Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
ขอบคุณที่ลงแบบครบสมบูรณ์และไม่มีการดูดเสียงการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี รับชมแบบอิ่มใจมากครับ
ไม่มีตีกสูงเลย...สวยจริง ประเทศไทยของฉัน ❤❤❤
พ่อของเราได้มีโอกาสเป็นฝีพายเรือดั้งในครั้งนี้ด้วย รูปถ่ายร่วมกับฝีพายท่านอื่น ยังติดไว้ที่ผนังบ้านอยู่จนถึงทุกวันนี้ มันคือความภาคภูมิใจของครอบครัวเราเลยค่ะ
เป็นบุญของผู้เป็นฝีพายนะครับ
ภูมิใจด้วยคนค่ะ
ดีใจภูมิใจด้วยค่ะเข้าใจความรู้สึกค่ะ, พ่อของเราถือธงอยุ่ท้ายเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ปราบปลื้มภูิมใจมากเหมือนกันค่ะ
ขอบคุณช่องมากครับที่นำแบบเต็ม ๆ มาให้ชมแบบไม่ตัด ชีวิตนี้ผมไม่คิดว่าจะได้เห็นภาพสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศ์เสด็จพระทับเรือพระที่นั่งพร้อมกันทุกพระองค์แล้ว
วันนั้นผมเป็นลูกเสือชั้น ม. 5 รร.มัธยม มาดูแลความเรียบร้อยใต้สะพานปิ่นเกล้าฝั่งธน
สุดยอดมากครับ 😃เมื่อ 42 ปีที่แล้ว มีถ่ายทอดสดภาพจากบนเรือได้ด้วย
ผมยังไม่เกิดเลย เป็นบุญตาเลยคลิบนี้ สวยงามยิ่งใหญ่ โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจสมัยก่อน มีความเป็นที่สุดมาก เสียงบรรยาย ทรงคุณค่ามากครับ คุณภาพมาก
ขอความกรุณาเจ้าของช่องช่วยจัดหาและลงเทปปี2542ให้ด้วยนะคะ
เป็นภาพที่หาดูได้ยากมากๆ อยากให้เอามาเผยแพร่อีกครับสำหรับงานฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี เพื่อให้คนที่ไม่เคยได้ชมจะได้รับชมทุกเหตุการณ์ในโอกาสครบ 200 ปีกรุงรัตนโกสินท์ ขอบคุณครับที่จะนำมาเผยแพร่
เป็นภาพแห่งประวัติศาสตร์ ที่บันทึกรายละเอียดได้ครบทุกเหตุการณ์
เรารักและภักดีราชวงศ์จักรี
สมัยนั้นริมแม่น้ำจ้าวพระยาต้นไม้เยอะ คลิปนี้ยังไม่เกิดเลย ขอบคุณที่อัพโหลด
ขอบคุณมากค่ะ..ตอนนั้นเด็กมากไม่รู้เรื่อง..ตอนนี้คือรักประทศไทยมาก
ขัดใจผู้พากย์มาก เหมือนไม่ทำการบ้านมาเลย รายพระนามของพระราชวงศ์ยังอ่านตะกุกตะกักอ่านผิดอีก
อ่านผิดอีกครับพระนามของสมเด็จพระเทพหรือสมเด็จพระกนิฐาในสมัยนั้นก็อ่านเป็นสยามมกุฎราชกุมารีจริงๆต้องเป็นสยามบรมราชกุมารี พระพันปีหลวงต้องเป็นพระบรมราชินีนาถไม่ใช่พระบรมราชินี
@@อภิสิทธิ์ชนะภัทรพงศ์ ใช่ค่ะ เรื่องแค่นี้ไม่น่าพลาด ขนาดเราคนธรรมดาก็ยังอ่านพระนามทุกพระองค์ถูกเลย เพราะที่บ้านปลูกฝังมาตั้งแต่เด็ก
ชอบเสียงผู้ประกาศข่าว เสียงเท่มาก สมัยนี้สำเนียงการพูดแบบนี้ไม่ค่อยมีแล้ว หายาก
ตอนนั้นเด็กมากสิ่งที่อยุ่ในความทรงจำคือ พ่อพาไปซื้อว่าวที่มีรูปเทวดาสององค์เหมือนรูปตราฉลองกรุงเทพฯ 200 ปี
ขอบคุณที่แชร์นะคะ ตอนนั้นยังเป็นวุ้นอยู่เลย 😆ดูแลเรือดีมาก ถึงตอนนี้ยังสวยทุกลำ
ขอบคุณ🙏มากๆนะคะพี่ที่เอามาอัพลง UA-cam เกิดไม่ทันได้ชม แต่สามารถหาดูในช่องพี่ได้ ขอบคุณจริงๆนะคะ^^😊
บรรยากาศบ้านเมือง40กว่าปีที่แล้ว ยังดูเป็นชนบทอยู่มาก 2ฝั่งริมน้ำยังเป็นบ้านเรือนไม้ ถัดออกไปยังเป็นป่า ต้นไม้เยอะมาก
ตั้งแต่ 2525 สมัยนั้นทีวียังไม่มีเลย โดยเฉพาะตามต่างจังหวัด ขอบคุณที่ค้นหาเอามาลงให้ดู 🙏😁😁😁😁👍👍
ขอบคุณนะคะ ที่ลงให้ดู ดีมากๆเลยค่ะได้ดูในหลวง ร.9 และได้ดูพระราชพิธีที่ยิ่งใหญ่ แบบนี้ ขอบคุณนะคะ🙏🏻
พระราชพิธีเทปนี้ เรายังไม่เกิดเลยอ่ะ บุญตามากที่ได้รับชม
ขอบคุณที่นำคลิปนี้มาให้ชมครับ ก่อนผมเกิดเสียอีก งานยิ่งใหญ่มากครับ
