยครับสำหรับคนที่ไม่เคยเรียนสายวิทย์มาก็เข้าใจได้เลย เป็นคลิปที่มีประโยชน์มาก ยอดเยี่ยมมากเลยครับ

  • @kanoon69rakuraku
    @kanoon69rakuraku Рік тому

    อธิบายได้เข้าใจง่ายมากเลย
    ขอบคุณที่แบ่งปันค่า❤❤❤

  • @jiayouwangriendham8593
    @jiayouwangriendham8593 Рік тому +4

    ฟังการอธิบายเรื่อง แรงดัน แล้วเข้าใจ รู้สึกฉลาดขึ้นเยอะเลย 😇 ขอบคุณค่ะ 🙏

  • @younay1
    @younay1 Рік тому +5

    เข้าใจง่ายครับบังอธิบายดี รอชมฉบับเต็ม

  • @ghostgametv4604
    @ghostgametv4604 Рік тому +3

    เนื้อหาแน่นจัด ขอบคุณมากๆครับ เข้าใจมากขึ้นเลย

  • @lostbbq
    @lostbbq Рік тому +1

    ดูมาหลายช่อง ช่องนี้อธิบายเข้าใจที่สุดละครับ 😊👍🏻

  • @intelvistathai
    @intelvistathai Рік тому +2

    รอตามเลยครับ ถ้า live ขอคลิปเต็มนะครับ รอชมครับ รายละเอียดแน่นมากครับ

  • @Hippie.420
    @Hippie.420 Рік тому +8

    ถ่ายทอดได้เจ๋งมากครับ 👍🏻

  • @anuthaikeomixay4888
    @anuthaikeomixay4888 Рік тому +3

    ฟังมาหลายช่องแล้ว แต่ช่องนี้อธิบายเข้าใจง่ายสุด❤

  • @kittipongapichatmaetee4685
    @kittipongapichatmaetee4685 Рік тому +24

    (ขอแก้ไขข้อมูลในนาที่ที่ 11.01) ในปัจจุบันถังอากาศที่ใช้ในการดำน้ำแบบ SCUBA ทนแรงดันได้ 3,000 PSI หรือ 200 bar นิยมใช้ตัวถังที่ทำจากโลหะอลูมิเนียมขึ้นรูปแบบชิ้นเดียว ในอดีตเคยใช้ถังที่ทำจากเหล็ก แต่มีปัญหาเรื่องการเกิดสนิมและการสึกกร่อน การใช้ Carbon Fiber ในถังอากาศ SCUBA มีอยู่จริง แต่ไม่ได้รับความนิยม เนื่องจากราคาที่สูง และอายุการใช้งานที่สั้น และน้ำหนักที่เบาเกินไป ถังที่ทำจาก Carbon Fiber จึงนิยมใช้ในวงการอื่น เช่น การดับเพลิง การกู้ภัย

    • @user-hp2ny9sz5b
      @user-hp2ny9sz5b Рік тому +1

      เคลือบถึงก๊าซcng บางยี่ห้อเคยเห็นอยู่

    • @nathanlamaire
      @nathanlamaire Рік тому

      การบินด้วย

  • @user-yk2bv2hs1b
    @user-yk2bv2hs1b Рік тому +1

    สุดยอดครับบัง ติดตามมาแต่คนซับหลักพันครับ 🥰

  • @ft-bw1tp
    @ft-bw1tp Рік тому +8

    คำว่าการระเบิด ในเชิงของฟิสิกส์... มันหมายถึงการเปลี่ยนแปลงความดัน ของระบบใดระบบหนึ่ง อย่างกะทันหัน
    - explosion คือการเปลี่ยนแปลง ถ่ายเทความดันความดัน ภายในระบบออกไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก ในทันทีทันใด
    - implosion คือการเปลี่ยนแปลง ถ่ายเทความดัน จากภายนอก เข้ามาสู่ระบบ อย่างทันทีทันใด

  • @user-hu8xs7gv8p
    @user-hu8xs7gv8p Рік тому +1

    ขอบคุณคะ อธิบายเข้าใจง่ายดีคะ

  • @pong478
    @pong478 Рік тому +1

    อธิบายละเอียด ชัดเจน เข้าใจง่าย ขอบคุณครับบัง

  • @jabstunt
    @jabstunt Рік тому +1

    โอ๊ย คิดฮอด ๆ หายไปนานเลยครับผม

  • @user-xy2bb3db7v
    @user-xy2bb3db7v Рік тому +12

    จากที่เคยทดลอง ตอนเรียนวัสดุศาสตร์
    คาร์บอน มันก็ไม่ได้แข็งขนาดนั้น แต่มันเหนียวมากๆ
    ทดสอบกับเครื่องไฮโดรลิค แผ่นคาร์บอนหนา 1นิ้ว ตัวผ้าคาร์บอนมี 10ชั้น ขนาดแผ่น 1ตารางฟุต
    แรงกดที่กระทำ 1ตัน แผ่นคาร์บอนก็เริ่มยวบแล้ว
    แต่จะไปแตกช่วงๆ สิบกว่าตัน
    ทดสอบยิงด้วยกระสุน 9มม ก็เข้าและเสียรูป แต่ไม่ทะลุ

