Professor, she experiences the insight of Hydrogen production into commerce and practice of production realistic. She is Know-How insight, not being in labs. U are Thai innovative. Thanks sir.
ขอเตือนว่าอย่าใช้แอมโมเนียเด็ดขาดนะครับ นี้คือคลิปที่ว่าคนขับตายทันทีที่แอมโมเนียรั่ว ตำรวจที่เข้าไปช่วยก็ด้วย!!! ผมขอแยกโพสนะเพราะ youtubeมันชอบลบลิ้งค์ทิ้ง ให้เอา KT-3WZ-23Ac ไปใส่ไว้ในlinkของyoutubeแล้วดูความน่ากลัวของแอมโมเนียนะครับ ผมเป็นคนนึงที่เขียนเตือนพวกวิศวกรในต่างประเทศมาตลอดถึงอันตรายของมันและพยายามรณรงค์ไม่ให้ใช้กับยานพาหนะโดยเด็ดขาด Please beware the dangerous of NH3 as fuel!!* ในขณะที่เกิดการรั่วของน้ำมันไม่ว่าดีเซลหรือเบนซิลก็ตาม จะไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง ผิดกับ NH3ที่ถ้าเจอกับน้ำในร่างกายจะกลายเป็น...... NH3+H2O = NH4OH ซึ่งมีฤิทธ์เป็นเบส คุณจะเห็นว่า รถยนต์ที่บรรทุกแอมโมเนียมาคนขับตายทันทีที่รั่ว แม้แต่ตำรวจที่เข้าไปช่วยก็ตายทันทีเช่นกัน เหตุการณ์นี้จะไม่เกิดขึ้นถ้าในนั้นเป็นน้ำมันเบนซิน(gasoline )หรือดีเซล Global warming:🌍 ปัญหาภาวะโลกร้อน I don't think ammonia combustion engine vehicles 🚗,🚤,✈ type is a good IDEA!!Burning NH3 can cause NxO and NO gas, (However for power plant with NxO gasses scrubber system might be OK, Please prepare air filter Gas mask as emergency PPE incase of leaking!!) The NxO gasses such as Nitrous oxide can cause more global warming than CO2 300 time and live upto 144 years!! both NH3 and NO gas are toxic, especially when accidents occur. การใช้fuel cellสำหรับแอมโมเนีย ในโรงงานใหญ่ๆ นั้นพอเป็นไปได้ แต่ต้องระวังมากๆกรณีรั่ว(ถ้าคุณพร้อมจะรับผิดชอบกับชีวิตพนักงานของคุณในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุหรือไม่)H2นั้นจะลอยขึ้นฟ้าไปถ้าไม่มีประกายไฟจะไม่ระเบิด แต่NH3 มันจะกระจายไปทั่วทันทีที่รั่ว คนงานของคุณที่อยู่รอบๆที่เก็บจะตายทันทีที่รั่ว fuel cellจะต้องผ่านการตรวจสอบให้มั่นใจว่าจะไม่มีO2ปะปนในระบบด้วยเช่นกัน ซึ่งผมเคยเตือนเครื่องฟอกอากาศแบบประจุ และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานลมชนิดประจุว่ามันอาจก่อให้เกิดไนตรัสอ๊อกไซดด้วย เพราะในอากาศมีN2อยู่ 78% O2 20% การใช้ประจุไฟฟ้ามีความเป็นไปได้จะเกิดไนตรัสอ๊อกไซด์ที่ส่งผลรุนแรงต่อภาวะโลกร้อน จะเปลี่ยนเพื่ออะไรเราต้องมั่นใจว่าไม่ได้กำลังหนีเสือ(CO2)ไปปะทะไดโนเสาร์(N2O) และห้ามใช้NH3เป็นเชื้อเพลิงในengineเครื่องยนต์สันดาปโดยเด็ดขาดเพราะการเผา NH3 กับ O2 จะเปลี่ยนเป็น NxO gases(alternative green house gas) ซึ่งหลายตัวอย่างN₂O ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจกรุนแรงกว่าCO₂ 300เท่า!!!!และอยู่นานถึง 144 ปี ผมไม่แนะนำ การใช้NxO Scrubber gassesในเมืองไทย เพราะขนาด CO2 Scrubber ทำได้ง่ายกว่ามากแถมยังได้ผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์มากมาย (เช่น โซเดียมคาร์บอนเน็ต โซเดียมไบคาร์บอนเน็ต น้ำแข็งแห้ง)ยังไม่เห็นใครทำกันเลย เพราะฉะนั้นการใช้แอมโมเนียกับเครื่องยนต์สันดาปในเมืองไทยนั้นตัดทิ้งไปได้เลย
00:00 เริ่มรายการ
01:59 ภาพรวม
03:59 ปูพื้นไฮโดรเจน
09:13 ทำไมมนุษย์กลับมาสนใจไฮโดรเจน
12:10 สองโจทย์ใหญ่ของการใช้ไฮโดรเจน
18:15 ประเภทของไฮโดรเจน
23:57 ที่เก็บไฮโดรเจน-เซลล์เชื้อเพลิง แกะโชว์กลางรายการ
33:25 การพัฒนาของเซลล์เชื้อเพลิง
36:42 วางยุทธศาสตร์ไฮโดรเจนระดับโลกทำอะไรอยู่?
40:14 อนาคต 5-10 ปี
49:42 ข้อเสนอถึงภาครัฐ
53:58 ใครจะโดนดิสรัปต์?
😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊😊
อาจารย์เก่งมากเลยครับ พยายามอธิบายให้เข้าใจง่ายที่สุด พยายามใช้ภาษาที่คนทั่วไปจะเข้าใจได้ง่ายที่สุด
คิดว่าจะน่าเบื่อฟังไม่จบ สมัยเรียนเกลียดเคมีมาก สนุกซะงั้น อ.อธิบายฟังง่าย ชัดเจน จังหวะพูดดีมาก น่าฟังไม่ยืดเยื้อไม่ง่วงเลย ชอบมากค่ะ
ฟังเพลิน อาจารย์สวย และเก่งมากครับ ขอชื่นชม ได้ความรู้ดีสุดๆ จาก ไม่มีความรู้เกี่ยวกับ Hydrogen energy
พอดู ep นี้เข้าใจมากขึ้น มองภาพตามชัดขึ้นเลยครับ เรื่องที่ยานยนต์ญี่ปุ่นไม่ตามเทรน ev แต่เลือกที่จะมองไปที่เครื่องยนต์ไฮโดรเจนแทน
ฟันธงว่าไม่เกิดง่ายๆ ราคาจะถูกลงยังไง ยังไม่บอกเลยสักคำ ภาพไม่ชัดสักหน่อย
@@luchailing661 ส่วนตัวก็คิดว่าคงไม่เกิดขึ้นง่ายเหมือนกันครับ ส่วนเรื่องราคา ความคิดส่วนตัวผมคิดว่า วันนั้นอะไรหลายๆอย่างคงพร้อมมากแล้ว กระบวนการต่างๆง่ายขึ้น ผลิตได้เยอะขึ้นราคาคงจะถูกลงมาเองครับ ผิดถูกยังไงต้องขออภัย
Hydrogen fuel ญี่ปุ่น และ etc. ทำวิจัยมาอย่างน้อย 20 ปีแล้ว
@@luchailing661 10 ปี ก็เรียกว่าเร็วได้แล้วครับ
ผมคิดว่าใช้กับรถยนต์ คงไม่กลับมาใช้การจุดระเบิด แต่คงใช้ให้พลังงานกับมอเตอร์มาขับเคลื่อนมากกว่า เพราะทั้งน้ำหนักที่เบา ชิ้นส่วน และการขับเคลื่อนที่ดีกว่าครับ
ด้วยความเคารพ
ความคิดแบบผู้นำสังคม มีแล้ว
พัฒนาคนคณะร่วมให้ เข่มแข็ง
คนแย้งมีแน่เพราะที่ผล ประโยชน์
ขอโทษมีทุกสังคมคนดี คนเลว คนทราม
ด้วยรักเป็นกำลังใจที่สุด ครับ ขอให้ประสบผลสำเร็จ ด้วยรักเจริญพร สาธุ สาธุ สาธุ
ฝันที่อยากให้เป็นจริง ในช่วงชีวิต ได้ขับรถพลังงานไฮโดรเจน แล้วแน่ใจว่าต่อไปโลกสวยค่ะ
ชื่นชมครับ ฟังแล้วเกิดปัญญา และความหวังที่ไม่เกินความเป็นจริง.
ขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้องครับ
ขอบคุณครับ อธิบายได้เห็นภาพชัดเจน
ชอบเรื่องhydroden fuelมาตั้งแต่เด็กๆค่ะ รอให้มันgo massซักวัน
อาจารย์อธิบายได้เข้าใจง่ายแล้วสนุกมากๆเลยค่ะ 😊
สุดยอด ครับ ทั้ง 2ท่าน ขอบคุณมากครับ สำหรับ รายการที่ดีมีสาระ เสมอ..
อาจารย์นี่พูดได้น่าฟังจริงๆครับ ฟังเพลินเลย
อาจารย์ สวยด้วยครับ😂
Professor, she experiences the insight of Hydrogen production into commerce and practice of production realistic. She is Know-How insight, not being in labs. U are Thai innovative. Thanks sir.
อ.สวย เสียงเพราะ ฟังเคลิ้มเลย😊
ขอบคุณครับสำหลับความรู้ดีๆ😊
อ. อธิบาย ได้ สนุกมากเว่อร์
ขอขอบคุณอาจารย์มากเลยนะครับ ได้ความรู้เยอะมากเลยครับ
รายการดีๆ
เคยได้ยินมาหลายปี รอดุค่ะ อาจารย์เก่งมาก สนุกมากฟังเพลินได้ความรุ้มากๆค่ะ
เป็นความรู้ใหม่ของเราเลย เเละรุ้ลึก ลงดีเทล อาจารย์พิธีกรอธิบายได้เข้าใจ ยกตัวอย่างได้ดีเข้าใจได้ทันที ครับ
สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยเฉพาะแบรนด์ญี่ปุ่น
การทำปั๊มเติมไฮโดรเจนในยานพาหนะ ปัญหาหลักเลยคือ เค้ากลัวมันระเบิดตู้ม(ปั๊ม)
อันดับ 2 คือ cost จากการเติม มันพอๆ กับ cost ที่จ่ายให้ค่าน้ำมัน 3-4 บาท ต่อกิโลเมตร
อันดับ 3 คือ cost ในการลงทุนทำปั๊มเติม มัน 50 ล้าน คือแพงมาก เทียบกับ EV ที่ไม่ต้องลุ้นระเบิด
แม้ข้อดีก็มีคือพลังสะอาด ใช้เวลา refuel เหมือนเติมน้ำมัน ถึงงั้นมันก็ดูอันตรายอยู่ดี
จะเป็นไปได้ไหม ถ้าจะทำแบบ มหภาค คือนำไปใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าในที่ห่างไกล แล้วส่งไฟฟ้า เป็นผลิตผลมาใช้งานแทน
รถก็ EV ไปเลย cost ดูแลน้อยด้วย ไม่ต้องกดปล่อยน้ำ
ขอบคุณครับ
สุดยอดครับ ขอบคุณมาก
ใช้Biotecnologyสกัดร่วมไฟฟ้า น่าจะเซฟครับ
ปลายทาง ความคุ้มทุนน่าจะยาก
อาจารย์เป็นคนที่มีวิธีอธิบายธรรมชาติของไฮโดรเจนได้ชัดมากครับ คนทั่วไปอย่างผมที่ไม่ใช่สายเคมีมาฟังคือเก็ทง่ายมาก เสียงก็น่าฟังสุดๆครับ
ฟังแล้วสนุกดีเนาะ
ญี่ปุ่นเสียผลประโยชน์
ดีมาก และ อันตรามากเช่นกัน