ของหายาก ของแรร์ ทรงคุณค่า และที่สำคัญ ไม่ดูด เพลงสรรเสริญออก ดีงามม
ดูเเล้วนํ้าตาไหลออกมาเอง😢
เป็นคลิปที่หาดูได้ยาก คงความเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ อยู่ในใจคนไทยมาทุกยุคสมัย
ภาพชัดเจน และพิธีงดงามมากๆครับ รอติดตามชมไปเรื่อยๆครับ
คุณจักรพันธุ์(ผู้ล่วงลับ) ยังผอมเพรียวอยู่เลยครับตอนนั้นนั่งดูถ่ายทอดอยู่ครับ แต่ไม่เครื่องวีดีโอเลยไม่ได้อัดไว้
งานสมโภชกรุงรัตนโกสินธุ์ 200 ปี ตอนนี้ผมยังเด็ก ๆ พ่อได้ไปดูด้วย อลังการมาก หนึ่งเดียวในโลกจริง ๆ ใครก็เลียนแบบไม่ได้ โชคดีที่เกิดมาเป็นคนไทย
ดิฉันอายุ 8 ขวบค่ะ แม่พาไปดูตอนนั้น ยังคิดว่า มาทำไมน้อ คนเยอะแท้ (คิดแบบเด็ก ๆ นะคะ ไม่ได้คิดร้าย) พอโตขึ้น ถึงคิดได้ว่า โชคดีมากที่มีโอกาสได้ดู 🙂
@@gigsuranan929 ตอนนั้นเรียน ม.1 แล้วเลยรู้เรื่องทั้งหมด เพราะเคยไปดูเรือที่ทาวาสุกรีมาก่อนแล้ว
เวลา 07:50 น. (เจ็ดนาฬิกาห้าสิบนาที) พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า โดยกระบวนพยุหยาตราชลมารค จากท่าวาสุกรีไปยังท่าราชวรดิฐ โดยจัดเรือพระที่นั่งอนันตนาคราชทอดบัลลังก์บุษบกเป็นเรือนำ เชิญพระชัย(หลังช้าง)ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อกระบวนพยุหยาตราถึงท่าราชวรดิฐแล้ว เสด็จพระราชดำเนินสู่พระบรมมหาราชวัง และจัดกระบวนพระราชอิสริยยศน้อยแห่พระชัย (หลังช้าง) ไปยังพลับพลาท้องสนามหลวง
การเห่เรือในปัจจุบันมีวัตถุประสงค์ที่เห็นได้อย่างเด่นชัดก็คือ การให้จังหวะแก่ฝีพายจำนวนมาก ในการพายเรือพระราชพิธี กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ให้พร้อมเพรียงเป็นระเบียบเรียบร้อย สง่างาม และเป็นการอนุรักษ์ฟื้นฟูมรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ ที่เกี่ยวกับพระราชประเพณีดั้งเดิม ในการใช้กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เพื่อประกอบพระราชกรณียกิจ ของพระมหากษัตริย์ไทย ให้คงอยู่สืบไป
การถ่ายทอดสดในวันที่ 27 ตุลาคมนี้ โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย จะดำเนินการถ่ายทอดสด โดยสถานีโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) ทั้ง 6 สถานี เป็นแม่ข่ายทั้งหมด ครับ.
ขอบคุณมากๆๆๆๆค่ะ
เราพึ่งจะเกิดใด้หนึ่งเดือน ของคุณค่ะที่ลงคลิปให้ใด้ชม
ตอนนั้นเรา ๕ ขวบ เหมือนจะยังไม่ค่อยรู้เรื่อง 😅 (ในคลิปคุณจักรพันธ์ ที่เพิ่งเสียไปยังหนุ่มอยู่มากเลย ส่วนอีกท่านนึงไม่ทราบว่าใคร) ขอบคุณคลิปประวัติศาสตร์ที่งดงามนี้มากเลยค่ะ คิดถึงในหลวงร. ๙ จังเลยค่ะ 🙏🏻✨
คุณพฤกษ์ อุปถัมภานนท์ ครับ
นายพฤทธ์ อุปถัมภานนท์ (24 มีนาคม พ.ศ.2469-29 มิถุนายน พ.ศ.2554)
การให้จังหวะในการพายเรือพระที่นั่ง จะใช้กรับแทนการกระทุ้งเส้าให้จังหวะแก่ฝีพายการเห่เรือในกระบวนพยุหยาตราอย่างใหญ่ แต่เดิมต้นเสียงจะต้องเห่ในเรือพระที่นั่งทรง และห่างจากบุษบก ๑ เมตร แต่ปัจจุบันเปลี่ยนมาเห่ในเรือพระที่นั่งอนันตนาคราช และมีฝีพายเป็นลูกคู่รับ การรับจะร้องรับเพียงลำเดียวเท่านั้น ลำอื่นๆ ไม่ต้องร้องรับการเห่เรือในกระบวนพยุหยาตราอย่างน้อย กระบวนราบใหญ่ และกระบวนราบน้อย ต้นเสียงจะต้องเห่ในเรือทรงผ้าไตร
อยู่ดีๆน้ำตาไหลเอง
เพลง สะระหม่าใหญ่ ออกแปลง วงค์ปี่ชวากลองแขก ออกบรรเลงในขณะเรือพระราชพิธีแล่นตลอดเวลา บรรเลงโดย กองการสังคีต (สำนักการสังคีต) กรมศิลปากร ซึ่งอยู่ในเรืออีเหลือง ครับ.