    • @khunrocky606
      @khunrocky606 Рік тому +1

      จริงๆต้องบอกว่า คาร์บอนไฟเบอร์ มันไม่ได้ถูกศึกษามากพอครับ ถ้าเทียบกับโลหะทั่วไปอย่างไทเทเนียม อลูมิเนียม พวกนี้ใช้มาร้อยๆ ปี เลยมีข้อมูลเยอะว่าควรเอาไปใช้อะไรยังไง แต่คาร์บอนไฟเบอร์เพิ่งมามาไม่กี่สิบปี นังมีข้อมูลไม่เท่ากับโลหะที่ใช้ประจำด้วย

    • @jakkapan1721
      @jakkapan1721 Рік тому

      ใช่ป่าวสาว

  • @ongchina
    @ongchina Рік тому +1

    ขอบคุณสำหรับความรู้แบบลงรายละเอียด ฟังง่าย เปี่ยมคุณภาพครับ

  • @supakornphimsakul2435
    @supakornphimsakul2435 Рік тому +2

    ขอบคุณสำหรับความรู้นี้ครับ พี่บัง

  • @parnuvatseawan8196
    @parnuvatseawan8196 Рік тому

    ผมชอบวิธีการ ของคุณมากๆที่อธิบายได้เข้าใจง่าย เห็นภาพ😊

  • @user-lx2kl4wy4m
    @user-lx2kl4wy4m Рік тому +1

    ฟังมาหลายท่าน แต่พี่ทำให้เข้าใจมากเลยค่ะ

  • @socool999
    @socool999 Рік тому +6

    อธิบายละเอียดมาก เข้าใจมากขึ้น

  • @igt.j4ck272
    @igt.j4ck272 Рік тому +18

    คอนเทนท์คุณภาพเสมอครับบัง ❤

  • @user-cr3cv7bm7m
    @user-cr3cv7bm7m Рік тому +1

    คลิปนี้เข้าใจง่ายครับ

  • @mungdaal8206
    @mungdaal8206 Рік тому +2

    คลิปคุณภาพมากครับบัง

  • @tptpmo3583
    @tptpmo3583 Рік тому

    พูดได้ชัดเจนมากครับ...👍❤️🙏

  • @nakata5903
    @nakata5903 Рік тому +1

    เข้าใจง่ายเลยครับ

  • @chaiompholsh7192
    @chaiompholsh7192 Рік тому +1

    อธิบายได้เครีย ครับ ดีมากๆๆครับ พี่

  • @chowsirichaimannoi4661
    @chowsirichaimannoi4661 Рік тому

    เยี่ยมครับ อธิบายได้เจ๋ง

  • @humbergg1
    @humbergg1 Рік тому

    อธิบายได้ดีมากครับ, ชอบแนวคิดมากครับ…

  • @yamasashikantai2945
    @yamasashikantai2945 Рік тому +5

    ผมนี่รอเวอร์ชั่น live ออกเลกับเรือ Titan เลย ดูแล้วน่าจะมีอะไรให้พูดให้เหลาเยอะเลยกับเรือลำนี้ 😁😁😁