พูดง่ายแต่ทำอยากครับ ไฮโดรเจนมีมาเป็นร้อยๆปีแล้วครับ การจะแยกน้ำเป็นไฮโดรเจนได้นั้นใช้ทรัพยากรเยอะมากจึงทำให้ไม่เป็นที่นิยมแถมอัตรายจากการระเบิด และยังมีเรื่องราคาลิตรต่อลิตร
เช่นไฮโดรเจนราคา1ลิตรเท่ากับราคาน้ำมัน1ลิตร แบบนี้ใช้น้ำมันล้วนแบบเดิมดีกว่า (ถ้าจะให้คนนิยมใช้ไฮโดรเจนราคาต้องถูกกว่าน้ำมันถึง5เท่าหรือถูกกว่าค่าไฟแต่มันเป็นไปได้ยากมาก)
อาจารย์และพิธีกร ให้ความรู้และดำเนินรายการได้ดีมากนะครับ
ปล. สีลิปสติกสวยดีนะครับ ☺️
ได้ความรู้ใหม่ๆเยอะเลยครับ
อย่าลืมโครงการของ ACWA Power+PTT+EGAT นะครับ
ตามดูเป็นระยะว่าจะทำ green hydrogen ammonia base ได้เมื่อไหร่แล้วกัน
ขอเตือนว่าอย่าใช้แอมโมเนียเด็ดขาดนะครับ นี้คือคลิปที่ว่าคนขับตายทันทีที่แอมโมเนียรั่ว ตำรวจที่เข้าไปช่วยก็ด้วย!!! ผมขอแยกโพสนะเพราะ youtubeมันชอบลบลิ้งค์ทิ้ง
ให้เอา KT-3WZ-23Ac ไปใส่ไว้ในlinkของyoutubeแล้วดูความน่ากลัวของแอมโมเนียนะครับ ผมเป็นคนนึงที่เขียนเตือนพวกวิศวกรในต่างประเทศมาตลอดถึงอันตรายของมันและพยายามรณรงค์ไม่ให้ใช้กับยานพาหนะโดยเด็ดขาด
Please beware the dangerous of NH3 as fuel!!*
ในขณะที่เกิดการรั่วของน้ำมันไม่ว่าดีเซลหรือเบนซิลก็ตาม จะไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง ผิดกับ NH3ที่ถ้าเจอกับน้ำในร่างกายจะกลายเป็น......
NH3+H2O = NH4OH ซึ่งมีฤิทธ์เป็นเบส คุณจะเห็นว่า รถยนต์ที่บรรทุกแอมโมเนียมาคนขับตายทันทีที่รั่ว แม้แต่ตำรวจที่เข้าไปช่วยก็ตายทันทีเช่นกัน เหตุการณ์นี้จะไม่เกิดขึ้นถ้าในนั้นเป็นน้ำมันเบนซิน(gasoline )หรือดีเซล
Global warming:🌍 ปัญหาภาวะโลกร้อน
I don't think ammonia combustion engine vehicles 🚗,🚤,✈ type is a good IDEA!!Burning NH3 can cause NxO and NO gas, (However for power plant with NxO gasses scrubber system might be OK, Please prepare air filter Gas mask as emergency PPE incase of leaking!!)
The NxO gasses such as Nitrous oxide can cause more global warming than CO2 300 time and live upto 144 years!!
both NH3 and NO gas are toxic, especially when accidents occur.
การใช้fuel cellสำหรับแอมโมเนีย ในโรงงานใหญ่ๆ นั้นพอเป็นไปได้ แต่ต้องระวังมากๆกรณีรั่ว(ถ้าคุณพร้อมจะรับผิดชอบกับชีวิตพนักงานของคุณในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุหรือไม่)H2นั้นจะลอยขึ้นฟ้าไปถ้าไม่มีประกายไฟจะไม่ระเบิด แต่NH3 มันจะกระจายไปทั่วทันทีที่รั่ว คนงานของคุณที่อยู่รอบๆที่เก็บจะตายทันทีที่รั่ว
fuel cellจะต้องผ่านการตรวจสอบให้มั่นใจว่าจะไม่มีO2ปะปนในระบบด้วยเช่นกัน ซึ่งผมเคยเตือนเครื่องฟอกอากาศแบบประจุ และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานลมชนิดประจุว่ามันอาจก่อให้เกิดไนตรัสอ๊อกไซดด้วย เพราะในอากาศมีN2อยู่ 78% O2 20% การใช้ประจุไฟฟ้ามีความเป็นไปได้จะเกิดไนตรัสอ๊อกไซด์ที่ส่งผลรุนแรงต่อภาวะโลกร้อน จะเปลี่ยนเพื่ออะไรเราต้องมั่นใจว่าไม่ได้กำลังหนีเสือ(CO2)ไปปะทะไดโนเสาร์(N2O)
และห้ามใช้NH3เป็นเชื้อเพลิงในengineเครื่องยนต์สันดาปโดยเด็ดขาดเพราะการเผา NH3 กับ O2 จะเปลี่ยนเป็น NxO gases(alternative green house gas) ซึ่งหลายตัวอย่างN₂O ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจกรุนแรงกว่าCO₂ 300เท่า!!!!และอยู่นานถึง 144 ปี ผมไม่แนะนำ การใช้NxO Scrubber gassesในเมืองไทย เพราะขนาด CO2 Scrubber ทำได้ง่ายกว่ามากแถมยังได้ผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์มากมาย (เช่น โซเดียมคาร์บอนเน็ต โซเดียมไบคาร์บอนเน็ต น้ำแข็งแห้ง)ยังไม่เห็นใครทำกันเลย เพราะฉะนั้นการใช้แอมโมเนียกับเครื่องยนต์สันดาปในเมืองไทยนั้นตัดทิ้งไปได้เลย
ความคุ้มทุนเป็นหลัก คำถามคือ
H2 from Electrolysis of water นั้นใช้ไฟฟ้า ตัวไฟฟ้านี้สู้เอาไป trade off กับ เอาไปเติมรถไฟฟ้าไปเลยดีกว่าไหม ?