ตอนนั้นผม7ขวบ แจต่จำได้ว่างานยิ่งใหญมาก เพราะเป็นการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์200ปีด้วย
ดิฉัน 8 ขวบ จำได้ว่า คนเยอะมาก แอบเคืองแม่มาพาไปทำไมตอนนี้คิดกลับกันว่าตอนนั้นโชคดีมากที่มีโอกาส 🙂
การเห่เรือในปัจจุบันยังคงรักษารูปแบบในสมัยโบราณไว้ แต่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการ และขั้นตอนบางประการไปตามข้อจำกัดของปัจจัยแวดล้อมตามความเหมาะสม คือการจัดกระบวนเรือ จะจัดเรือทุกลำไว้กลางแม่น้ำ ยกเว้นเรือพระที่นั่งทรงและเรือพระที่นั่งรอง จะจอดเทียบท่าเพื่อรอเสด็จพระราชดำเนินก่อน การจัดและควบคุมกระบวนเรือทั้งหมดเป็นหน้าที่ของผู้บัญชาการกระบวนเรือ โดยใช้สัญญาณแตร และผู้บัญชาการกระบวนเรือจะต้องประจำอยู่ในเรือกลองใน หรือเรือแตงโม ซึ่งแล่นนำหน้าเรือพระที่นั่งเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินมาถึง และประทับในเรือพระที่นั่งทรงแล้ว จึงเป็นหน้าที่ของนายเรือเป็นผู้ให้สัญญาณจับพายด้วยการรัวกรับ และให้สัญญาณมือแก่ผู้ถือแพนหางนกยูง หัวเรือพระที่นั่ง เพื่อโบกแพนหางนกยูงให้สัญญาณเริ่มเดินพายแก่ฝีพายอีกทอดหนึ่ง
เมื่อคราวที่ฉลอง200ปี กทม.ปี2525..ได้ชมการซ้อมกระบวนแห่เรือนี้บนสะพานพระปื่นเกล้า งดงามมาก ร้อนมากด้วยแต่ทุกคนทนได้ ..ยุคนั้นยังไม่มีมือถือ แม้กระทั่งแพคลิ้ง โฟนลิ้งก็ไม่มี..ผมอายุ 66 ขวบในปีนี้..
ยืนที่นั้นเหมือนกันวันซ้อมใหญ่ ยังมีรูปอยู่เลย สวยงามมาก
คิดถึง พ่อหลวง ❤❤❤
ขอบคุณมาก ๆ ครับ
เป็นบุญตาแท้ๆ ที่ได้ชม
คุณค่าแห่งการเก็บรักษา
ทำนองที่ใช้ในการเห่เรือเป็นการให้จังหวะแก่ฝีพายให้พายตามจังหวะทำนองการร้อง เพื่อบังคับให้เรือแล่นไปอย่างเป็นระเบียบสวยงามและพร้อมเพรียงกัน ทำนองที่ใช้ในการเห่เรือปัจจุบันมี ๓ ทำนอง คือ ช้าละวะเห่ มูลเห่ และสวะเห่ก่อนการเริ่มต้นเห่เรือตามทำนองนั้น เมื่อเรือพระที่นั่งทรงเริ่มออกจากท่ามาเข้ากระบวน พนักงานต้นเสียงเห่เรือก็จะขึ้นต้น เกริ่นเห่ เป็นทำนองตามเนื้อความในโคลงสี่สุภาพก่อน จึงมักเรียกว่า เกริ่นโคลง บทเกริ่นที่ถือว่า ไพเราะ และยึดถือเป็นแบบอย่างมาจนปัจจุบันนี้ คือ โคลงสี่สุภาพ บทเห่ชมเรือกระบวนพระนิพนธ์ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร การเกริ่นโคลงเป็นการให้สัญญาณเตือนฝีพาย ให้อยู่ในท่าเตรียมพร้อม เมื่อจบเกริ่นโคลง เรือพระที่นั่งทรง ก็เข้าที่ และพร้อมเคลื่อนตามกระบวนได้ พนักงานนำเห่จึงเริ่มการเห่ตามทำนอง คือ๑. ช้าละวะเห่ หรือในการเห่เรือเล่น เรียกว่า เห่ช้า เป็นทำนองที่ใช้เริ่มต้นการเห่ มีจังหวะช้าๆ ท่วงทำนองไพเราะ ถือเป็นการให้สัญญาณเริ่มต้นเคลื่อนเรือในกระบวนทุกลำไปพร้อมๆ กันอย่างช้าๆ บทนี้ขึ้นต้นว่า“เห่เอ๋ย...พระเสด็จ...โดย...แดน (ลูกคู่รับ โดยแดนชล)”การเห่ทำนองช้าละวะเห่นี้ ฝีพายจะอยู่ในท่าเตรียมพร้อม จนกระทั่งลูกคู่รับท้ายต้นเสียง จึงเริ่มจังหวะเดินพายจังหวะที่ ๑ บทเห่ที่เป็นตัวอย่างในตอนที่เป็นทำนองช้าละวะเห่ คือ บทที่เป็นกาพย์ยานีบทแรก ในพระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ความว่า“พระเสด็จโดยแดนชล ทรงเรือต้นงามเฉิดฉายกิ่งแก้วแพร้วพรรณราย พายอ่อนหยับจับงามงอน ”