  • @TheEngr04
    @TheEngr04 Рік тому +2

    หากคิดแบบพื้นฐานง่ายๆ
    การแตกหักพื้นฐานในทางวิศวกรรมพื้นฐาน ลักษณะแคปซูนของไททัน เรียกว่า vessel
    เป็นแบบ cylindrical shell
    คือถังความดันรูปทรงกระบอกจะแตกจากความดันภายในออกเป็น 2 แบบ
    1.การแตกตามเส้นรอบวง
    2.การแตกตามแนวยาว
    การแตก 2 ชนิดนี้ จะมีสมการพื้นฐานที่ใข้กัน 2 สมการ คือ
    การแตกหัก จากความเค้นจะมี2แบบ คือ
    1. Sterss = (Pxr)/t
    2.Stress = (Pxr)/2t
    สมการที่1จะมีควาแข็งแรงเป็นสองเท่าของสมการที่2
    คิดแบบไม่ซับซ้อนที่ยึดหลักง่ายสุด
    หยิบสมการที่1มาใช้
    Stress คือ ค่าความเค้นที่เราสามารถเปิดตารางได้จาก คู่มือวัสดุศาสตร์
    P คือ inner pressure มีหน่วยเป็น psiหรือ นิวตัน/ตารางเมตร
    แต่เคสนี้ เป็นแรงดันจากภายนอกจากน้ำทะเล
    r คือรัศมีเฉลี่ยวัดจากจุดศูนย์กลางทรงกระบอกของแคปซูนไปตรงกึ่งความหนาผนังเรือไททัน วัดเป็นระยะทางมีหน่วยเป็น เมตร หรือ นิ้ว ก็ได้
    t คือความหนาของผนังของแคปซูนที่ทำตัวเรือไททัน
    วิธีคิดที่ง่ายสุดคือ
    ใข้กฎของนิวตัน ในวิชากลศาสตร์
    แรงกระทำ = แรงปฎิกริยา
    ในสมการของ pressure vessel มักกล่าวถึง แรงดันจากภายใน คือ ผนังระเบิดออก แตกไปสู่ภายนอก เช่นหม้อน้ำระเบิด ถังแก๊สระเบิด แต่ไททัน ระเบิดดันจากผิวนอกเข้าไป
    คิดแบบพื้นฐานbasicง่ายสุด
    เอาความดันน้ำทะเลที่ลึกจากผิวน้ำ4000เมตร คือความดันที่กดใส่ผนังเรือทีพื้นผิวไททัน ตามข่าวบอกว่ามากดว่าความดันปกติ 400 เท่า
    ความดัน (P) ที่ผนังเรือ ณ ตำแหน่งที่จม คือ
    (400*14.7= 5880 ปอนด์/ตารางนิ้ว)
    Action force = Reaction force
    แรงกระทำ = แรงต้านทาน
    ในที่นี้ เป็นแรงกระทำกดต่อ พื้นที่หน้าตัด
    คือ 5880 psi มีหน่วยความดัน หรือหน่วยความเค้นนั่นเอง
    หยิบสูตร
    Stress = (ความดันภายในxระยะรัศมีเฉลี่ยของเรือไททัน)/ความหนาของผนังแคปซูนไททัน จะได้
    Stress= (5880xรัศมีเฉลี่ยของไททัน)/ความหนาผนังเรือที่จะออกแบบ
    ได้ค่าความเค้นเท่าไหร่
    ก็ไปเปิดตารางวัสดุเทียบค่าความเค้น ที่เท่ากัน มาสร้าง
    เพราะฉะนั้น
    อยากใช่วัสดุอะไรทำตัวเรือที่มีความเค้นอัดสามารถทนแรงดันขนาด5880ปอนด์
    นี่คำนวณแบบสูตรเบสิคง่ายๆ
    แต่การคำนวณต้องมีค่า ความปลอดภัย safety factor คูณในสมการด้วย
    กรณีนี้อาจมีค่าประสิทธิภาพตามแนวยาว หรือ ประสิทธิภาพตามแนวเส้นรอบวง คิดร่วมด้วย
    หากที่ส่วนประกอบอื่น ที่เป็นรอยเจาะ แนวเชื่อม นั้นจะมีสารพัด factor มาประกอบ สูตรก็จะซับซ้อนไปอีก
    ไททันดำลงไปหลายครั้งแล้ว
    ออกแบบรับความดันภายนอกไม่ไหว
    ลงไปทุกครั้ง เจอ แรงกด ทำให้เกิดความเครียด(strain) ความเครียดสะสมไปเรื่อยๆ สภาพโครงสร้างจะเกิดความล้า(fatique) ความล้าที่ถูกกระทำซ้ำๆก็สะสมความล้า ล้าสะสมก็แตกร้าว สุดท้ายก็ one way ticket ตีตั๋วไปเทีายวเดียวแล้วไม่ต้องกลับ
    อะไรที่สุ่มเสี่ยงไม่มั่นใจ ก็อย่าไปยุ่งกับมันดีที่สุด

  • @SamSam-tx3np
    @SamSam-tx3np Рік тому +1

    เก่งมากเลยครับพี่ ข้อมูลนี้ น่าจะแตกระเบิดตั้แต่ความลึก ไม่ถึง 2 พันเมตรแน่ๆ

  • @MrKeem1009
    @MrKeem1009 Рік тому

    อธิบายเห็นภาพ เข้าใจง่าย

  • @hellotest3663
    @hellotest3663 Рік тому +1

    เยี้ยมมากเข้าใจง่าย

  • @SodCheun
    @SodCheun Рік тому +1

    เวลาพี่ซอลทำคลิปแบบนี้ ผมชอบที่พี่ซอลอธิบายคำศัพท์ภาษาอังกฤษมากๆ ดลย เหมือนได้เรียนภาษาอังกฤษเพิ่มไปด้วย ขอให้ทำแบบนี้ต่อไปนะครับ ขอบคุณมากๆ ครับ สำหรับความรู้

  • @MrKingslam
    @MrKingslam Рік тому +3

    ยอดเยี่ยมเลยครับ มี content ใหม่ ๆ ที่ไม่ใช่คอมพิวเตอร์ด้วย ทำต่อไปนะครับ
    พวกคลิปเรื่องลึกลับ ที่วิเคราะห์ด้วยเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ด้วยก็น่าสนใจนะครับ
    สมมุติว่า Titan ออกแบบเป็นรูปวงกลม และใช้วัสดุแบบเดิม จะมีโอกาสรอดไหมครับ ?