สุดท้ายแล้ว H2 อยากให้มาเป็นพลังงานไฟฟ้า ก็ต้องใช้พลังงานที่เท่ากันกับการแยกออกจากน้ำ ใช่ไหม?
ดังนั้นต่างอะไรกับการใช้ไฟฟ้าโดยตรงไปเลย ไม่มี loss จากการ convert ไปๆมาๆด้วย
สิ่งที่ผมคิดและดูสมเหตุสมผลคือ H2 จาก อุตสาหกรรมเคมี ที่เป็น byproduct อยู่แล้ว เอามาเติมรถและใช้เป็นเชื้อเพลิง ( แต่ไม่ได้เผาไหม้ )ซะมากกว่าไหมครับ
ประเด็นนี้ก็น่าคิดครับ ไว้หาข้อมูลเพิ่มเติมครับ
มันเหมาะกับ ประเทศที่ไม่มี สัพพญากร มากกว่า
ผมก็สงสัย แต่ที่คิด ผมมองว่าอาจจะเป็นการเปลี่ยนภาชนะบรรจุ จากเซลเก็บประจุซึ่งอาจจะเป็นมลพิษเปลี่ยนเป็นเก็บในรูปแบบไฮโดรเจนแทนรึป่าวครับ แต่ก็ไม่รู้ว่ากระบวนการในการใช้ไฟฟ้าให้ได้มาซึ่งไฮโดนเจน และตอนนำไปใช้มันเท่ากันรึป่าวเพราะมันต้องมีกระบวนการอื่นๆอีกเช่นพวกการลดอุณหภูมิให้เป็นของแข็งหรือทำให้กลายเป็นแอมโมเนียแทนอาจจะไม่คุ้มเช่นตอนทำไฮโดรเจนใช้ไฟ 10watt แต่พอนำไปใช้ ใช้ได้แค่ 8watt
ผมสนใจมากครับ อยากศึกษาเพิ่มเติม เพราะแผงโซล่าเซลเดี๋ยวนี้ราคาถูกลงมากเลย แต่แบตเตอรี่ราคาแพงมากเลย น่าจะทำแบตฯไฮโดรเจนเองได้
ขอบคุณมากนะคะ🙏❤️
อาจารย์ สวยมากเลยครับ
เคยเรียนกับอาจารย์สมัยปีหนึ่ง ตอนนี้จบมาสักพักแล้วอาจารย์ยังสวยไม่เปลี่ยนเลยค่ะ❤
เปิดโลกมากเลย
อ. สวยมาก
อาจารย์อธิบายได้เข้าใจง่ายมากๆ จากใจคนไม่เคยฟังเคมีรู้เรื่องเลย
ถ้าเด็กๆได้เรียนแบบนี้ คงสนุก วิทยาศาสตร์จะได้ไม่เป็นยาขม
สำหรับนักเรียนไทยอีก ดีมากๆเลยค่ะ
อ. น่ารักจัง อธิบายทุกอย่างได้ดีเข้าใจง่าย
มีแฟนยังครับ 5555
เห็นว่า ญี่ปุ่น กับ ออสเตเลีย ร่วมมือกันพัฒนาโครงการพลังงานไฮโดเจน อยู่นะครับ
เป็น "เฮช" รหัสสีดำ ใช้ถ่านหิน
@@komolkovathana8568 ไม่น่าใช่โครงการนี้ครับ ที่เขาร่วมกันมันมีอักษรย่อ scc หรือ sci นี้แหละครับ ต้องไปดูที่ลำคะคลอง หรือไม่ก็ที่ชัยบาดาล ที่มีการอ้างอิงถึงโครงการนี้ครับ
ผมสังเกตพลังงานนี้มา2-3ปีช่วง รถไฟฟ้ากำลังจะออกมาใช้ และสังเกตว่าญี่ปุ่นไม่ให้ความสำคัญในการพัฒนารถไฟฟ้า เพราะมันน่าจะสร้างปัญหาความมั่นคงทางพลังงาน ช่วง2-3เดือนมานี้ผมสังเกตว่ามีไฟกระตุกและไฟฟ้าตกบ่อยขึ้นในพื้นที่ที่ผมอยู่ ในขณะที่เรามีรถไฟฟ้าประมาณ20-30%ในท้องถนน เป็นไปได้ว่าเรายังไม่ได้เตรียมการการใช้งานรถไฟฟ้าในระยะยาวและจำนวนไฟฟ้าที่จะต้องใช้ แล้วคนที่ไม่ใช่จะต้องจ่ายค่าftเฉลี่ยกับคนที่ใช้รถไฟฟ้าด้วยในเมื่อเขาจ่ายภาษีน้ำมันที่ปั้ม ประเด็นนี้ก็ควรทบทวน😂😂
RMIT @ Australia is doing a Pilot plant
มีชาวบ้านทำแล้วใช้ได้ดีมาก แต่ต้องจ่ายค่าไฟแพงสู้ใช้น้ำมันไม่ได้เลยได้แค่ลองดู นำไปใช้ใหญ่โตจริงจังไม่ได้.ต้องเป็นไฟที่ผลิตรขึ้นมาเอง ก็ได้ข่าวว่ามีการผลิตรไฟฟ้าได้อยู่จริงๆ น่าจะมีการส่งเสริมจริงจัง แต่รัฐไม่ทำหรอกเชื่ออย่างนี้ครับ.