ท่าพายเรือที่ใช้สำหรับพายในเรือพระที่นั่งจะเป็นท่านกบินเป็นหลัก หากจะเปลี่ยนท่าพายเรือ ต้องขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตก่อนเสมอการเสด็จพระราชดำเนินกลับ หากเป็นยามพระอาทิตย์อัสดงแล้ว ต้องโห่ ๓ ลา ก่อน จึงจะออกเรือพระที่นั่งได้
สำหรับในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้มีการจัดกระบวนพยุหยาตราชลมารคทั้งสิ้น 17 ครั้ง
เป็นคนเริ่มฟื้นฟูพระราชพิธีนี้ แล้วก็เป็นมรดกของชาติที่คุ้มค่ามหาศาล นักท่องเที่ยวรอชมกันเยอะมากสร้างเงินมหาศาล
ไม่ทราบว่าครั้งนี้เป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ ๙ หรือไม่ เพราะตอนนั้นผมเพิ่ง ป.6 เกิดมาเพิ่งเคยเห็นเป็นครั้งแรกเมื่องานสมโภชกรุงรัตนโกสินธุ์ 200 ปี พ.ศ. 2525
@@kreangfan นับจากเมื่อได้มีการจัดกระบวนพยุหยาตราชลมารค เมื่อคราวฉลองพระนครครบรอบ ๑๕๐ ปี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ในรัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ก็ไม่เคยได้จัดอีก จนใน พ.ศ. ๒๕๐๐ ในรัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช อันเป็นปีที่ทางราชการได้จัดงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษขึ้น และได้จัดให้มีกระบวนเรือพระราชพิธี อัญเชิญพระพุทธรูป พระไตรปิฏก และพระสงฆ์ แห่ไปตามลำแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นการเฉลิมฉลอง กระบวนครั้งนั้นเรียกกันว่า "กระบวน พุทธพยุหยาตรา" การจัดรูปกระบวนเรือคล้ายรูปกระบวนพยุหยาตราน้อย แต่ไม่ครบ เนื่องจากเรือพระราชพิธีชำรุดเสียหายไปบ้าง ไม่มีเรือพอจะจัดให้เต็มรูปริ้วกระบวนแบบฉบับ ที่มีมาแต่โบราณ
ภาพความงดงามของขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในเทปบันทึกการถ่ายทอดสดพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๒๕ ที่นำเสนอนี้ จะปรากฎให้เห็นอีกครั้งในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ในวันอาทิตย์ที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ นี้นะครับ
การถ่ายทอดสดกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ครั้งต่อมา (2530) และครั้งต่อไป นั้น จะไม่มีเสียงบรรยายแทรกในระหว่างเห่เรือ เพื่อให้ท่านผู้ชมฟังการเห่เรือได้มากขึ้น ครับ.
ปีนั่นเป็นปีส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยด้วย
@@tumtum1843 และเป็นปีมหามงคลที่ ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ ครับ.
