ทำทางคู่ทั้งทีทำไมไม่ทำเป็น Standard gauge? คุ้มค่าไหมไปฟังกัน
Вставка
- Опубліковано 22 лис 2024
- #รถไฟทางคู่มาตรฐาน,#รางรถไฟมาตรฐาน
Standard Gauge ความกว้างขนาดราง 1.435 ม.(มาตรฐาน UIC)
Meter Gauge ความกว้างขนาดราง 1 ม. (ขนาดรางรถไฟทางคู่ที่ประเทศไทยใช้ปัจจุบัน)
การเปลี่ยนขนาดรางเป็น 1.435 ม. เพื่อยกระดับไว้รองรับรถไฟความเร็วสูง
จำเป็นต้องปรับระยะห่างสถานีใหม่
เนื่องจากการทำความเร็วของรถไฟให้ถึงความเร็วที่กำหนด
ต้องอาศัยระยะทางจำนวนหนึ่งเพื่อเร่งความเร็วของรถไฟ
โดยระยะห่าง “อย่างน้อยที่สุด” ของรถไฟความเร็วสูงที่เร็ว 300 กม./ชม.
คือ 30 กม.และระยะห่างของสถานีที่เหมาะสมที่จะดึงผลประโยชน์จากความเร็วระดับนี้ได้
ต้องห่างกัน 100 กม. กลายเป็นข้อจำกัดในการขนส่งผู้โดยสาร
ขอขอบคุณข้อมูล อ้างอิงจาก thaipublica.org
ถูกต้องและเห็นด้วยครับ และภูมิภาคนี้ หลายประเทศก็มีรางมาตรฐาน 1 เมตรเหมือนประเทศไทย อยู่หลายประเทศ และในอนาคต วิศวกรรถไฟของไทย มีความเชี่ยวชาญ สามารถสร้างรถไฟใช้เองได้ จึงไม่น่าจะมีปัญหาอะไร เราเอาประโยชน์การใช้สอย เป็นหลัก ไม่จำเป็นจะต้องแข่งขันกับประเทศใดก็ได้ เรากำลังพัฒนาประเทศหลายอย่าง ประหยัดงบประมาณหน่อยก็จะดีครับ.
ใช่เลยครับเห็นด้วยควรเป็น 1.435เมตรครับ
ใครคนคิดเนี่ย จะบ้าไปแล้ว เปลี่ยนความกว้างรางรถไฟ จาก 1.00 เป็น 1.435 เมตร แล้วหมอนคอนกรีตที่รองรางอันเดิมย่อมใช้ไม่ได้ หลายล้านอัน แล้วจะเอาไปทิ้งไหน เปลืองงบประมาณและผลาญทรัพยากรโลกโดยใช่เหตุ รางขนาด 1.00 เมตร ที่มีอยู่ยังใช้ได้อีกเป็นร้อยๆ ปี ใช้จนกว่าโลกจะร้อนจนมนุษย์สูญพันธุ์ไปหมดโลก แค่อัพเกรดเป็นระบบไฟฟ้าให้รถไฟทางไกลราง 1.00 เมตรทางคู่ แล้วจัดซื้อขบวนรถไฟใหม่เป็นปรับอากาศ EMU ทั้งหมด เพิ่มความเร็วให้บริการเป็น 160-175 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยให้เวลาเดินทางกรุงเทพถึงเชียงใหม่ 751 km. ใช้เวลาเดินทางไม่เกิน 5-6 ชั่วโมง จากปกติทุกวันนี้ใช้เวลานานถึง 12-13 ชั่วโมง กรุงเทพ-หาดใหญ่ 930 km. ใช้เวลาปัจจุบัน 14-16 ชั่วโมง ให้เหลือแค่ 6-7 ชั่วโมง แค่นี้ก็ดึงดูดให้ประชาชนทั้งประเทศไปใช้รถไฟเดินทางเป็นยานพาหนะหลักกันได้แล้ว ไม่ต้องไปลงทุนรื้อรางเก่าทิ้งแล้วเปลี่ยนเป็นราง Standard Gauge 1.435 เมตร คือคำว่ารางขนาดมาตรฐาน 1.435 หรือ ราง 1.067 m. Narrow Gauge มันเป็นแค่ชื่อเรียกเฉยๆ และคำว่าราง 1.000 เมตรหรือ Meter Gauge มันไม่ใช่ที่ไม่มีมาตรฐานแต่อย่างใด
ถูกต้องผมว่าทำทางคู่วิ่ง160-180พอละไม่ควรเกินนี้แต่ควรให้การรถไฟเป็นคนสร้างทางรถไฟ แต่อาจให้ เอกชนสัปทานเดินรถหรือเช่ารถไฟรฟท ส่วนรถไฟความเร็วสูงทำไปเรื่อยๆยังไงรถไฟความเร็วสูงก็ขาดทุนแน่นอน
ไทยต้องใช้ทาง1เมตรต่อไปตลอดกาลเพราะหัวรถจักร ตู้รถไฟ และรางล้วนเป็นขนาด 1 เมตร
ถ้าบ้าจี้ไปเปลี่ยนเป็นขนาดมาตรฐานก็ต้องลงทุนใหม่หมดทั้งราง หัวรถจักร ตู้รถไฟ แล้วจะเอาเงินที่ไหนไปสร้างไปซื้อ ขนาดจะซื้อหัวรถจักรขนาด 1 เมตรกว่าจะได้ต้อง 30 ปีถึงจะมีงบซื้อ
ส่วนรถไฟความเร็วสูงก็สร้าง 1.43 เมตรต่อไปไม่เกี่ยวกัน
จงพัฒนาสิ่งที่มี ราง 1 เมตร บำรุงรักษาให้ดี และปรับปรุงหัวรถจักร ตู้รถไฟให้ดีขึ้น ติดแอร์เปลี่ยนที่นั่งใหม่หมด ทุกชั้นโดยสาร แค่นี้ก็ดีใจแล้ว
ไม่ใช่ 30 ปีไม่มีเงินซื้อหรอก แต่น่าจะไม่เคยคิดจะพัฒนาระบบรางเลย ถึงซื้อก็ซื้อรถไฟดีเซลปั่นไฟฟ้า เห่ยมาก
ก็ต้องมีเผด็จการนี่แหละ ถึงจะคิดทำ
@@phajonhengsin9837 พูดแบบนั้นก็ไม่ถูก เพราะชัชชาติก็คิดทำมาแล้วจริงๆ แต่โดนเบรกก่อนไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม
สมัยรัชกาลที่ 5 สายเหนือ- อีสานใช้ราง 1.43 เมตร
รางขนาดไหนผมไม่เกี่ยง
ขอเป็นทางคู่ทั่วประเทศ
จบปัญหาหยุดรอขบวนพิเศษ
ย่นระยะเวลาการเดินทาง 50-60%