  • @peaceterzero
    @peaceterzero Рік тому +11

    ตัวนั้นน่าจะจอย logitech joystick f710 เหมือนของผมเลยครับ
    แต่ต่อขายาวจนน่าเกลียด 555
    แต่จริงๆ Joy Xbox ก็ใช้ในทางการทหารครับ อย่างUS แลพอิสราเอล ใช้คุมPeriscopes ของเรือดำน้ำ ใช้คุมโดรน รถเกาะ หุ่นยนต์ และรถถัง จำเหตุผลได้ว่า มันสเถียรพอ ทน คนเรียนรู้ไว ใช้งานง่าย ที่สำคัญประหยัด

  • @lingzajrs
    @lingzajrs Рік тому +2

    หัวข้อนี้น่าสนใจจริงครับ

  • @yajuedch
    @yajuedch Рік тому +6

    มันลงไปแล้ว2รอบมันน่าจะสึกครับความคิดผมนะครั้งที่3เลยทนแรงดันไม่ได้ ของทุกอย่างมีอายุของมัน

  • @rattakorny2594
    @rattakorny2594 Рік тому +1

    ขอบคุณมากครับ ชอบมาก

  • @Channel-br1mx
    @Channel-br1mx Рік тому +1

    ดูย้อนหลังเพลินมากครับบัง

  • @kornmarketing1995
    @kornmarketing1995 Рік тому +1

    ขอบคุณ​มาก​ครับ​❤❤❤😊

  • @yongsak1438
    @yongsak1438 Рік тому +2

    ชัดเจน รับทราบ

  • @sync532
    @sync532 Рік тому +2

    เรื่องนี้ น่าสนใจจริงๆครับ

  • @sitsurin
    @sitsurin Рік тому +2

    เห็นภาพ ชัดเจน ครับ ขวดน้ำ

  • @user-eo4gq1sg2p
    @user-eo4gq1sg2p Рік тому +2

    ติดตามเลยครับ

  • @prempiankan8366
    @prempiankan8366 Рік тому +2

    ข้อมูลจ๊าบมากพี่บ่าว

  • @user-rf1yc8om9e
    @user-rf1yc8om9e Рік тому +1

    เอาชะเห็นภาพเลยครับผม😬😬🙄แจ๋วๆ

  • @loveeachother2858
    @loveeachother2858 Рік тому +1

    ได้ความรู้เลยอาจารย์

  • @sundaypooh8477
    @sundaypooh8477 Рік тому +10

    อารมเดียวกับขับรถทับขวดน้ำที่ปิดฝาถ้าฝาไม่หลุดก่อนขวดก็แตก หรือเกมเยียบลูกโป่งแรงเยียบกับลูกโป่งที่มีอากาศอยู่ภายในหาทางออกไม่ได้พอโดนเยียบก็แตกโดยแรงดัน

    • @fachery11
      @fachery11 Рік тому

      เห็นภาพเลย

  • @iamawoman2220
    @iamawoman2220 Рік тому +1

    ขอบคุณจ้ะ❤❤❤

  • @phitlenarak3535
    @phitlenarak3535 Рік тому +2

    นี่แหละทำคอนเท้นต์แบบมีสาระจริงๆ ศึกษาข้อมูลมาก่อนจะพูด ไม่เหมือนบางช่องเอาแต่กระแส จับเรื่องนี้มาพูดแบบจับแพะชนแกะ ดึงตรงนู้นตรงนี้จากข่าวมาแต่ไม่รู้ไม่ศึกษาเรื่องราวมาพูดแบบจริงๆ ขอบคุณบังมากครับที่ทำคอนเท้นต์ดีดีออกมาดูแล้วเข้าใจง่ายมาก

  • @Nishiz9
    @Nishiz9 Рік тому +46

    ขนาดของ เจม คาเมร่อน ยังทำห้องโดยสาร เป็นแบบ ทรงกลม เพราะมันเป็นรูปทรงที่ทนแรงดัน ได้มากที่สุด

    • @taumsonic5327
      @taumsonic5327 Рік тому +8

      ต้องไปดูของเจม คาเมร่อน เป็นตัวอย่าง ลึกที่สุดในโลกก็ผ่านมาแล้ว

    • @Nishiz9
      @Nishiz9 Рік тому +12

      @@taumsonic5327 แก ถ่ายหนังเป็นงาน อดิเรก สำรวจเป็นงานหลัก 555

    • @billygun661
      @billygun661 Рік тому +6

      แม่งติดอย่างเดียว ดันใช้จอยตัวเดียวกับที่บ้านกรูเลย....แม่งค่าเสียหายเป็นล้านใช้จอย.Logitech

    • @Prakasitboonmee
      @Prakasitboonmee Рік тому +2

      ห้องโดยสารตัองทรงไข่ครับ ถึงรับแรงกดมากกว่ารูปใดๆ

    • @khunrocky606
      @khunrocky606 Рік тому

      ​@@billygun661จอยไม่น่าใช่ มันลงไป 2 ครั้งแล้ว แต่ไททันไม่เคยส่งเทส operation cycle เลยไม่รู้ว่ามันลงไปได้จริงๆกี่ครั้งก่อนที่จะห้ามลงไปอีกเลย ครั้งที่3 เลยเป็นอย่างที่เห็น