อดีตที่สวยงาม ภาพจำในวัยเด็ก
ดาวล้อมเดือนเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๒๕ ได้มีการปรับเปลี่ยนตำแหน่งของเรือพระราชพิธีที่เข้าร่วมในริ้วพยุหยาตรา (ใหญ่) ทางชลมารค ตามพระดำริสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เป็นรูปแบบดาวล้อมเดือน เพื่อให้รูปขบวนมีสัดส่วนที่เหมาะสม และเรือพระที่นั่งมีความสง่างามไม่รั้งท้ายขบวน เนื่องจากไม่มีขบวนเรือของพระบรมวงศานุวงศ์ตามเสด็จเป็นขบวนหลังเหมือนในอดีต ผังของขบวนเรือพระราชพิธีมีลักษณะดุจดาวล้อมเดือน คือ มีเรือพระที่นั่งเป็นเดือน เรืออื่นในขบวนหน้า ในขบวนแซง และในขบวนหลัง เป็นดาวล้อมอยู่ทุกด้าน ซึ่งการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคปัจจุบัน ได้นำแนวพระดำริดังกล่าวมาปฏิบัติ เพื่อให้เรือพระที่นั่งมีความสง่างามสมพระเกียรติ.#การจัดขบวนเรือพระราชพิธี#ดาวล้อมเดือน
อารยธรรมสยามของเรา สวยงามและยิ่งใหญ่เราชาวไทยร่วมใจจงรักภักดีต่อชาติศาสนา และพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์🥰🥰🥰🥰🥰🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🙏🙏🙏🙏🙏
วันอาทิตย์ที่27ตุลาคมมีงาน6รอบถวายผ้าพระกฐินวัดอรุณราชวรามวรวิหาร
กระบวนพยุหยาตราชลมารค (ใหญ่) จากท่าวาสุกรี ไปยังท่าราชวรดิฐ ในการเสด็จพระราชดำเนินไปบวงสรวงสมเด็จพระบูรพามหากษัตริย์เจ้า ในพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือน 5 ปีจอ ตรีศก จ.ศ. 1343 ตรงกับวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2525
หาดูยากผมยังไม่เกิดเลย
พิธีกรของทางช่อง 9 ในตอนต้นคลิป หนึ่งในนั้นคือคุณจักรพันธุ์ ยมจินดา ก่อนที่จะย้ายไปทำงานกับช่อง 7 ในภายหลังครับอนึ่ง คุณจักรพันธุ์ เพิ่งเสียชีวิตเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2567 ที่ผ่านมานี้เอง
0:20 นายพฤทธ์ อุปถัมภานนท์ (24 มีนาคม พ.ศ.2469-29 มิถุนายน พ.ศ.2554)นาย จักรพันธุ์ ยมจินดา (22 สิงหาคม พ.ศ. 2497 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2567)
▫️ โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย ขอเชิญชมถ่ายทอดสด #พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน โดย #ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ▫️เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ ตั้งแต่เวลา 14.30 น. เป็นต้นไปครับ.
ผมย้อนมาดูตอนนั้นผมยังไม่เกิดเลย
ยังไม่เกิดเลยค่ะ เป็นบุญตาที่ได้ชมพระบารมี
พนักงานเห่เรือ จะเริ่มเกริ่นเห่เรือ เกริ่นโคลงได้ เมื่อเรือพระที่นั่งทรงออกจากท่า แล้วกำลังจะเข้ากระบวน เมื่อเกริ่นโคลงจบ เรือพระที่นั่งก็พร้อมที่จะเคลื่อนตามเรือทั้งกระบวนพอดีการขานเสียงรับ ฝีพายจะขานรับข้ามที่ประทับไม่ได้ เช่น ต้นเสียงเห่อยู่ตอนหัวเรือ ก็ให้ขานรับเฉพาะฝีพายที่อยู่ตอนหัวเรือ ฝีพายท้ายเรือขานรับไม่ได้ ถือว่าการขานเสียงข้ามที่ประทับเป็นเรื่องต้องห้ามพลฝีพายในเรือพระที่นั่งทรง เรือพระที่นั่งรอง และเรือทรงผ้าไตร ทั้ง ๓ ลำนี้ สำนักพระราชวังจะเป็นผู้กำหนดให้แต่งกายรับเสด็จอย่างเต็มยศ หรือครึ่งยศ หากแต่งกายเต็มยศ พลฝีพายใช้พายเงินพายทอง แต่หากแต่งกายปกติ จะแต่งกายดำ สวมหมวกกลีบลำดวน ใช้พายทาน้ำมัน
เพิ่งเกิดได้3เดือน😊😅
😇😇😇😇😇😇😇😇😇😇🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉
คุณครูปี๊บ คงลายทอง ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง(ดนตรีไทย) พุทธศักราช 2563 ให้ความรู้เรื่องเพลงไทยที่ใช้ในขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ครั้งนี้ ว่า เรือที่มีวงดนตรี อีก 2 ลำ คือ1.เรือแตงโม หรือเรียกว่าอีกชื่อว่า เรือกลองใน เป็นเรือที่ผู้บัญชาการขบวนเรือนั่งในกัญญาเรือ เรือแตงโมจะพายอยู่หน้าเรือพระที่นั่ง2. เรืออีเหลือง หรือเรียกอีกชื่อว่า เรือกลองนอก เป็นเรือที่รองผู้บัญชาการนั่งในกัญญาเรือ เรืออีเหลืองจะพายอยู่หน้าขบวน วงดนตรี เรียกว่าวงปี่ชวากลองแขก หรือวงปี่กลอง นักดนตรีจาก สำนักการสังคีต กรมศิลปากร ทำหน้าที่ประโคม เพื่อเป็นพระเกียรติยศ และขนบจารีตแบบแผนตามโบราณราชประเพณี เพลงที่ใช้บรรเลง เพลงสระหม่า เริ่มประโคมตั้งแต่ออกขบวน ถึงส่งเสด็จ วงในเรือแตงโม เป่าส่งเสด็จจำนวนนักดนตรี- กำกับวง หรือ คุมวง 1- ปี่ชวา 1- กลองแขก 2- ฉิ่ง 1รวม 5 นายนักดนตรีมีตำแหน่งนั่งในกัญญาเรือ แต่งกายตามโบราณราชประเพณี คุมวงนุ่งผ้าเกี้ยวลาย สวมเสื้อนอกขาว หมวกทรงประพาสโหมดเทศ ยอดเกี้ยว รัดประคตแดงดอดขาว นักดนตรี นุ่งผ้าเกี้ยวลาย เสื้ออัตลัดแดง หมวกหูกระแดงขลิบลูกไม้ใบข้าว รัดประคตโหมดเทศ ประดับเครื่องราชอิสสริยาภรณ์ ตามที่ได้รับพระราชทานเรือรูปสัตว์ 8 ลำ1. เรืออสุรวายุภักษ์ - จ่าปี่ 1 - จ่ากลอง 1 - กลองชนะแดงลายทอง 102.เรืออสุรปักษี - จ่าปี่ 1-จ่ากลอง1-กลองชนะเขียวลายเงิน 103.เรือกระบี่ปราบเมืองมาร -จ่าปี่ 1-จ่ากลอง 1-กลองทอง 104.เรือกระบี่ราญรอนราพย์-จ่าปี่ 1-จ่ากลอง 1-กลองชนะเงิน 10จ่าปี่ ทำหน้าที่เป่าปี่ชวา เพลงประเภท 2 ชั้น เช่น เพลงกระบี่ลีลา เพลวมอญรำดาบ เพลงลงสรง เป็นต้น ตั้งแต่เริ่มออกกระบวน ไปจนส่งเสด็จ จ่ากลอง ทำหน้าที่ตีเปิง ให้พวกกลองชนะตีรับ กำกับจังหวะไปในทำนองเพลงสารวัตรแตร ทำหน้าที่ให้สัญญาณในการประโคม การประโคมเริ่มด้วย เป่าสังข์ แตรงอน และแตรฝรั่ง แตรฝั่งเป่าเพลงสำหรับบท เริ่มประโคมเมื่อเสด็จลงเรือ และจะประโคมเป็นครั้งๆ เมื่อผ่านจุกสำคัญๆ เช่น ผ่านพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ ๘ เชิงสะพานพระรามแปด ผ่านสะพานพระปิ่นเกล้า ตรงนั้นเป็นวังหน้า การเป่าสังข์แตรฝรั่งประโคมนี้ นัยว่า บอกให้ทราบว่าเป็นริ้วขบวนพระเจ้าแผ่นดิน บอกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ศาลเทพาอารักษ์ ให้ท่านรับทราบ7.เรือครุฑเหินเห็จ-มโหระทึก 18.เรือครุฑเตร็จไตรจักร-มโหระทึก 1เรืออีก 2 ลำ เป็นเรือคู่ชัก พายกระนาบเรือพระที่นั่ง1. เรือเอกไชยเหินหาว-มโหระทึก 12.เรือเอกไชยหลาวทอง-มโหระทึก 1ทั้งสี่ลำ มีเจ้าพนักงาน 1 นาย กระทั่งมโหรทึก ไปตลอด ตั้งแต่ขบวนจนส่งเสด็จ
ผมเกิด 10 เมษายน 2525
10 เม.ย. 2517 ค่ะ
อยากทราบว่า ททท เก็บไฟลไว้อยู่ครบใหม อยากให้เอาพระราชพิธีสำคัญต่างๆมาลงให้หมด
ทรท. ครับ.
@@Chantawat2531 ใช่ครับพิมพ์ผิด แต่ก็อยากให้ ททท เอาไปโปรโมทแทนบ้างเลย งบsoft powerเนี่ย🤣🤣
มีพิธีบวงสรวงสมเด็จพระมหากษัตริย์ ณ ท้องสนามหลวงหรือไม่ครับ
จะเสนอให้ชมครับ โปรดติดตาม