(จากเดิม 8 ชั่วโมงเหลือ 4-5 ชั่วโมง)
ผมก็โอเคแล้ว
รางมาตรฐานใช้กับระบบรถไฟครส.ก็เพียงพอแล้ว ส่วนทาง1เมตรก็เป็นทางคู่ที่ราคาค่าโดยสารถูกกว่า ในอนาคตจะยกระดับด้วยระบบไฟฟ้าเพื่อเพิ่มความเร็วก็น่าจะทยอยทำได้
รถไฟรางคู่ขนาดราง1.435เมตร น่าจะทำที่เดียวคือ โครงการแลนด์บริดส์ จะเป็นรางรถไฟสำหรับขนส่งตู้คอนเทนเนอร์แบบซ้อน2 ชั้นจากท่าเรือน้ำลึกชุมพร ไปท่าเรือน้ำลึกระนอง ตัวรางจึงต้องมีขนาดกว้างขึ้น เพื่อรองรับน้ำหนักตู้คอนเทนเนอร์และความสูงของตู้ที่ซ้อนกัน 2 ชั้นนั้นเอง
ของญี่ปุ่นเอง รางส่วนใหญ่ก็ใช้ 1.067 เมตร เพราะสร้างมานานแล้ว ของเราก็แค่สร้างเพิ่มอีก 1 รางเพิ่มก็พอ ประหยัดงบมากทีเดียว
meter gauge ก็เพียงพอแล้ว ดูหยั่งญี่ปุ่นแทบทั้งประเทศก็กว้างประมาณนี้
จะมีกว้างหน่อยก็รถไฟความเร็วสูง
หรือสายสีแดงเราก็เป็น meter gauge แต่สามารถทำความเร็วได้ไม่น้อย
ถ้าหากสร้างใหม่สำหรับรถไฟความเร็วสูง อันนั้นภาคบังคับที่ต้องใช้ 1.435
งงกับพวกที่อยากให้รถไฟปกติเปลี่ยนทางจาก 1 เมตรเป็น 1.435 รถไฟปกติใช้ความเร็วได้สูงสุดไม่เกิน 160/h อยู่แล้ว ซึ่งทาง 1 เมตรสามารถรองรับได้อยู่แล้ว ถ้าจะเปลี่ยนเป็น 1.435 นั่นต้องทำทางใหม่หมด แคร่รถไฟก็เปลี่ยนใหม่หมด เพื่ออะไร ไหนๆ เราก็แยกรถไฟ ครส ออกจากรถไฟปกติ ซึ่งญี่ปุ่นก็เป็นแบบนี้ จะเสียงบเพื่อ ทำทางให้เรียบตามมาตรฐาน ปรับมุมองศาทางให้เหมาะสม บำรุงรักษาให้พร้อมใช้งานตลอด วิ่งที่ความเร็ว 120km/h แค่นี้ก็พอแล้วสำหรับรถไฟทางคู่ รถยิ่งวิ่งเร็ว ก็จะใช้พลังงานมากขึ้น สึกหรอเร็วขึ้น ค่าบำรุงรักษามากขึ้น สุดท้ายจะสะทอนไปที่ค่าตั๋ว พวกคุณๆ ยอมจ่ายค่าตั๋วแพงหรือยัง และอีกอย่างทางคู่ใช่ร่วมกับรถไฟขนส่งสินค้า ที่วิ่งทำความเร็วไม่เกิน 80km/h และระยะสถานีใกล้กัน คูรจะทำความเร็วสูงสุดได้แค่แปบเดี่ยว แล้วก็ต้องผ่อนเพื่อ
จีนมีราง1.435ม.สำหรับสถานีที่ห่างกันไม่มาก
TB 10623-2014 ข้อกำหนดนี้ใช้ได้กับรถไฟมาตรฐานที่สร้างขึ้นใหม่โดยเฉพาะสำหรับผู้โดยสารซึ่งมีความเร็วการออกแบบ 200 กม./ชม. และต่ำกว่า และวิ่งเฉพาะรถไฟ EMU เท่านั้น ห้ามหัวรถจักรที่ดึงรถไฟโดยสารให้ใช้งาน การแบ่งประเภทความเร็วโดยทั่วไปคือ 200 กม./ชม., 160 กม./ชม., 120 กม./ชม. ในสามเกียร์ ใช้งานสำหรับรถไฟ EMU ประเภท smart Train.
This specification is applicable to newly-built standard-gauge passenger-dedicated railways with a design speed of 200km/h and below and only running EMU trains, regardless of locomotives pulling passenger trains into operation. The speed classification is generally 200 km/h, 160 km/h, 120 km/h third gear division.
Dedicated line for EMU (CRH3A, CRH3A-A,CJ2,NDJ3,CJ3,CJ5) with Direct power supply and current return wire .
บ้านเรามีสถานีเยอะ มีทั้งสถานีระดับจังหวัด มีทั้งระดับอำเภอ เเถมยังมีย่อยเป็นตำบลอีก ซึ่งสถานีอยู่ในระยะส่วนใหญ่ไม่เกิน10กิโลเอง บางช่วงทางตอนเเค่5-6กิโลเอง ซึ่งถ้ารถไฟความเร็วสูงต้องมีระยะสถานีที่จอดห่างกันพอสมควร ซึ่งอาจไม่เหมาะที่จะสร้างรถไฟความเร็วสูงทั่วประเทศ การรถไฟเลยเลือกที่จะสร้างรางคู่ ส่วนความเร็วสูงอาจสร้างเเยกเพิ่มเติมตามเส้นทางที่คุ้มค่าเเละเหมาะสม
เเต่อาจยกระดับจากรถไฟวิ่งที่ไม่เกิน120km/ชั่วโมง เป็นสัก150-180km/ชั่วโมง เป็นรถไฟความเร็วปานกลาง น่าจะคุ้มค่ากว่าถ้าทำได้ตามเเผน การเดินทางด้วยรถไฟจะสะดวกรวดเร็วขึ้นคนก็จะหันมาใช้บริการมากขึ้น เเละคุ้มค่าการลงทุนมากขนนอกเหนือจากการส่งสินค้า
การจัดการเดินรถที่ดีสามารถแก้ปัญหาได้ รถขบวนนี้จอดทุกสถานี และขบวนนี้จะจอดเฉพาะสถานีใหญ่ๆ คนเดินทางก็ตัดสินใจเอาเอง
ถูกต้อง
ความมั่นคง ถ้าต่างปะเทศบุก ก็ทะลุถึง กทม. แต่รถไฟคนขนาค สามารถถ่วงเวลาได้ รถความเร็วสูงก็ ใช้รางใหม่