  • @shadowblack1v1
    @shadowblack1v1 Рік тому +8

    แรงกดดันน้ำยิ่งลึกยิ่งเยอะ ดูจากเรือดำน้ำต้องทำจาก เหล็กอย่างดี และเรือต้อง มีระบบ ชดเชยแรงดันในเรือเพื่อให้ แรงดันด้านนอกด้านในเรือ เท่าๆกัน น้ำมันมีมวลหน้าแน่นกว่าอากาศ เปลียบเหมือน ยิ่งลึกเรื่อยๆ เหมือนภูเขาไปทับเอาไว้ ยิ่งลึกภูเขาก็ขยายใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เรือที่ระเบิด เหมือนลิฟยกรถรับได้ 1ตัน แต่ดันยกรถ 1ตัน++++

  • @ThaNaShogunZ
    @ThaNaShogunZ Рік тому +2

    ตัวอย่างที่มีการทดลอง ua-cam.com/video/8tW4zfTeJqM/v-deo.html

  • @angerelzkob2532
    @angerelzkob2532 Рік тому +1

    ความรู้มากครับ บัง

  • @luffylee5243
    @luffylee5243 Рік тому +3

    ควรอธิบายอีกสาเหตุของการ downgrade ของวัสดุ composite ระหว่าง carbon fiber + titanium เนื่องจาก galvanic corrosion ด้วยครับ

  • @vincentvalentine2198
    @vincentvalentine2198 Рік тому +2

    ยาน Deep Sea Chalenger นี่แน่นอนมากๆเลยนะทนแรงกดดัน 11km ได้

  • @thewindevguy
    @thewindevguy Рік тому +2

    ขอบคุณครับบัง ครูฟิสิกส์ของผม

  • @patntippayasar8801
    @patntippayasar8801 Рік тому +2

    ครับเหมือนลูกโป่ง วิธีทำให้แตกมีสองวิธีคือ เป่าให้แตกกับบีบให้แตกครับ

  • @titytonya1420
    @titytonya1420 Рік тому +3

    การออกแบบทรงยานก็คิดผิดแล้วคับ ทรงยานมันต้องเป็นทรงตั้งดิ่งถึงจะถูก คิดง่ายๆก็แบบตะปูนั้นแหละ ทรงตั้งเหมือนตะปู เคยเห็นตอนตอกตะปูไหม ต้องใช้แรงเยอะตอกลงไปที่ตะปู ตะปูยังแทบไม่งอ ถ้าเหล็กแข็งแรง ดูง่ายๆเหมือนยาน Deepsea chalenger ของเจมคาเมรอน ทรงตั้งแนวดิ่ง ยานลำนั้นลงไปจุดที่ลึกที่สุดมาแล้วความลึก11กิโลเมตร

    • @zolkorn
      @zolkorn  Рік тому +1

      มันออกแบบได้หลากหลายครับ จะทรงไหนก็ได้ถ้ารับแรงกดได้ ส่วนของเจมหลักๆคือ คาบินครับ มันเป็นทรงกลม ที่สามารถรับแรงได้มากกว่าทรงอื่น

    • @titytonya1420
      @titytonya1420 Рік тому

      @@zolkorn แต่ผมว่าทรงแบบยานdeepsea น่าจะดีที่สุดแล้วคับ ไททันทรงกระบอกขวดน้ำ deepsea ก็ทรงกระบอกเหมือนกัน แต่แนวตั้ง ส่วนไททันแบบแนวนอน มันก็เหมือนเราขวดน้ำสองขวดมา อีกขวดหนึ่งวางใว้แนวนอน และอีกขวดหนึ่งวางใว้แนวตั้ง แล้วลองเอามือกดที่ขวดดูคับ ขวดแนวนอนยุบใวมาก ส่วนขวดแนวตั้งให้เอามือกดแรงๆดูคับ ไม่ยุบคับ ต้องใช้เท้ากระทื้บถึงจะยุบ อันนี้ผมลองกับขวดเป๊ปซี่ แต่ผมคิดว่าแนวตั้งนี่น่าจะแข็งแรงที่สุดแล้วคับ ตามหลักวิศวะรับน้ำหนักกับแรงกด ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นคับพี่🙏

  • @user-tf7cd6rs5f
    @user-tf7cd6rs5f Рік тому +1

    อธิบายเข้าใจง่ายกว่า อ.หลายคนเสียอีก

  • @mysteriousstar7685
    @mysteriousstar7685 Рік тому +17

    3รอบครับ ไม่ใช่12-13 รอบ
    เรือมีปัญหาตั้งแต่แรกแล้ว ถึงจะลงมา2รอบก็ตาม รอบแรกอาจไม่มีปัญหา แต่รอบ2นักข่าวที่ลงเล่าให้ฟัง ทำให้รู้ว่ามีปัญหา รอบที่3 รอบสุดท้ายลงได้ประมาณพันกว่าเมตร ขาดการติดต่อ
    ผมว่ามันไปตั้งแต่ตอนขาดการติดต่อ แล้วเรือมันขึ้นเองไม่ได้ มันจมไปเรื่อยๆ โดนแรงบีบไปเรื่อยๆ