ที่สังเกตเลยครับคือ จะมีช่วงนึงที่เรือเรื่มออกจากท่า หลังแตรวงบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีจบลง แล้วมีเสียงดีดนาฬิกาสามลานดังแทรกเข้ามา นั่นคือเสียงเทียบเวลาจากฝั่งวิทยุกรมประชาสัมพันธ์รอบเช้าแน่นอนครับ แต่ในคลิปเหมือนจะดีดแค่ครั้งเดียว ขานเวลา แล้วตัดเข้าเพลงชาติเลย เพื่มเติมเรื่องตัวคนพากย์ในวันนั้นครับ- คุณจักรพันธุ์ ยมจินดา 8 ปีให้หลังจากวันนั้น ปี 2533 ก็ไปออกรายการชิงร้อยชิงล้านคู่กับอา ย.โย่ง เอกชัย นพจินดา แล้วเข้ารอบชิงล้านด้วย แต่เกือบทุบเงินล้านแตกครับ เพราะไปตอบทายใจข้อสุดท้ายไม่ตรงกัน และล่าสุด คุณจักรพันธุ์ก็เพิ่งมีข่าวว่าเสียชีวิตไปเมื่อไม่กี่วันมานี้นี่เอง- คุณธรรมรัตน์ นาคสุริยะ ท่านเป็นคุณพ่อตัวจริงเสียงจริงของพี่เหมี่ยว - ปวันรัตน์ นาคสุริยะ ซึ่งเป็นผู้กำกับละครทีวีมือรางวัลคนหนึ่งในเวลานี้ และจากการกำกับละครทีวีเรื่องมาตาลลดา ก็กวาดหลายรางวัลจากหลายสถาบันด้วยกันในหลายสาขา รวมถึงตัวคุณชาย ชาตโยดม และคุณเต้ย - จรินทร์พร ที่คว้ารางวัลยอดเยี่ยมด้วยเช่นกัน - ท่านประพาศ ศกุนตนาค ท่านนี้คงไม่ต้องโฆษณาอะไรมากมายนัก เพราะท่านคือสุดยอดนักพากย์การถ่ายทอดงานพระราชพิธีท่านหนึ่งของเมืองไทย และท่านก็ยังรับงานเป็นนักขับเสภาละครพี้นบ้านของบริษัทสามเศียรด้วย
ในยุคที่ยังไม่มี #โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย
โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: ทรท.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2511
ผมยังไม่เกิดเลย
หาคลิปมาได้ไงคะเนี่ย เก่ามาก
มีคลิป สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์อีกไหมครับ ลงเยอะไปเลยนะครับปล.: สมเด็จพระพันปีหลวง เสด็จลงเรือพระที่นั่งกับในหลวงครังนี้ครั้งเดียวเหรอ เพราะปี 2530 2539 2542 พระพันปีหลวง ไม่ได้ลงเรือด้วย
ครั้งเดียว ครับ ในปี 2530 สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทอดพระเนตรกระบวนพยุหยาตราชลมารค ณ ราชนาวิกสภา ครับ.
คนอื่นดูจะว่ายังไงเนี่ยคับ
ผมเกิด32
อีกข้อที่สำคัญ... การดำรงอยู่ของสถาบันพระมหากษัตริย์นั้น เป็นสิ่งเดียวกัน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ วัดวาอาราม โบสถ์คริสท์ วัดแขก วัดซิกส์ วัดเชน สุเหร่า มัสยิด โบราณสถาน ชุดแต่งกายโบราณของไทย ปราสาทราชมณเฑียร กีฬาตะกร้อ กีฬามวยไทย นิสัยใจคอความเป็นมิตรไมตรีของคนไทย ตำรับอาหารไทยแสนอร่อย โขน ละครไทย งานเทศกาลรื่นเริง โบราณราชประเพณี การยืนให้ความเคารพเพลงชาติ เอกราชของชาติ การยืนถวายความเคารพในโรงหนัง บลา บลา บลา...เหล่านี้เรียกรวมๆว่า "อัตลักษณ์ของชาติ" ...อันเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่าและประเมินค่ามิได้ ชาวโลกต่างก็อยากมาสัมผัส ความมีมนต์ขลัง ความมีเสน่ห์ของอัตลักษณ์ไทย และมันทำเงินเข้าประเทศได้มหาศาล แล้วยังส่งต่อเป็นมรดกอันทรงคุณค่าให้ลูกหลานไทยเก็บกินต่อยอดออกไปได้อีกนานแสนนาน...แต่สำคัญที่สุดเหนือสิ่งอื่นใด การดำรงอยู่ของสถาบันพระมหากษัตริย์นั้นเป็นเครื่องค้ำประกันนโยบายหลักการดำรงรักษาความเป็นกลางอย่างเคร่งครัดและเป็นมิตรกับทุกประเทศของไทย และนโยบาย "เป็นกลางอย่างเคร่งครัดและเป็นมิตรกับทุกประเทศ" ของไทยนี้ก็เป็นเครื่องค้ำประกันความมั่งคั่งไพบูรณ์ของประเทศ-ความกินดีอยู่ดีเจริญรุ่งเรืองของประชาชน และความมั่นคงของชาติ...!!!การแก้ไข 112 คือก้าวแรกของการยกเลิกสถาบันพระบันพระมหากษัตริย์จะมีใครรับประกันได้ว่าประธานาธิบดีประมุขสูงสุดของประเทศในระบอบใหม่ที่เป็นสาธารณะรัฐจะไม่เป็นหุ่นเชิดของประเทศสหรัฐฯ หรือฝักใฝ่คอมมินิสท์จีน แล้วทำให้ประเทศไทยสูญเสียความเป็นกลาง พาประเทศเข้าสู่สงครามแบบยูเครน พาประชาชนเป็นแสนเป็นล้านไปล้มตายในสงครามโง่ๆการแก้ไข ม.112 คือก้าวแรกของการล้มประเทศไปเป็นอาณานิคมจำแลงหรือสนามทดสอบอาวุทสงครามจริงของต่างชาติ หรือพูดง่ายๆ "การแก้ไข 112 คือก้าวแรกของการพาประเทศเข้าสู่สงคราม" ..!!!ม.112 สำคัญต่อชีวิตคนไทยทุกคนมากกว่าที่พวกคุณจะเคยคิด แต่เพราะพวกคุณสุขสบายดีทุกวี่วัน ก็เลยมองไม่เห็นความสำคัญของกฏหมายนี้...Thasspong Thapsang22 May 2023