เมื่อรางไม่เท่ากันบางคนก๋จะเชื่อมเราโดยตรงไม่ได้ เข้าออก ก็ลงมาผ่านด่านก่อน 😊
ปัจจุบันวิ่งยังไม่ถึง 120 เลยคับ วิ่งได้ 150 - 160 กำลังดีคับ เร็วมากไม่ดี หยุดไม่ทัน สถานีไทยอยู่ใกล้กัน
ที่ญี่ปุ่น ทางรถไฟธรรมดาที่วิ่งระหว่างเมืองทั่วประเทศใช้ทางรถไฟขนาด 1.067 เมตร ใกล้เคียงกับทางรถไฟ ขนาด 1 เมตร ของบ้านเรานะครับ ส่วนทางรถไฟ ขนาด 1.435 เมตร เป็นทางรถไฟฟ้าความเร็วสูงกับทางรถไฟฟ้าในเมืองครับ ส่วนรถไฟ Kiha ที่มาบ้านเรา ก็วิ่งบนทางรถไฟ ขนาด 1.067 เมตร มาก่อนนะครับ ไม่ใช่ทางขนาด 1.435 เมตรครับ
ใช่ควรสร้างทางคู่เป็นสามหรือสี่ แยกรถไฟสินค้ากับรถไฟโดยสาร ไม่ต้องรอหลีก
รถไฟท้องถิ่นรางคู่ 1 เมตร
รถไฟความเร็วสูง 1.435 เมตร
แยกกันดีแล้วครับ
รวมกันบันเทิงแน่
ดีแล้ว เผื่อกันไว้กรณีเกิดสงคนามฝนอนาคต
เอาความคิดตัวเองมาคิดเองรึเปล่าครับ ควรศึกษามาก่อนนะว่ารางขนาดไหนเหมาะกับประเทศไทยจริงๆ สำหรับรถไฟความเร็วสูง ที่กำลังสร้างอยู่ใช้ราง standard และแยกรางออกไปเฉพาะเลย เช่นเดียวกับที่ญี่ปุ่น
นั่นนะซิ เคยลุ้นให้เป็น1.435ม.ตั้งแต่ก่อนจะทำรางคู่จำนวนมาก น่าเสียดายมากครับ
เพิ่งรู้เหตุผล ก็ดีคับ แต่อยากให้เพิ่มความเร็วเป็น 140 - 150 ก็ดีนะคับ จะได้ประหยัดเวลาเดินทาง
เพื่อความั่นคงในอนาคต
ไทยใช้ทั้งราง 1 เมตร และราง 1.4735 เมตร ซึ่งเส้นทางส่วนใหญ่ไม่ได้ใช้ความเร็วสูง แค่ 120-150 ก.ม./ชม.ก็เพียงพอ
ที่ไม่เปลี่ยน ข้อดีมีเยอะกว่าข้อเสีย เงินที่จะมาเปลี่ยนใหม่ทั้งหมดใช้จำนวนเยอะมากๆ ต้องเอางบประมาณภาษีมาทุ่มทางนี้แทนที่จะไปพัฒนาถนนหนทางอย่างอื่น เพราะจะได้แค่ความเร็วที่เพิ่มขึ้นอีกนิดหน่อย ราคาค่าโดยสารไม่สามารถขึ้นได้มากเพราะเป็นรถไฟสำหรับผู้มีรายได้น้อย ซึ่งทุกวันนี้ต้นทุนก็สูงกว่าราคาค่าโดยสารอยู่แล้วแต่ได้งบรัฐมาพยุงไว้ รถไฟท่องเที่ยวความเร็วสูงเราก็ทำอยู่แล้วและจะทำต่อๆไป อันนี้ก็สำคัญในแง่ความมั่นคงเพราะถ้าเกิดสงครามหรืออะไรขึ้นจากเพื่อนบ้านหรือจากจีน จะสามรถขนยุทธโทประกรณ์เข้ามาได้อย่างรวดเร็วและจำนวนมากโดยที่เราจะไม่มีเวลาในการป้องกัน
ดีครับ ไม่งั้นป่านนี้รถใครก็ไม่รู้วิ่งผ่านไทยไปสิงคโปร์แล้ว เราก็จะได้แต่นั่งมอง เหมือนเพื่อนบ้านบางประเทศ
เหตุผลสำคัญในสมัยนั้น คือต้องการขัดขวางจักรวรรดิในความพยายามเข้ายึดครองประเทศไทย
รถไฟรุ่นใหม่ของจีนบางรุ่นสามารถเพิ่มหรือลดความกว้างของเพลาล้อได้แล้ว รางเลยไม่น่าจะเป็นปัญหาถ้าหากรถจะเข้าออกบ้านเราไปเพื่อนบ้าน เพียงแต่อาจต้องปรับความเร็วให้เหมาะสม เพื่อความปลอดภัย
ถามจริง. คนที่อยากเปลี่ยนรางขนาดนุ่นนี่. ครั้งสุดท้ายนี่ นั่งรถไฟเมื่อไหร่ ???
ญี่ปุ่นก็ใช้ราง 1.067 เมตร เป็นมาตรฐาน ไม่เห็นมีปัญหาอะไร แถมเพิ่มขนาดรางไปก็มีแต่ปัญหา เชื่อมรางเพื่อนบ้านไม่ได้ ราง 1 เมตร ก็ใช้ความเร็ว 160 กม/ชม ได้ แค่นั้นก็เพียงพอแล้วสำหรับรถไฟธรรมดา
ตู้โดยสารมันแคบครับ ไม่สะดวก ถ้ารางมาตรฐาน ขนาดตู้รถโดยสารก็กว้างตามด้วย ถ้าอยากจะให้คนใช้เยอะ ก็ต้องคิดถึงข้อนี้ด้วย ถ้าสะดวกสบาย คนเขาก็ยินดีจ่าย
@@เจ้าชายเลือดผสม-ข4หปัญหาคือ ทำทั่วประเทศ ใช้งบเท่ากับ ทำรถไฟความเร็วสูง 2 สายอะ
คำถามคือ งบขนาดนั้น เอามาทำรถไฟความเร็วสูง ไม่ดีกว่าหรือ
เราตะคิดโครงการอะไร ต้องดูที่งบประมาณเป็นตัวตั้ง ถ้างบประมาณประเทศไม่จำกัด ผมสนับสนุนสแตนดาร์ดเกท เต็มที่เหมือนกัน แต่...ในเมื่องบมันจำกัด ต้องมีการบริหารงบที่ดีครับ
1 เมตร เวลารถไฟวิ่งการโคลงตัวมีมากกว่า 1.435 เมตร แน่นอน
@@ดูดูไปเถอะ-ฑ8มงบประมาณอ่ะผมว่ามี แต่กผ็อย่างที่เห็นๆ ถ้าตรงไปตรงมาได้ทุกขนาดถ้าไทยจะทำจริงๆ สิ่งสำคัญของการเดินทางคือเวลา
แค่ 1 เมตร นี้ เวลาจองตั๋ว กลับ ตู้นอน ก็เต็ม ทุกที …. เอาว่า ปรับปรุงรถไฟ ให้ใหม่ และ ตรงเวลา ขึ้น ก็ Ok แล้ว