ต้องเอาไฮโดรเจนผสมก๊าซเฉื่อย ถ้าผสมในอัตราก๊าซเฉื่อยเกินครึ่งนิดนึง มันจะปลอดภัยมากๆ แล้วการออกแบบเครื่องยนต์ต้องให้มันทำงานได้ในสภาวะ มีก๊าซเฉื่อย อัตราที่สูงกว่าได้
ก็าซเฉื่อยมันแพงกว่าไฮโดรเจนมากๆครับ
นึกถึง Hperion car เลย ที่ NASA ทำ
ขอบคุณมากค่ะ🙏🧡
อาจารย์สวยอ่ะครับ อึ๊ย ลืมฟัง ต้องดูอีกหลายๆรอบละ😊😅
หนูดูรอบที่สี่แล้วนะคะ.คุณเคน😅😅😅
❤🎉แจ่มแจ๋ววว...โลกรออยู่ค้าป😊
ดีอะ
มาอาจารย์เจอผมแน่💪🏽🚴♂️3:25
อยากให้เทคโนนี้ มาเร็วๆ เพราะ ปัญหาโลกร้อน รอไม่ได้เลย
ดีครับ อยากให้เอาให้โดรเจนพลังงานสะอาด มาใช้ทุกพลังงาน จะเป็นไปได้ไหมครับ โลกจะได้สะอาด ไม่ร้อน วิกฤติธรรมชาติขนาดนี้
ไฮโดรเจนไม่ใช่พลังงาน มันเป็นสสารที่เก็บพลังงานไว้ สุดท้ายต้องมีแหล่งผลิตพลังงาน
ตัวอย่าง
ก๊าซธรรมชาติหรือน้ำมัน ผลิตไฟฟ้า แปลงน้ำเป็นไฮโดรเจน เอาไปใช้กลับเป็นน้ำเหมือนเดิม สุดท้ายการได้ไฮโดรเจนมาก็ต้องผลิตคาร์บอนอยู่ดี 😂😂
มันไม่ใช่พลังงานที่ยั่งยืนหรืออนาคต เป็นเพียงพลังงานทางเลือกเท่านั้น ขนาดเยอรมนีหรือญี่ปุ่น ผู้ที่พัฒนาเครื่องยนต์และเทคโนโลยีรองรับการใช้ไฮโดรเจนเป็นพลังงาน เองยังไม่สามารถใช้ได้ทั้งประเทศ ทุกวันนี้เครื่องยนต์ที่ใช้ไฮโดรเจน ยังมีความไม่คงที่ และ ไม่ทนทานมากพอต่อความร้อนและแรงสันดาป ทุกวันนี้พื้นที่ขาดแคลนน้ำสะอาด ยังมีอยู่ในหลายพื้นที่ แม้กระทั้งไทยเอง ยังมีพื้นที่ขาดแคลนน้ำในบางช่วงเวลา สงครามน้ำสะอาดจะมีเข้ามา พื้นที่ต้นน้ำ หรือพื้นที่รับน้ำฝน จะแย้งจะรุกที่ โดยเฉพาะป่าต้นน้ำ เพราะการลงทุนกลั่นน้ำทะเลสูง หากจะต้องคิดว่าเอาน้ำทะเลกลั่นมาทำอะไรระหว่างบริโภคอุปโภคกับไปทำไฮโดรเจนต่อ ต้องมานั่งชั่งน้ำหนัก แบะการกลั่นเองจะต้องไม่กระทบสิ่งแวดล้อมในปริมาณเกลือที่เหลือ และปริมาณน้ำทะเลสะอาด ไฮโดรเจน ไม่ว่าตอนนี้หรืออนาคต ไฮโดรเจนก็เป็นพลังงานทางเลือกเท่านั้น
กำลังหาข้อมูลตั้งแต่เมื่อวานอยู่เลย ช่องนี้เหมือนรู้ใจ
ธาตุ พิ้นฐาน ของจักรวาล
เป็นเนื้อหาที่ดีที่มีสาระมากๆครับ แต่เสียงเบาไปดูไปกินข้าวไปฟังไม่รู้เรื่อง ต้องหยิบหูฟังมาใส่ถึงจะได้ฟังรู้เรื่อง
อาจารย์ครับ รบกวนสอบถามว่าไฮโดรเจนที่บรรจุถังเหล็กขนาด6คิว เป็นไฮโดรเจนสีอะไร ผลิตจากกรรมวิธีแบบไหนครับ
มีการจำหน่ายเครื่องผลิตไฮโดรเจรเพื่อใช้กับรถยนต์ทั้งสูบเดียวและรถใหญ่ ในประเทศแล้วฯ
ตาสว่าง อ.น่ารักมากๆๆ
เรื่องนี้ จีน เก่งที่สุดครับ ผมเคยคุย เรื่องนี้ กับ ดร. หลายๆ ท่าน แม่งมันไม่ฟังผมเลย...จะเอาแบตรี่ อย่างเดียว แบตตี่มันแค่ Buffer การเปลี่ยนถ่ายพลังงาน เดี๋ยวแม่งก่อน จนมุม...