    • @Worapotchanel
      @Worapotchanel Рік тому +3

      น่าจะมีการทดสอบก่อนนะครับ ที่มีลูกค้าลงไป รอบ 3

    • @TheBigmanMoo
      @TheBigmanMoo Рік тому +2

      ข้อมูลจาก CBSNews ที่เค้าไปสัมภาษณ์ทีมงานแล้วก็ได้ทดสอบช่วง Test ระหว่างก่อนภารกิจ เห็นพูดว่า 12 ครั้ง ส่วน 3 รอบนั้นน่าจะเป็นอันที่ขายที่นั่ง เหมือนก่อนจะพาลงไปเค้าดำทดสอบหลายรอบมาก ลองหาดูวีดีโอของนักดำน้ำคนนึงที่เดินทางไปรอบนี้ด้วย แต่เค้าไม่ได้จ่ายเงินเพื่อลงไป แค่ได้ไปร่วมดำทดสอบ เห็นแล้วใจหวิวๆเลยครับ

    • @nanthipat1
      @nanthipat1 Рік тому +2

      @@Worapotchanel เขาทดสอบมาแล้วว่ามันไม่ผ่าน มันมีปัญหาอยู่แล้ว เขาเลือกที่จะเสี่ยงเองแต่แรกแล้วครับ และมันไม่ใช่ครั้งแรกที่ลงไป

    • @Worapotchanel
      @Worapotchanel Рік тому +2

      @@nanthipat1 ผมหมายถึงว่า เรือไททันน่าจะใช้งานมาแล้ว ตามที่บังกล่าว รวมทดสอบกับใช้งานจริงครับ

    • @rikimaru9398
      @rikimaru9398 Рік тому +2

      จริงๆทดสอบมา 30 กว่าครั้งป่าว

  • @godssun9973
    @godssun9973 Рік тому

    อยากให้พี่บังทำคลิป เกี่ยวกับการชาร์ทไฟโทรศัทพ์ว่ามีการทำงานยังไง ในการชาร์ทไฟ ไฟฟ้าเข้าไปเก็บตรงไหน เเบตมันเต็มได้ยังไง เวลามันหมดมันเป็นแบบไหน

  • @Vilaichit
    @Vilaichit Рік тому +2

    พูดดืเข้าใจง่ายมาก

  • @SNIPER-IX
    @SNIPER-IX Рік тому +1

    คริปนี้เป็นการทดลองแรงดันน้ำ
    ua-cam.com/video/Gsl8wrbqAM8/v-deo.html
    ------------------------------------------
    ua-cam.com/video/8tW4zfTeJqM/v-deo.html

    • @user-ud3gj5oy2q
      @user-ud3gj5oy2q Рік тому

      ฟรั่งใช้เงินส่วนตัวทำการททดลองอะไรยังถูกกว่านักวิจัยไทยผลานงบอีก บางคนรู้จากการอ่านอย่างเดียวนั่นเขาเรียกว่าจำมา

  • @user-sp1vi3jm6n
    @user-sp1vi3jm6n Рік тому +1

    ช่องอื่นพูดเรื่องยานดำน้ำผมไม่ค่อยสนใจเท่าไร พอบังมาพูดผมรีบมาดูอย่างไว

  • @nscyber28311
    @nscyber28311 Рік тому

    อยากให้บังพูดถึงพวกคอมพิวเตอร์ สเป็คคอมพิวเตอร์ ที่เหมาะสมกับงานที่ต้องการข้อผิดพลาดต่ำ ๆ แบบนี้บ้างครับ ว่าควรใช้แบบไหน core i , xeon + ecc,etc รวมไปถึงระบบปฏิบัติการแบบไหน Linux , Windows , Osx ว่าเหมาะสมไม่เหมาะสมอย่างไรบ้าง อยากได้เป็นความรู้ครับ

  • @crazyo3417
    @crazyo3417 Рік тому +19

    เรื่องของวิทยาศาสตร์เบื้องต้นเลย , เรื่องแรงดันน้ำนี่แหละ ทำให้การสำรวจใต้ท้องทะเลลึกยากกว่าสำรวจอวกาศ

    • @hauntsweet9498
      @hauntsweet9498 Рік тому +5

      อีกอย่าที่เขาไม่เน้นสำรวจใต้ทะเล เพราะเขารู้ว่ามันไม่มีอะไร

    • @op_3452
      @op_3452 Рік тому +4

      ​@@hauntsweet9498มีครับ มีก็อตซิลล่าที่เค้ายังหาตัวมันไม่เจอ มีจริงครับเคยเห็น หางมัน ตอนผมไปล็อคเนส

    • @appendgenes3582
      @appendgenes3582 Рік тому +3

      การสำรวจใต้ทะเลลึกไม่ยากกว่าการสำรวจอวกาศแน่นอนครับ

    • @Fyufuufuguuh1
      @Fyufuufuguuh1 Рік тому +1

      ​@@hauntsweet9498มีครับมีลูเกีย

    • @Surachet00
      @Surachet00 Рік тому

      @@appendgenes3582 ผมว่าสำรวจใต้
      ทะยากกว่า อวกาศ ครับ
      แรงดันน้ำมหาศาล เกินจินตนาการ