สรุปครับสรุปผู้เสนอรางมาตรฐานคือหน่วยงานด้านขนส่งครับ การรถไฟเพิ่มทางคู่ทั้งเก่าและใหม่เพื่อเพิ่มสมรรถนะการทำงานของรถไฟที่มีอยู่ในปัจจุบันให้เกิดประโยชน์สูงสุดคือดีขึ้นส่วนการจะไปเชื่อมอะไรกับใครนั้นให้มันมาเชื่อมกับเราไม่ใช่ให้เราไปเชื่อมกับมัน ปรับปรุงของเราให้ดีอยู่ตลอดอีก100ปีค่อยเปลี่ยนก็ได้ถ้าอยากบ้าตามคนอื่น
ไทยต้องได้ประโยชน์ ในประเทศ ทั้งหมด ใครจะเข้ามามีประโยชน์ในประเทศไทยไม่ได้ หรือรถไฟประเทศอื่นจะมาวิ่งในประเทศไทยมิได้ นั่นเอง
นี่คือมาตราฐานไทยเราใช้มาเป็นร้อยปีแล้ว คามเร็วขนาดนี้ก็ดีมากแล้ว เหมาะสมกับประประเทศไทยแล้วครับ
อยากจะทำแบบ UIC เพิ่มรางอีกเส้นเป็น ๓ ราง จบ
ไทยเราไม่เปลี่ยนแต่เราทำเพิ่มเติม ขนาดราง1.435เมตรที่กำลังสร้างสายอีสาน+3สนามบิน(เป็นทางคู่) ของเราที่ทำกำหนดให้เป็นความเร็วสูงกำหนดไว้250Kmเหมาะกับรถไฟทางไกล ซึ้งไม่อนุญาตใช้ร่วมกับรถสินค้า เพราะตามกฏความปลอดภัยถ้าใช้ร่วมกันรถความเร็วสูงจะใช้ความเร็วได้ไม่เกิน200Km แบบเพื่อนบ้านเราที่กำหนด160Km ส่วนราง1เมตรที่ทำทางคู่และทาง3จะเป็นการขนส่งสินค้า+โดยสารราคาประหยัดโดยกำหนดรถโดยสาร120Kmสินค้า70Km
ง่ายสุดคือสร้างทางคู่ทั้งประเทศเสร็จ ค่อยสร้างราง1.435 รางที่3เพิ่ม แล้วถึงมาเปลี่ยนรางที่2 จาก1ม.เป็น1.435 แบ้วค่อยมาเป็นรางที่1 เป็น1.435อีก ง่ายต่อการปรับเปลี่ยนหัวรถจักรขบวนด้วย
รากฐานที่ พท วางแผนไว้ ได้เวลาเดินหน้าต่อแล้ว หอมกลิ่นความเจริญ 🤩🤩🤩
ถ้าออกแบบเป็นระบบรางซ้อนได้ คือมีเส้นเหล็ก 3 เส้น ในรางเดียวกัน มีความกว้างทั้งสองขนาด 1ม.และ1.4ม. โดยไม่ต้องแยก เป็นสองราง ก็จะประหยัด และไม่ต้องดัดแปลงความกว้างของล้อขบวนรถแต่อย่างใด ซึ่งจะประหยัดเรื่องการดัดแปลงนี้ ปัญหาคืิอต้องทำหมอนใหม่ที่รองรับราง 3 เส้นนี้ได้ ซึ่งหมอนเก่าอาจนำไปใช้กับระบบรถสายสั้นๆในท้องถิ่น ที่ใช้รถความกว้างล้อ1เมตรโดยเฉพาะก็ได้...
คิดแบบนี้เหมือนกัน แต่ไม่แน่ใจเรื่องระบบอาณัติสัณญาณต้องปรับปรุงเยอะไหม
ถ้าทำได้จะดีมากครับ
จริงๆต้องทำความเข้าใจ 1.435 เมตร มันคือ European Standard guage เป็นมาตรฐานที่ยุโรปกำหนดขึ้นเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกันได้ เเต่คนจะเรียกสั้นๆว่า Standard guage ก็จะเข้าใจว่ามันคือได้มาตรฐาน จริงๆเเล้วไม่ใช่เลย รางขนาด 1 เมตร ก็ทำความเร็วได้ถ้าออกเเบบรางดีๆ สามารถทำความเร็วสูงสุด 170 กม/ชม ส่วนรางขนาด 1.435 เนี่ย มันทำความเร็วได้มากกว่า 200 กม/ชม สถิติที่ฝรั่งเศสเคยทำ 576 กม/ชม บนรางขนาด 1.435 เมตร
ราง1 เมตรถ้าทำการบำรุงรักษา มันก็วิ่งนิ่งได้ ส่วนราง1.43 นี่เชื่อมกับจีน แล้วรถไฟจีนก็วิ่งทะลุ ไทยไปลงท่าเรือที่สิงคโปร์เลยแล้วไทยได้อะไรครับ รถไฟที่ทำเงินคือรถไฟสินค้าไม่ใช่รถไฟโดยสาร รฟทต้องทำการพัฒนารถสินค้า และโละกฏระเบียบล้าหลัง ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการเดินรถได้มากกว่านี้ครับ
บางเรื่อง บางทีก็ พูดยากอธิบายให้เข้าใจได้ลำบาก และบางสิ่งบางอย่างเราก็ เปิดหมดไม่ได้...😊😊
รถไฟขนาดรางกว้าง 1.00ิเมตรใช้กับหัวลากและตู้ขนาด1.00เมตร ถ้าจะเพิ่ม1.4
เสียดายนะน่าจะได้มาตรฐาน ถ้ามีสงครามแค่ถอดรางออกไปเท่านั้น ถ้าห่วงเรื่องสงคราม
ไทยสมัยร.ห้ารางมาตรฐานสากลนิยมแต่มีมือดีมาทำหน้าที่เปลี่ยนเป็นหนึ่งเมตรร.ห้าสายพระเนตรยาวไกลแต่ลูกหลานมันไม่เอาไหนทำตามใจตัวเองรู้ทั้งรู้มันวิ่งคลานเป็นเต่าทุกสันนี้ไง
มีคนทักมันยังดื้อเอาชนะ แถไปสร้างทางใหม่ความเร็วสูงทั้งที่ประเทศไม่ได้ใหญ่โตอะไร กรุงเทพ_เชียงใหม่ใช้เวลาเดินทาง3ชม.เขาก็ดีใจแล้ว
สมันนั้นไม่มีรางมาตรฐาน ความเร็วไม่ต่างกันเลย พึ่งมาเป็นขนาดมาตรฐานใหม่ยุคหลัง อย่าเข้าใจผิด
ทีไทยขาดคือ
รถไฟแบบรางคู่ที่
ไม่ต้องเสียเวลาสับราง
ขนาดรางยังใช้ได้อยู่
และยังใช้ได้ดี
สมัยก่อนขนาด 1ม.