H2 คือคำตอบ ของพลังงงาน เพราะมันมัเยอะที่สุด...ขึ้นอยู่กับว่า มนุษย์เราจะ เข้าใจมันมากน้อยเพียงใด
สำหรับผม เรื่อง EV NH3 คือคำตอบ
ในกระบวนการใช้พลังงานในการได้ไฮโดรเจนมา แล้วเปลี่ยนกลับมาเป็นพลังงานเพื่อนำไปใช้แบบนี้นั้น พลังงานมันหายไปหรือสูญเสียไป ถึง 60% เลยนะครับ คือใช้พลังงานเริ่มต้นที่ใช้ใยการเก็บ 100% แต่ตอนเอามาใช้เหลือแค่ประมาญ 40% เท่านั้น ยังไม่นับการลงทุนกับอุปกรณ์ต่างๆที่ต้องสร้างขึ้นมา บนเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน คงยังไม่เหมาะสมกับการนำมาใช้ คงต้องรอจนกว่าเราจะมีเทคโนโลยีใหม่ที่ก้าวหน้ากว่านี้ ที่จะทำให้การนำมาใช้ได้โดยไม่ขาดทุนหรือไม่สูญเสียไปน้อยกว่าเทคโนโลยีที่เรามีปัจจุบัน
แสดงว่าโตโยต้าเค้าก็เล็งเห็น แล้วลุยก่อน จนมีแต่คนแซะว่าล้าหลัง เอาเข้าจริงเค้ามองไปไกลกว่า ลิเธียมเพื่อสร้างโอกาสด้านการแข่งขัน
หนูฝันเห็น.ดินสอ.ถ่านหิน.เลยสงสัยมันเกี่ยวอะไรกัน.แต่รุ้อยุ่แล้วว่าถ่านหินผลิตไฟฟ้าแล้วมีมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม.แต่น้ำก็ใช้ผลิตไฟฟ้า.เลยคิดได้ไปถึงที่หนูเคยดูไปแล้ว.ว่าพลังงานสะอาดคือ.H2Oค่ะ(หนูเป็นคนขี้สงสัยแล้วต้องหาคำตอบให้ได้.เรียงเรื่องราวมาที่ตรงนี้พอดีค่ะ)🙏🇹🇭🌍☺️
กระบวนการสันดาปสำหรับเตาเผาอุตสาหกรรม หากเปลี่ยนมาใช้ ไฮโดรเจนก็น่าจะดีนะครับ
ราตรีสวัสดิฮ่ะ
Green Hydrogen สำหรับรถยนต์ของไทย ควรมาจากไฟฟ้าพลังงานน้ำใน สปป.ลาว และชีวะมวลในไทยเพราะมันเป็น Net Zero Carbon เช่นกัน
พลังน้ำในลาวมากที่สุดในอาเซียนค่ะ
😮วิเศษที่สุด null😊
ประเทศไทยมีนักวิทยาศาสตร์เก่งๆแล้วก็รีบพัฒนาสิครับรออะไร.?
ผู้บริโภคเลือกเอาครับ ไฮโดรเจนผลิตภาคครัวเรือนได้ไหม ปลอดภัยหรือไม่ถ้าเกิดอุบัติเหตุสุดวิสัย ถ้าใช้เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานต้นทุนแพงกว่าแบ็ตเตอรีหรือไม่ ราคาต่อพลังงานชนิดอื่น ดูข่าวที่ออก ไฮโดรเจนระเบิดบริเวณรอบข้างเสียหายวงกว้างมาก ถ้าใช้ในรถยนต์กันเยอะๆเกิดมีอุบัติเหตุ ถ้าแก้เรื่องราคาได้เกิดแน่ ตอนนี้แพงกว่าน้ำมันมาก รถไฟฟ้าที่เกิดเพราะราคาถูกกว่าน้ำมัน😊😊😊
อาชีพนักวิทยาศาสตร์ เป็นอาชีพที่เท่มาก
สต.ว่า ทุกอาชีพเท่หมดถ้า ไม่อยู่ในประเทศเผด็จการ
@@บีสุราษ-ล2ฮ คิดถึงอยู่ ไม่เจอกันนานเลย
@@Hippie.420 ใครนี่
@@บีสุราษ-ล2ฮ ไฟเย็นยังอยู่น่ะคุณบี แค่ปิดเทอมย้ายบ้าน จะลงตัวเร็วๆนี้แหละ
สู้ไฟฟ้าฟรี ไร้แบตเตอรี่ไม่ได้ครับ พลังงานสะอาดแท้จริง 99.999%
โรงไฟฟ้าพลังงานกรีนไฮโดรเจนมาแน่ ทำสัญญากันแล้วนี่
ผมว่า อาจารย์สวยเกินไปครับ อิอิ
ทำก็ดีแล้วถือเป็นการกระจายเรื่องความมั่นคงทางพลังงานไม่ให้ขึ้นกับด้านใดด้านหนึ่งเกินไป ลดความเสี่ยงแร่ทำแบตหรือชิปภายในขาดตลาดไปในตัวแถมความคล่องตัวสูงกว่าในด้านการผลิตหรรือใช้งานที่ไม่จำเป็นต้องมาจากน้ำมันก็ทำได้ ถ้าไม่นับความเสี่ยงเรื่องความปลอดภัยกับความแพงของวิธีจัดเก็บแล้ว ดีกว่าไฟฟ้าล้วนที่ไม่มีระบบผลิตไฟฟ้าเองจนต้องไปทุ่มเรื่องความหนักและกินพื้นที่ของแบตเยอะ แบตเตอรี่มันก็พอๆกับไฮโดรเจนแหละระเบิดได้เหมือนกันแค่ความไวไฟมันต่างกัน
ทำเลยครับควันผิดจะได้ลด
ผมอยากมีก๊าซหุงต้มฟรีจากน้ำ(H2O)
เท่าที่ฟัง การใช้ไฮโดรเจนน่าจะเหมาะกับการใช้พลังงานภาคธุรกิจ เช่น การขนส่งขนาดใหญ่ หรือภาคอุตสาหกรรม