  • @Na1Marz
    @Na1Marz Рік тому +1

    เห็นภาพมากขึ้นเยอะเลย

  • @Second-Knowledge
    @Second-Knowledge Рік тому +1

    ใต้ทะเลลึก อันตรายพอๆกับอวกาศ

  • @user-sd9sq3td2n
    @user-sd9sq3td2n Рік тому +1

    ผมโครตชอบพี่เลย เล่าเรื่องอะไรก็เข้าใจง่าย ฟังสนุก

  • @sarutino
    @sarutino Рік тому +2

    เนื้อวัสดุที่เป็นเนื้อเดียวกันเรัยกว่า homogeneous material ครับ

    • @zolkorn
      @zolkorn  Рік тому +1

      ใช่ๆ ตามนี้เลยครับ ตอนนั้นมันดันนึกไม่ออก 😉

  • @AtaponR
    @AtaponR Рік тому +3

    ถ้าเคยดูคลิป ไฮโดรลิคเพรชเชอร์ บีบอัดของ
    ให้จินตนาการว่า ใต้น้ำลึก มีเครื่องไฮโดรลิคเพรชเชอร์ (ที่ทำขึ้นมาจากน้ำทะเลนั้นแหละ) โดยบีบอัดมาจากทุกทิศทาง แบบ 360 องศา ทั้งแกน x, y, z
    ปล. นี่ถ้ารู้วิธีใช้ เทียนระเบิดน้ำ ของ ไกรทอง
    อาจจะลงไปใต้น้ำได้ง่ายกว่านี้

    • @taumsonic5327
      @taumsonic5327 Рік тому +1

      เกือบจะดีมีหลักการ มาตายตรงเทียนระเบิดน้ำนี่แหละ

    • @yommersung
      @yommersung Рік тому

      ฮาตรงมุก ปล นี่ละครับ 55

  • @gasjcnfy8166
    @gasjcnfy8166 Рік тому +1

    ยานอวกาศสร้างจากคาร์บอนหรือเปล่าคะ เห็นตัวยานมันระยิบยับเหมือนฟอยล์ห่ออาหาร ถ้าทำจากคาร์บอนจริงตา CEO คนนี้น่าจะเกิดไอเดีย แต่สุดท้ายด้วยความประมาท มักง่าย มั่นใจในไอเดียตัวเอง หมองูตายเพราะงู อธิบายได้ชัดเจนเข้าใจง่ายสุดๆไปเลยค่ะ

  • @jinawornwongwattanapaiboon4610

    หัวข้อดีครับบัง กำลังอยากรู้รายละเอียดเชิงลึกพอดีครับ

  • @user-hg5bu8wq2o
    @user-hg5bu8wq2o Рік тому +1

    ผมว่าเครื่องยนหน้าจะมีปัญหาก่อนที่ตัวเรือจะยุบตัวลง แล้วเรื่องที่เรือยุบตัวหน้าจะอากาศหน้าจะหมด ถึงยุบตัวลง

  • @user-vw6qk7hm2q
    @user-vw6qk7hm2q Рік тому +2

    ยังคิดเล่นแบบเอาจริงส่ามันต้องไม่เรียกว่าการระเบิดมันต้องนิยามความหมายใหญ่ของชื่อในการเกิดในครั้งนี้ว่าอะไรถ้าจะแปลเป็นไทยมันคือการยุบหรือบุปปี้มันไม่ใช่การระเบิดคำที่ใกล้เคียงที่สุดน่าจะใช้คำไทยว่าระบุปหรือระยุบน่าจะใกล้เคียงนะผมว่า😂😂😂😂

  • @user-rs9on2vd3s
    @user-rs9on2vd3s Рік тому +1

    นึกถึงเรากดกล่องนมในแตก ก็มีแรงมีเสียงดัง 😁😁

  • @tarhardy55
    @tarhardy55 Рік тому

    ผมเคยดูช่องที่เอาของต่างๆ มาทดสอบแรงกด อยู่นะ คาร์บอนมันเหนียว แต่แตกง่ายมาก

    • @zolkorn
      @zolkorn  Рік тому

      Beyond the press กับ hydrolic อะไรสักอย่าง เขาทำมาสองปีแล้วมั๊งกับเรื่องนี้

  • @AnusornPowerUp
    @AnusornPowerUp Рік тому +2

    ฟัง😅ช่องนี้แล้วรู้สึกมีความรู้มากครับ

  • @playgame.jaisalay
    @playgame.jaisalay Рік тому +2

    ไม่ว่าจะเป็น composite หรือ mono ถ้ามันคำนวนแล้วว่าพอ ยังไงก็ต้องพอแน่ๆ
    เว้นแต่จะ deform เพราะสาเหตุอื่นๆ
    ปรกติแล้ว วัสดุทั่วไปมันก็น่าจะต้อง คำนวณเพื่อ factor safety ไว้
    ถ้ามันลงไปแค่ 13 ครั้ง แล้ววัสดุมันถึงขั้นเลยจุดครากจนอัลติเมทเนี่ย
    แสดงว่า ไม่ได้คำนวณเผื่อ FS ไว้เลยหรือเผื่อน้อยมากๆ