เป็นรางมตรฐานเพราะ
หัวรถจักร และตู้โดยสาร
สั่งจากนอกมาหมด
ขนาด 1.435 เพิ่งจะมี
ตอนรถไฟความเร็วสูง
ที่เริ่มในยุโรปก่อน
โง่ๆอย่างนี้หัดอ่านหนังสือ
บ้าง ไม่พูดก็ไม่มีใครว่าโง่นะ
เดิมทีเราใช้ขนาดมาตรฐาน แล้วมีการบริหารที่ผิดพลาดในสมัยก่อน ที่เปลี่ยนขนาดรางเป็น 1 เมตร ในปัจจุบัน ทำใไ้เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง
วิธี คือ วางรางใใหม่ 3 ราง / / / ใช้ได้ทั้ง 1 และ 1.4 หลายประเทศก็ทำ
อยากให้ตามเรื่องบริษัทที่เข้ามาทำห้างสรรพสินค้าในสถานีกลางกรุงอภิวัฒน์ว่าไปถึงไหนแล้ว
จริงครับ รางสแตนดาร์ด = ทำใหม่ทะั้งหมด งบอีกเท่าไร
ผมก้อว่าอยู่ทําไมเป็น3ราง ไม่เอารางเดี่ยวเดิมออก สรุปคือเค้าจะเอารางเดี่ยวเดิมวิ่งรถสินค้าล้วนๆเลยใช่ป่าวครับ แล้วไอ2รางใหม่วิ่งรถโดยสารแยกไปเลยใช่มั้ยครับ อย่างงี้เหลือแค่ติดระบบไฟฟ้าบนหัวแค่นั้นจริงจะเพอเฟคเลย ติดเสร็จเอารถหัวแหลมแบบมาเลย์มาวิ่ง
ทำแบบอินเดียก็ได้ ใช้ราง3เส้น
เส้นที่3ให้ห่างจากเส้นที่1 1.435เมตร
อ๋อ เข้าใจแล้ว ดำเนินการต่อไป
จากเด็กเข้าสู่วัย60แล้วรถไฟไทยยังคงเหมือนเดิมเสียแรงที่ไทยมีรถไฟใช้เป็นชาติแรกของทวีปเอเซียก็ยังคงเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้นเลยขาดทุนทุกปีควรจะพัฒนาได้แล้วชาติอื่นเขามาทีหลังเขาทิ้งเราไม่เห็นฝุ่นแล้ว? 😅😅
ใช้มานานแล้ว เปลี่ยนเปลืองตังค์ แต่เปลี่ยนได้ก็ดีเราจะได้ขบวนหรือตู้ที่หรูหราขึ้น
ฐานกว้าง ก็ทรงตัวดีกว่า ฐานแคบ หลักการง่ายๆ ทางกลศาสตร์
ไม่ทะยอยเปลี่ยนไปทีละสาย ไม่เริ่มก็ต้องทนอยู่กับแบบเดิม งกกลัวต้องใช้เงินเพิ่มกลัวต้องทิ้งของเก่ามากกว่า แค่เริ่มทำทางเดียวแต่มีรางทั้งสองแบบแล้วทะยอยเปลี่ยนก็ได้แล้ว
ยิ่งสมัยนี้หมอนเป็นปูนด้วยเปลี่ยนง่าย
ฟังจบหรือเปล่า
เราก็จะได้ทางรถไฟที่กว้างขึ้น แต่มีทางให้วิ่งทางเดียวเหมือนเดิม ต้องรอลีกเหมือนเดิมเสียเวลาเหมือนเดิม
@@preecha2959 จบซิ ทาง สองราง 1 สามราง 1 สองราวใช้รถเดิม สามรางใช้รถใหม่ รถเก่าไม่ต้องปรับปรุง ทะยอยเปลี่ยนเป็นรถใหม่ ถ้าไม่เริ่มก็ซื้อรถเก่ามาเมือนเดิมก็ติดกับดักเดิม
ควรจะเริ่มทะยอยเปลี่ยนเป็นรางกว้าง 1.435 เมตร การโคลงตัวมีน้อยกว่าแน่นอน แล้วควรปรับมาตรฐานความเร็วให้สูงขึ้น ผู้ใช้บริการย่อมอยากประหยัดเวลาดินทางอยู่แล้ว
รางมาตราฐาน1.435เมตร ไทยใช้กับรถไฟความเร็วสูงเชื่อมรถไฟลาวจีนลงไปถึงสิงค์โปร์
ผมเห็นรถไฟอินเดีย วิ่งเร็วขนาดนั้น แต่ก็ยังมีคนข้ามไปข้ามมาตลอด บางครั้งข้ามไม่ทันก็มี รถไฟมาเร็วมาก 😅😅
ถ้ารู้วัตถุประสงค์ของคนตัดสินใจ ว่าต้องการอะไร ให้ใครใช้ขนอะไร และใช้จากการ สร้างรางขนาด 1 เมตร แทนที่จะใช้ 1.435 ม..(Standard Gauge) นี้ แล้วจะหนาว ถูกขุดกระดูกขึ้นมาด่าเละแบบหน้ามือเป็นหลักมือ เลย การรถไฟ กล้าเปิดเผยเอกสารนี้ไหม ครับ😢
ถ้าเปลี่ยนต้องเปลี่ยนทั้งประเทศ รถไฟต้องเปลี่ยนให้ใช้รางใหม่ได้ ใช้งบมหาศาล มันไม่จำเป็นเลยที่ต้องเปลี่ยน มันใช้ได้ แค่มีทางคู่ก็เร็วขึ้นแล้ว
ขอคำบรรยาย ขึ้นมาทีเดียวทั้งประโยคเลยได้มั๊ยครับ ขึ้นมาทีละคำแบบนี้ ตาลายครับ
ปัญหามันไม่ได้อยู่กับขนาดความกว้างรางแค่อย่างเดียว ตู้โดยสารที่เก่าแก่วิ่งได้สูงสุดแค่ 90 กม./ชม. ก็คือปัญหา ต่อให้ได้หัวจักรใหม่ก็วิ่งได้ไม่เกินนี้,รางเก่ารับน้ำหนักน้อยก็คือปัญหา,จุดตัดกับถนนหรือฝูงปศุสัตว์ไม่มีรั้วกั้นเป็นสัดส่วนก็คือปัญหา และที่สำคัญก็คือ”คน”หรือบุคลากรที่จะต้องแมทกับเทคโนโลยี่และการบริหารจัดการในยุคใหม่(วิสัยทัศน์)นี่แหละครับ
ต้นทุนดูแลรางแคบแพง
สาเหตุคนที่เลือกใช้รถไฟน้อยลงมาจากมันช้าไม่ตรงเวลาเพราะมันสร้างไม่หยุดนี่งัย ตั้งแต่ยุคไอ้หนวดเริ่มเปลี่ยนหมอน,เปลี่ยนราง,สร้างทางคู่ มันก็ช้าบ้างเร็วบ้าง คนก็ใช้น้อยลงไปเรื่อยๆ ไม่ได้เกี่ยวกับรถเก่าสักนิดเกี่ยวกับทางที่สร้างนี่เเหละ
คนใข้ได้ประโยชน์...