ส่วนภาคประชาชน นั้นดูด้วยเทคโนโลยีที่เห็นอีก 15 ปีก็ยังไม่ได้ต้องรอนานกว่านั้น เพราะ ด้วยตัวความเหมาะสมของเทคโนโลยีที่มี ที่จะต้องคำนึงความปลอดภัย, Economy of Scale และอื่นๆ อีก สรุป ก็คงต้องให้ ภาคเอกชนขนาดกลางขึ้นไปที่มีรายได้ระดับหลายๆ พันล้าน หรือ บริษัทขนส่งขนาดใหญ่จริงๆ แบบนั้นถึงจะเหมาะ เพราะต้องคำนึงต้นทุนเรื่อง ข้อบังคับด้านคาร์บอน
เอาง่าย ไม่ว่าจะเป็น การใช้พลังงานโดยไฮโดรเจน โดยภาคครัวเรือนเอง หรือ การใช้พาหนะขนส่งโดยใช้ไฮโดรเจนโดยประชาชนเอง
เพราะที่อาจารย์บอก เติมไฮโดรเจนครั้งเดียว แล้ววิ่งได้ยาวสมมติเป็น 1000 กิโลแล้วกัน ถามว่าเป็นรถราคาเท่าไรและรถมีขนาดไหน เทียบกับรถไฟฟ้าปัจจุบันในจีนมีขายแล้วที่ชาร์ตครั้งเดียวก็วิ่งได้เป็น 1,000 กิโลแล้วเช่นกัน และเชื่อว่าภายใน 2025 ต้องมีขายในไทยด้วยแล้วเช่นกัน แต่รถที่ใช้ไฮโตรเจนที่ดูปลอดภัย และน่าใช้กับภาคประชาชนแบบนั้นจะเห็นไมใทยเมื่อไร และยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยอีก ถ้ามีการชนรุนแรงที่ความเร็วเกิน 100 km/h แล้วรถที่ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนจะมีความปลอดภัย ไม่ใช่เป็นระเบิดลูกโตได้หรือไม่ กว่าจะเห็นวันนั้น ถ้าดูตลาดรถไฟฟ้าจะไปกันถึงไหนแล้ว วันนั้นประสิทธิภาพของรถไฟฟ้าอาจดีกว่าในปัจจุบันอีก 2-3 เท่าแล้วหรือเปล่า ส่วนตัวตราบใดที่ยังไม่สามารถมีการใช้ระบบจัดเก็บไฮโดรเจนที่ปลอดภัยจริง และสะดวกในการใช้งานได้แล้ว อย่าให้ภาคประชาขนต้องไปเห็นหนูทดลองเลยยกเว้นอยากมีอาสาสมัครจริงๆนะครับ
ทางออกจริงๆคือไฮโดรเจนนี้แหละเพราะน้ำเป็นสิ่งที่มีเยอะที่สุดในโลกไม่มีวันหมดแต่สำคัญที่อีกนานแค่ไหนจะพร้อม
โลปิเนียม+โซดาไฟ+น้ำ=?
ในมุมการใช้งานของประชาชนทั่วไป ถ้ามาในรูปแบบแบตเตอรี มาเสียบใช่งานได้เลย แล้วต้นทุนต่ำกว่า ระบบพลังงานจากแสง หรือจากลม ถึงจะน่าสนใจ
เหมาะเลย เอาไปทำ ระเบิด.
ถูกต้องครับ🚴♂️💖🇹🇭🚀👍💫☸️🚴♂️🚴♂️🦋
ตอนนี้มีการค้นพบDarkอ๊อกซิเจนจากท้องทะเลลึกในมหาสมุทรแอตแลนติกระหว่างUSAและแมกซิโกซึ่งเกิดจากแร่ธาตุผสมทำหน้าที่แทนแบตเตอร์รี่ธรรมชาติ ไม่ต้องว้อพลังงานจากภายในอกเลย
ธรรมชาติคือสิ่งที่อัศจรรย์เสมอไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิง ไฮโดรเจนผสมออกซิเจนกลายเป็นน้ำและใช้ดับไฟได้เฉยเลย.
กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว 2022 ที่ผ่านมาจีนก็ใช้รถทัวร์พลังงานไฮโดรเจน
ใครทำได้รวยและรวย
เทคโนใหม่มักจะตกในมือนักลงทุนรายใหญ่ น่าจะมีเศรษฐีใจบุญซื้อเทคโนมาบริจาคให้นักลงทุนรายย่อยเอาไปใช้ฟรี ดีกว่าบริจาคเงินเพียวๆ เพราะคุณสร้างเศรษฐีใหม่จำนวนมากขึ้นมา
H2 หลักๆ ใช้เป็นพลังงานและผลิตปุ๋ย ประเทศไทยมีความพร้อมด้านวัตถุดิบมาก ควรเร่งส่งเสริมการลงทุน ญี่ปุ่นและยุโรปพัฒนาไปไกลมากแล้ว เพื่อลดการปล่อย CO2 จากเชื้อเพลิงฟอสซิล
ตรงอธิบายประเภท blue brown green บอกผิดนะครับ
พี่คิมเอากาฟีนไปเก็บไฮโดเจนเลยกาฟีนไปรวมกับอะไรก็ได้ให้เกิดการควบแน่นไว้ทำเป็นที่เก็บไฮโดเจนผมสมมติฐานเอานะพี่มวลเบาก็ต้องเอามวลดักจับ
หากว่ารัฐเปิดทางและเปิดกว้าง สนับสนุนหน่อย เรานี่แหละจะทำให้ประเทศไทยเป็นผู้นำระดับโลก พลังงานไฮโดรเจน จะมาเร็วกว่าที่คุณคิด
อาจเพราะสาเหตุ 🤔ญี่ปุ่น จึงไปเน้น พลังงาน H2 การใช้งาน ประโยชน์มันกว้าง ☝โดยเฉพาะ Honda มีเป็นเครื่องยนต์H2