    • @zolkorn
      @zolkorn  Рік тому

      มันก็ใช่ครับ แต่พอเป็น Composit อายุการใช้งานมันจะสั้นกว่าไงครับ เพราะกรณี้นี้ เรือมันเคยลงไป 3800m มาแล้ว 12 ครั้ง แสดงว่ามันเลยอายุการใช้งานมาแล้วอะไรประมาณนั้น

  • @user-se5nj4jn1p
    @user-se5nj4jn1p Рік тому

    เข้าใจง่ายดีคับ เติ่ลเปนคนใต้นะสาหวาฟังจากสำเนียง 555

    • @zolkorn
      @zolkorn  Рік тому

      หมันและ! 😂

    • @user-ud3gj5oy2q
      @user-ud3gj5oy2q Рік тому

      แหมดูหน้าพี่เขาก็็รู้ล่ะ อินโด มาเล ขนาดนี้้

  • @barneyross8382
    @barneyross8382 Рік тому

    น่าจะทำจาก ไทเทเนียม ทั้งลำจะดีกว่า

  • @StreeT_HobbY
    @StreeT_HobbY Рік тому +1

    ผมมีวีดีโอที่มกาลัยทดลองว่าเกิดขึ้นแบบไหน ผมส่งให้ได้นะครับ ถ้าพี่สนใจขอเมล์ด้วยครับ ผมอยู่กา.ห้เพื่อนแชร์มาให้ครับ

  • @club1199
    @club1199 Рік тому +1

    คุณครูสายช่างบอกกับนักเรียนเสมอว่าควรเช็คเครื่องมือก่อนใช้งาน

  • @dekdeezar4860
    @dekdeezar4860 Рік тому +1

    ผมว่าพังเพราะสิ่งมีชีวิตลึกลับใต้นํ้าแหละ

  • @ohhjak
    @ohhjak Рік тому

    สิ่งมีชีวิตที่อยู่ใต้น้ำลึกเป็นอะไรที่น่าศึกษามากครับ

  • @Karui56
    @Karui56 Рік тому +1

    สงสัยทำไมซากเรือไม่ถูกบี้ครับ

    • @tanakornungseng5999
      @tanakornungseng5999 Рік тому +3

      เรือไททานิคมันค่อยๆจมลงไปและมันมีน้ำเข้าไปแทนที่อากาศแล้วครับ เหมือนเอาตะกร้ารูและขวดเปล่าที่ปิดฝาแน่นลงน้ำครับ

  • @malay3653
    @malay3653 Рік тому

    คนที่อธิบายได้ดีมากเลยค่ะก็เลยเข้าใจเนาะขอบคุณนะคะ ขอให้คุณพี่และครอบครัวมีสุขภาพแข็งแรงรวยๆปังๆนะคะ

  • @azmanmanunited7905
    @azmanmanunited7905 Рік тому

    ความกดของน้ำ
    ทำให้เรือโดนอัดเละ
    ขอแสดงความเสียใจด้วยกับครอบครัวผู้สูญหาย😢

  • @oldmanchoi
    @oldmanchoi Рік тому

    ฟังคำว่า ระเบิด ทีไร นึกภาพกระจายออกไปทุกที
    ถ้าใช้คำว่า ระบีบ น่าจะพอนึกภาพการบีบอัดจากข้างนอกเข้าข้างใน

  • @user-vn4qp7yv8v
    @user-vn4qp7yv8v Рік тому

    ก็เหมือนกับขวดน้ำเปล่าโดนรถเหยียบแตกนะครับ

  • @gamminey3093
    @gamminey3093 Рік тому +1

    เราต้องนึกถึง ไข่ไก่ หากเราบีบไข่ไก่ โดยคนปกติแล้ว ไม่สามารถแตกได้ แต่หาก ไข่ไก่นั้นมีรอยแตก แม้แต่เป็นแค่รอยเข็มหมุด แรงดันที่อยู่ภายในไข่ก็ไมมีแล้ว ทำให้ไข่ สามารถแตกได้ง่าย ๆ

    • @zolkorn
      @zolkorn  Рік тому

      มันคนละแบบกันครับ ไม่ต้องมีรอยปริอะไรก็ได้ครับ เมื่อวัสดุรับแรงกดไม่ไหว ยังไงมันก็แตกครับ

  • @Hybridl3oy
    @Hybridl3oy Рік тому

    เคยขับรถเหยียบกล่องนมเปล่าแล้วมันระเบิดมีเสียง

  • @gameover_youtube
    @gameover_youtube Рік тому +1

    Joy Logitech ครับพี่ไม่ใช่ Xbox 19:12