ควรใช้รางมาตรฐานมานานแล้ว เสียดาย ร5 วางไว้ดีๆ มาเปลี่ยน
เปลี่ยนขนาดรางไปหาโตมรทำไม. จะช่วยให้ชิงคระบายสินค้าและคนมาถล่มไทยหรือ. รฟท. เร่งขยายรางคู่ ขนาด 1 ม. ดีแล้ว.
แก้ไขเป็น standard guage นะครับ ไม่ใช่ standard gate
ดูรถไฟบ้านเราด้วยถ้าเปลี่ยนแบบคุณว่าจะยุ่งแค่ไหน
น่าจะเกี่ยวกับความมั่นคง ถ้ารางขนาดเท่ากันหมด ศัตรูเชื่อมต่อทางรถไฟได้ ก็บุกยึดได้ทั่วประเทศเลย สันนิษฐานนะ
ใครจะรบกับใคร...พูดยังกะรถเร่พุ่มพวง...สมัยนี้เขาไม่ขนอาวุธด้วยรถไฟไปๆมาๆมั้งอยู่บ้านเลงกดไปที่เขื่อน3ฝาเลยไม่ดีรึ
@@อินแต่งพชรโชติโภคิน-ฤ8ภไปเปิดข่าวยูเครนครับ ใช้ขนกันลึ่มล่ำทั้งรัสเซีย ยูเครน
ไม่เปลี่ยนก็ไม่มีปัญหาอย่างน้อยก็ด้านความมั่นคง เห็นเพื่อนบ้านบอกว่าจีนจะขนกำลังพลยุทโธปกรณ์เข้ามาทางรถไฟมาถึงตั้งกองพลได้ทันที ถ้าไม่เปลี่ยนก็มาได้แค่เวียงจันนท์ ให้พอมีเวลารับมือได้เนาะ
จริง
ถ้าทำเป็นรางขนาดมาตรฐานรัฐมนตรีคนต่อไปก็ไม่รู้จะทำมาหากินยังไงสิครับ ทำให้ดีเกินไปแล้วต่อไปจะไม่มีอะไรให้ทำไม่ใช่เหรอครับ
มีเหตุผลดีมากๆ
ทำตัวเองให้เป็น hub ขนาน ราง พอ ไม่ต้องไปเชื่อมราง อย่าให้รถประเทศอื่นเข้ามาวิ่ง จะคอนโทรลยาก เพราะต้องให้สิทธิ์ประเทศนั้นๆ มาร่วมคอนโทรลโครงข่ายกับทางไทย เท่ากับเรา ดูแล 50/50
อยากให้เปลี่ยนเป็นระบบรางใหญ่ขึ้นเหมือนกัน แต่ใจนึงก็เข้าใจว่า การเปลี่ยนระบบใหม่จากที่เดิมใช้อยู่ทั่วประเทศมันเป็นเรื่องใหญ่มาก
เปลี่ยนรางใหญ่เพื่ออะไรครับ เหตุผล
@@TimeTicha ทำความเร็วเพิ่มขึ้นได้ครับ
ดีแล้วใครจะผ่านบ้านเราก็ต้องต่อรถ
มันก็ต้องเริ่มแก้ เมื่อเรื่มสร้างทางใหม่ก็ทำเป็นรางสากล ถ้าไม่ทำก็จะเป็นรางแบบขนาดเท่าเก่าทั้งหมด
ก็จะยากและเสียงบประมาณจำนวนมาก เมื่อต้องการเปลี่ยนเป็นรางระบบใหม่ ถ้าไม่เริ่มพัฒนาก็จะเป็นแบบเดิมๆ
ปัญหาของรถไฟในปัจจุบันคือ มีทางไม่พอวิ่ง ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ขนาดความกว้างของราง
เพราะรถไฟไม่ยอมพัฒนา รถไฟไทยเพิ่งเริ่มมีการก่อสร้างทางเพิ่ม และเพิ่มขบวนรถ เมื่อก่อนรถไฟก็เก่า วิ่งก็ช้า ถึงก็ช่างไม่ถึงก็ช่าง ไม่ตรงเวลา คนไม่นิยมใช้บริการ ถ้าพัฒนาให้ดีดีสะอาด รวดเร็ว ตรงเวลาไม่ต้องจอดรอสับราง อีกหน่อยคนไทยก็จะเพิ่ม การเพิ่มความกว้างทางรถไฟก็จะใช้ความเร็ววิ่งได้เร็วขึ้น ปลอดภัยขึ้น
@@singtoe285 รางกว้าง 1 เมตร เป็นมาตราฐานมีเตอร์เกจ (Meter Gauge) สามารถรองรับความเร็วได้สูงสุด 160 กม./ชม. ซึ่งเพียงพอที่จะใช้กับรถไฟไทยที่ใช้ความเร็วสูงสุดที่ 120 กม./ชม. ถ้าจะลงทุนเปลี่ยนเป็นรางกว้างต้องลงทุนเพิ่มจากปัจจุบันอีกมหาศาล แล้วจะเปลี่ยนเพื่อ?
คนมันดื้อครับ จะอยู่จะทำแบบเดิม
@@nanajidtung9231 ถ้าแบบที่คุณว่าทำไม่ทางมาเลเซียถึงยังทำทางคู่เป็นทางมาตราฐานรางขนาด1 เมตรแล้วทำไม่ถึงไม่ทำเป็นสากล1.435 เมตรไปเลยละ ขนาดทาง1 เมตรก็วิ่งได้สูงสุด160 ละ
ถ้าทำรางกว้าง 1.435 ม. ต้องรื้อทางทำใหม่ทั้งหมด งบประมาณมันจะมหาศาลขนาดไหน ขนาดกู้เงินมา ตอนโควิทระบาด ก็โดนด่า ด่า และด่า อย่างเดียว โดยไม่ฟังใครใดๆทั้งสิ้น ทางการเขาศึกษามาอย่างรอบคอบแล้วว่าอะไร แบบไหนจะคุ้มกว่ากัน ไอ้พวกที่ออกมาด่าอย่างเดียวคือไม่รู้ 4 รู้ 8 อะไรเลย
🤣
😂😂😂😂😂 พูดได้ดีถูกใจ
รื้อรางใหม่ไม่พอต้องมาขยายล้อของรถไฟทุกโบกี้อีก
ตอนนี้ไม่ทันแล้ว
รถไฟขาดทุน ไม่ค่อยมีคนนั่ง พวกนี้ไปโทษขนาดรางเฉยเลย...