(ระบบเล็กแตกต่างของToyota)
ถามได้แย่มากนะ ดีนะ ดร.อธิบายดี
รัฐบาลควรนำแนวคิด อ. ไปใช้ในการพัฒนา พลังงานประเทศ อ. คิดให้ขนาดนี้ เช่น H2 ใช้ เป็นโรงผลิตไฟฟ้า แล้ว นำไฟฟ้าใช้ ชาร์ท รถไฟฟ้า ในราคาที่ถูก ทำให้ ประชาชน หันมาใช้รถไฟฟ้ามากขึ้น รัฐบาลควรเริ่มได้แล้ว
พลังงานสะอาดแน่ๆเพียงแต่กว่าจะจับต้องได้กว่าจะทั่วๆไปใช้ได้อีกเป็น 10 ปีผมว่า
☺️🥰🙏👍👍👍✌️✌️
สมมติว่าผมมีเครื่องยนต์สันดาป
ภายในเครื่องหนึ่งเป็นเครื่องยนต์
ไฮโดรเจน แต่ถังเชื้อเพลิงเติม
ด้วยน้ำเข้าไป พอบิดกุญแจสตาร์ท
ไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี่ประจำรถจะ
ถูกส่งไปที่อุปกรณ์แยกไฮโดรเจน
จากน้ำด้วยไฟฟ้า รวมถึงอุปกรณ์อื่น ๆ
ที่จำเป็นต่อการสตาร์ทเครื่องยนต์
ปริมาณไฮโดรเจนที่ได้ขึ้นอยู่กับ
ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ ซึ่งถูก
กำหนดด้วยการเหยียบคันเร่ง เหยียบ
คันเร่งมากก็จะได้ไฮโดรเจนมาก
แปรเปลี่ยนไปตามการเหยียบคันเร่ง
เมื่อได้ไฮโดรเจนจากการผลิตด้วย
แบตเตอร์รี่รถ จะถูกนำไปรวมกับ
ไฮโดรเจนที่เก็บไว้ในอุปกรณ์ไฮโดร
เจนเรกูเลท ที่มีอยู่จำนวนน้อยสำหรับ
สตาร์ทเครื่องยนต์ ไฮโดรเจนจาก
ทั้งสองแหล่งที่มีปริมาณแค่เพียงพอ
ต่อการเผาไหม้ในห้องสันดาป (เพื่อจะ
ได้ไม่ต้องจัดเก็บไฮโดรเจนไว้จำนวน
มาก ๆ เป็นแทงก์) ไฮโดรเจนปริมาณที่
พอเหมาะดังกล่าวจะถูกส่งไปเข้าห้อง
เผาไหม้เพื่อจุดระเบิด เมื่อเครื่องยนต์
ติดแล้ว จะนำพลังงานกลไปขับเคลื่อน
รถส่วนหนึ่ง นำไปใช้ในกระบวนการ
แยกไฮโดรเจนจากน้ำอย่างต่อเนื่อง
ส่วนหนึ่ง และอีกส่วนไปชาร์ทแบต
เตอร์รี่ คล้ายรถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิง
ฟอสซิล ผมว่าถ้าทำได้ ก็ง่ายเลยครับ
เติมน้ำแทนน้ำมัน แล้วขับเคลื่อน
รถยนต์ได้เลย ที่ไม่แน่ใจคือพลังงาน
นำเข้าจะน้อยกว่าพลังงานเอาท์คัม
หรือเปล่า ถ้าน้อยกว่า ส่วนเกินก็ใช้
ขับเคลื่อนรถได้แน่นอน อุปกรณ์ที่
สำคัญที่ต้องการคือตัวผลิตไฮโดรเจน
แบบควบคุมปริมาณตามการเหยียบ
คันเร่ง ถ้าทำตรงนี้ได้ประเทศไทยเจริญ
แน่นอน
สลับขั้วด้วยได้หรือป่าวครับ
ไม่จำเป็นต้องสลับครับ
พอเห็นโผว่าใครนั่ง พลังงาน ก็ถอนหายใจยาวๆ ไม่ได้คิดดูถูกนะแต่ คนแบบนี้หรอจะทำเรื่องพวกนี้ หวังแค่ว่าเขาจะเชื่อคนที่มีความรู้ความเข้าใจรอบๆตัวเขา
มันดีจริงๆครับ แต่ การเก็บของมัน ค่าใช้จ่ายอย่าเรียกว่าสูงเลยครับ เรียก มหาศาล นี่หละ ปัจจัยสำคัญ การขนส่งอีก ค่าใช้จ่ายค่อนข้างจุกจิก
@PhatrawuthKensomsri หมายถึงสถานี หรือหัวจ่ายครับ ราคามันแพงครับ ลงทุนสูง ปัจจุบันพี่เคยเห็น สถานี มาเปิดบ้างไหมครับ ถ้าไม่ใช่โรงงาน ผลิตใช้เอง แต่ถือว่าดีครับ เพราะผมก็อยากให้มัน ทำเหมือนปั้ม ทุกวันนี้
คือเป็นแหล่งพลังงานทางเลือกในอนาคต ตอนนี้ใช้ น้ำมัน แก๊ส ไฟฟ้า ไปก่อนด้วยสะดวกใช้ ส่วน Hydrogen รอไปอีกนาน555 (ให้มีสถานีบริการแบบทั่วราชอาณาจักรแบบสากล ใช้เวลาอีกนานๆๆๆ) บางคนอาจรอจนจากไปก่อนยังไม่ได้ใช้รถพลังไฮโดรเจนเลย555 แต่ก็อย่างไรก็ดี มนุษย์จง อย่าหยุดคิดค้นพัฒนาเพื่อมวลมนุษยชาติ และเพื่อโลกดวงนี้ครับ ส่งต่อเทคโนโลยีสีเขียวดีๆต่อรุ่นสู่รุ่น
@PhatrawuthKensomsriมีแต่ pilot ครับ ยังไม่ใช่ commercial scale ทำเพื่อศึกษากันทั้งนั้น ทำแล้วขาดทุน แต่ถือเป็นงบ R&D
เช่น เดียว กัน ท่าน นิด (พระเอกกอบกู้)