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับความเห็นของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย...แต่เห็นด้วยกับ สนข.
ใช้บริการรถไฟมา 30 ปี พัฒนาช้ามาก คนในการรถไฟก็มีมากเกินงาน เคยคิดเมื่อ 30 ปีที่แล้วว่าอีก 10 ปีคงดีขึ้นแต่ก็ได้แต่คิด
เอาแบบไม่ต้องคิดอะไรมากเลยนะ ไทย ไม่ต้องการให้รถไฟต่างชาติมาวิ่งในไทยงัย😅😅😅😅
ไม่เคยเห็นรถไฟมาเลย์วิ่งในไทยเหรอ
รถท่องเที่ยวEastern and Oriental Express นี่ก็วิ่ง สิงคโปร์-ไทย พม่ากัมพูชาเวียดนามก็ใช้ราง1เมตร
@@twistno.4870 อันนั้น มันเป็นรางชุดเก่า ทีมีมานานแล้ว แต่นี่หมายถึงที่จะสร้างใหม่
อยากให้เปลี่ยนขบวนรถไฟใหม่มากกว่า ราง1เมตร ก้เพียงพอแล้ว
ราง 1 เมตรอังกฤษกับฝรั่งเศสกำหนดขึ้นในสมัยอาณานิคม ดังนั้นไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม เมียนมาร์ กัมพูชาจึงเป็นราง 1 เมตร สมัยเริ่มแรกไทยใช้ Standard gauge สายเหนือ อีสาน ส่วนสายใต้แลที่เชื่อมกับมาเลเซียเป็น 1 เมตร
แนวคิดอนุรักษ์นิยมสุดโต่ง มีคนไม่ให้ทำ เกี่ยวกับความมั่นคง
อันนี้ คือความอัปรีย์ อัปลักษณ์ ถ้าใช้หลักการทางวิชาการสากล ครับ
ถ้าศึกษาประวัติศาตร์รถไฟไทยจะทราบดีว่า ทำไมจึงลดขนาดใช้ 1 เมตร เป็นเรื่องที่น่าเศร้า ปี 2566 จะมาเปลี่ยนไปใช้ 1.435 เมตร คิดว่าไม่คุ้มค่าแน่นอน เพราะต้องเปลี่ยนทั้งระบบ ราง และขบวนรถ ของเดิมก็ใช้ไป สร้างระบบใหม่ขนานกันไปจะดีกว่า ถ้าพูดถึงเรื่องความมั่นคงทางทหาร ยิ่งจะไม่ทันกิน แพ้ศุัตรูในเรื่องการขนส่งยุทธโธปกรณ์ตั้งแต่ยังไม่ออกจากกรุงเทพ วันนี้เราไม่ทำสงครามทางทหารกันแล้ว สงครามการค้าน่ากลัวมากกว่า ทำเอาประเทศยากจนหรือล้มละลายได้ทันที ดังนั้น การเดินทางที่รวดเร็ว จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก
คำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก ศัตรูไทยมีรอบด้าน เท่าที่เห็นก้อมีสอง-สามชาติ...???🫥
ชมรมจุฬา คิดเหมือนสุพจน์ใข่มุกเลย คงต้องรอให้ถนนลูกรังหมดจากประเทศก่อนใช่มั้ย ถ่วงความเจริญจริงๆ ส่วนระยะทางไม่พอเร่งความเร็ว ก็เพิ่มแรงม้าเครื่องสิเอาให้แรงทะลุโลกไปเลย เรียนมากะโหลกกะลาอย่างงี้อย่าไปเรียนมันเลยจุฬานะ
วางรางกว้าง 1 เมตร ง่ายกว่าต้องมา modify ความกว้างล้อครับ
ขอบคุณสำหรับข้อมูลนะครับ
ถูกต้องครับ.. Ok
🗣️✍️👍👍👍👍👍👍👍👍👍👍👍👍❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️
แค่รางเดี่ยวเดิมๆก็ดีอยู่แล้ว เอาถนนลูกรังให้หมดไปจากไทยก่อนเถอะ
้เป็นไปได้ไหมที่จะิออกแบบทำรางซ้อน คือมีเหล็กรางอีกเส้นหนึ่งซ้อนอยู่ในรางเดียวกัน ถ้าเป็นไปได้ก็จะใช้กับความกว้างของล้อทั้งสองขนาด เพื่อใช้กับรถรุ่นเก่าและรถรุ่นใหม่ด้วยกันเลย 🤔
มีที่ออสเตเลีย
เคยมีแนวคิดนี้มาแล้ว มีข้อเสียมากกว่าข้อดี
เปลี่ยนขนาดรางเป็น 1.435 มันไม่ยากหรอก
แต่จะเอาตังค์จากไหนมาเปลี่ยนเพลาล้อรถไฟจาก 1.00 ไปเป็น 1.435
หัวรถจักร 120 หัว,
โบกี้ผู้โดยสาร 650 โบกี้
แคร่บรรทุกสินค้า 800 แคร่
งบประมาณในการตัดต่อเพลาล้อให้กว้างขึ้นเท่าขนาดรางใหม่อีก 700,000 ล้านบาท
ยังมีค่าเวรคืนที่ดินอีก 65,000 ล้านบาท เพราะเมื่อรางกว้างขึ้น วงเลี้ยวตอนเข้าโค้งก็ต้องกว้างตาม ที่ดินรถไฟเดิมมันไม่พอให้รถไฟรางกว้างตีวงเลี้ยว ต้องขยายรัศมีความโค้งดริฟเข้าไปในที่ดินชาวบ้าน
คนคิดมันไม่มีสมอง
เคยสงสัยแต่ตอนนี้หายสงสัยล่ะ เพราราง 1.435 ลงทุนมากกว่า แถมต้องซื้อขบวนรถใหม่ อีกอย่างทางคู่วิ่งเต็มทีก็ไม่เกิน 150 km/h จะไปเอา1.435ไปทำไม เหมือนจะซื้อรถเบนซ์มาทำแท็กซี่ ถ้าอยากเร็วมันก็มีรถไฟฟ้าความเร็วสูงต่างหาก อีกอยากเสนอว่า ให้ควบคุมความเร็วให้เป็นมาตราฐานเป็นความเร็วเดียวกัน ทังรถไฟขนส่งสินค้า กับขนส่งผู้โดยสาร เช่นจำกัดความเร็วไว้ที่100Km/h ป้องกันอุบัติเหตุ และยกระดับความเร็วขนส่งสินค้า จะทำให้สามารถใช้รางรถไฟทางคู่ได้มีประสิทธิภาพมากกว่า 3ทาง
รถไฟไทยใช้รางเท่าไหร่ละ
ถ้าทำตามาตรฐาน รถไฟที่มีอยู่จะวิ่งได้ไหม
คุ้มค่าครับ
ใช่เราจะไม่ยอมให้ใครเข้ามาวิ่ง
ประเทศที่มีแดนติดไทย มีลาวประเทศเดียวที่ใช้ราง 1.435 ม.
ไทยส่งสินค้าไปขายยังประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และส่งสินค้าไปต่างประเทศที่ท่าเรือปีนัง สิงคโปร์ด้วย ถ้าใช้รถไฟทาง 1.435 เมตร ก็ไม่สามารถเชื่อมกับทางรถไฟมาเลเซียได้ เพราะมาเลเซียใช้ทางหนึ่งเมตรเหมือนกัน สินค้าไทยก็เป็นที่นิยมในมาเลเซีย นักลงทุนไทยไปสร้างศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในมาเลเซีย ในอินโดนีเซียก็นิยมใช้สินค้าไทยเช่นกัน เพราะเป็นสินค้าที่มีคุณภาพและมีตราฮาลาล ส่วนเขมรก็กำลังปรับปรุงเส้นทางรถไฟให้มีขนาดรางหนึ่งเมตร ถ้าเสร็จสมบูรณ์ไทยสามารถส่งสินค้าเข้าเขมรโดยทางรถไฟ ซึ่งปัจจุบันสินค้าไทยก็ตีตลาดเขมรอยู่แล้ว ลาวก็มีโครงการสร้างทางรถไฟลงมาทางใต้ขนาดรางหนึ่งเมตรเพื่อเชื่อมต่อกับเวียดนาม ซึ่งไทยอาจเชื่อมต่อกับลาว เพื่อส่งค้าไทยไปยังเวียดนามสะดวกมากขึ้น ปัจจุบันสินค้าไทยก็สามารถตีตลาดลาวและเวียดนามเช่นกัน ส่วนทางทิศตะวันตก อินเดียมีโครงการสร้างทางรถไฟจากอินเดียผ่านพม่า เส้นทางหนึ่งมาทางไทย และอีกเส้นทางหนึ่งไปจีน โดยทำชุมทางที่เมืองมันดะเลยห์ในพม่าถ้าเส้นทางนี้สำเร็จ ไทยจะได้ประโยชน์มากมากมายมหาศาล ไทยสามารถส่งสินค้าตีตลาดพม่าและอินเดียคนอินเดียก็แห่มาเที่ยวไทยมากมายเช่นกัน
เอาจริงๆพอศึกษาคำว่า standard คืออะไร มันมีตั้งหลายแบบหลายมาตรฐาน เราทำถูกแล้วทำในสิ่งที่เรามี
ทำราง 1.435 ไม่ยากครับ แต่ต้องเปลี่ยนโบกี้ใหม่หมด นี่เรื่องใหญ่เลยนะ รางเดิมก็รับความเร็ว 150 ได้ ปัญหามีแค่การจอดบ่อยกับรอหลีก ถ้าจะทำ 1.435 ควรเป็น รถไฟระบบใหม่ไปเลย หรือ ในอนาคต อาจจะต้องวางแผนในการปรับปรุงเป็นรางเดียว 2 ความกว้าง โดยทยอยวางหมอนแบบ 2 ความกว้างไว้ แล้วค่อยๆปลดระวางโบกี้เดิม จะไม่เป็นภาระเรื่องงบประมาณครับ
สหราชอาณาจักร เวียดนามเหนือ มีราง2ขนาดร่วมกัน
ตอน ร.5 สร้าง เป็นรางกว้าง 1.45 เมตร
แต่เราอยากเชื่อมกับ มาเล ทเลยลดขนาดรางลง
แต่สุดท้าย ก็ไม่ได้เชื่อม ใช่ไหม
จะเชื่อทำไม ในเมื่อ มันมีแต่ปัญหา😂
@@kewintaylor7056 รถไฟไทยเชื่อมกับมาเลย์ครับ มาหยุดไปช่วงโควิด ทั้งส่งสินค้า ทั้งแบบท่องเที่ยว ลาวก็มีเชื่อมเช่นกัน ราง 1 เมตร
ที่ฟังมาเป็นเหตุผลเรื่องความมั่นคง...ถ้าเท่ากันจากลูกพี่...เอารถถังขึ้นรถไฟเเล้ววิ่งเข้าไทยได้สบาย
เเต่ถ้ารถไฟรางกว้างจะเข้ามารางไทยก็มีhubเปลี่ยนขนาดล้อเอา
มิติความมั่นคง
รายละเอียด มากเกินไปฟังไม่รู้เรื่องสรุปย่อๆได้ไหมทำไมถึงไม่สร้างราง.1. 435 ม.
1. คือ มันต้องรื้อรางเก่าฝั่งนึงออก
2. งบทำอีกฝั่งทั้งประเทศ ประมาณ โครงการรถไฟความเร็วสูง 2สาย
3. ตอนนี้ ไทยทำรถไฟความเร็วสูง 2 สายอยู่ คือ กรุงเทพ-โคราช และ ดอนเมือง - อู่ตะเภา ทำให้ไม่จำเป็นที่จะต้องถลุงงบโดยไม่จำเป็น
4. ข้อนี้สำคัญมาก งบประมาณมีจำกัด ครับ
ไทยเลือกแล้ว ว่าจะทำรถไฟความเร็วสูงทั่วประเทศ ดังนั้น รถไฟทางคู่จึงเป็นแค่อีก1 ตัวเลือกให้ประชาชนเฉยๆครับ
ราง 1 เมตร ตอนนี้มี 4000 กว่ากิโล ถึงแม้จะเป็นทางเดี่ยวไปซัก 80 % ต้องใช้งบประมาณในการรื้อทิ้ง สร้างใหม่อีก
ต้องย้อนไปถึงร.6 ที่อังกฤษสร้างทางรถไฟสายใต้1เมตร มาได้ถึงแค่สถานีธนบุรี แต่สายอื่นสร้าง1.435ม. เหนือ อีสาน ตะวันออก วิ่งเข้าหัวลำโพง มาลดขนาดเป็น1ม. เมื่อสมัยร.6
ปัญหาของรถไฟในปัจจุบันคือ มีทางไม่พอวิ่ง ทำให้ต้องเสียเวลารอสับหลีก ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ขนาดความกว้างของราง
วิสัยทัศน์แบบน้มันถึงเปลี่ยนราง1.435สมัยร.5 มาใช้1ม.
ใจเย็นๆ ไทยกำลังศึกษาราง กว้าง
2เมตร เพื่อให้ไม่เหมือนชาวบ้าน
เหมือนอยู่ดี อินเดียใช้อยู่ แขกไม่ได้ใช้ standard gauge นะ
ระบบเก่า ระบบใหม่ สามารถใช้ร่วมกันได้ โดยวางขนาด 1 และ1.4 โดยเพิ่มรางจาก 2 รางเป็น 3 ราง ไม่มีความจำเป็นต้องทำทุกแห่ง หยุดคิดอะไรสุดโต่ง ไม่ใช่แค่ขาวกับดำ