ชอบมาก....บทความนี้..รากเหง้าแข็งแรง...ต้นจะอยู่อย่างมั่นคง
❤️❤️🇹🇭🇹🇭❤️❤️🙏🙏🙏
ตอนนั้น7ขวบ
ผมเห็นแล้วผมเข้าใจคนสมัยก่อนๆเลยคับ
สมัยนั้นยังมีบ้านชาวบ้านริมแม่น้ำอยู่เลย
ขอบคุณที่ลงแบบครบสมบูรณ์และไม่มีการดูดเสียงการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี รับชมแบบอิ่มใจมากครับ
ไม่มีตีกสูงเลย...สวยจริง ประเทศไทยของฉัน ❤❤❤
พ่อของเราได้มีโอกาสเป็นฝีพายเรือดั้งในครั้งนี้ด้วย รูปถ่ายร่วมกับฝีพายท่านอื่น ยังติดไว้ที่ผนังบ้านอยู่จนถึงทุกวันนี้ มันคือความภาคภูมิใจของครอบครัวเราเลยค่ะ
เป็นบุญของผู้เป็นฝีพายนะครับ
ภูมิใจด้วยคนค่ะ
ดีใจภูมิใจด้วยค่ะเข้าใจความรู้สึกค่ะ, พ่อของเราถือธงอยุ่ท้ายเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ปราบปลื้มภูิมใจมากเหมือนกันค่ะ
ขอบคุณช่องมากครับที่นำแบบเต็ม ๆ มาให้ชมแบบไม่ตัด ชีวิตนี้ผมไม่คิดว่าจะได้เห็นภาพสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศ์เสด็จพระทับเรือพระที่นั่งพร้อมกันทุกพระองค์แล้ว
วันนั้นผมเป็นลูกเสือชั้น ม. 5 รร.มัธยม มาดูแลความเรียบร้อยใต้สะพานปิ่นเกล้าฝั่งธน
สุดยอดมากครับ 😃
เมื่อ 42 ปีที่แล้ว มีถ่ายทอดสดภาพจากบนเรือได้ด้วย
ผมยังไม่เกิดเลย เป็นบุญตาเลยคลิบนี้ สวยงามยิ่งใหญ่ โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจสมัยก่อน มีความเป็นที่สุดมาก เสียงบรรยาย ทรงคุณค่ามากครับ คุณภาพมาก
ขอความกรุณาเจ้าของช่องช่วยจัดหาและลงเทปปี2542ให้ด้วยนะคะ
เป็นภาพที่หาดูได้ยากมากๆ อยากให้เอามาเผยแพร่อีกครับสำหรับงานฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี เพื่อให้คนที่ไม่เคยได้ชมจะได้รับชมทุกเหตุการณ์ในโอกาสครบ 200 ปีกรุงรัตนโกสินท์ ขอบคุณครับที่จะนำมาเผยแพร่
เป็นภาพแห่งประวัติศาสตร์ ที่บันทึกรายละเอียดได้ครบทุกเหตุการณ์
เรารักและภักดีราชวงศ์จักรี
สมัยนั้นริมแม่น้ำจ้าวพระยาต้นไม้เยอะ คลิปนี้ยังไม่เกิดเลย ขอบคุณที่อัพโหลด
ขอบคุณมากค่ะ..ตอนนั้นเด็กมากไม่รู้เรื่อง..ตอนนี้คือรักประทศไทยมาก
ขัดใจผู้พากย์มาก เหมือนไม่ทำการบ้านมาเลย รายพระนามของพระราชวงศ์ยังอ่านตะกุกตะกักอ่านผิดอีก
อ่านผิดอีกครับพระนามของสมเด็จพระเทพหรือสมเด็จพระกนิฐาในสมัยนั้นก็อ่านเป็นสยามมกุฎราชกุมารีจริงๆต้องเป็นสยามบรมราชกุมารี พระพันปีหลวงต้องเป็นพระบรมราชินีนาถไม่ใช่พระบรมราชินี
@@อภิสิทธิ์ชนะภัทรพงศ์ ใช่ค่ะ เรื่องแค่นี้ไม่น่าพลาด ขนาดเราคนธรรมดาก็ยังอ่านพระนามทุกพระองค์ถูกเลย เพราะที่บ้านปลูกฝังมาตั้งแต่เด็ก
ชอบเสียงผู้ประกาศข่าว เสียงเท่มาก สมัยนี้สำเนียงการพูดแบบนี้ไม่ค่อยมีแล้ว หายาก
ตอนนั้นเด็กมากสิ่งที่อยุ่ในความทรงจำคือ พ่อพาไปซื้อว่าวที่มีรูปเทวดาสององค์เหมือนรูปตราฉลองกรุงเทพฯ 200 ปี
ขอบคุณที่แชร์นะคะ ตอนนั้นยังเป็นวุ้นอยู่เลย 😆ดูแลเรือดีมาก ถึงตอนนี้ยังสวยทุกลำ
ขอบคุณ🙏มากๆนะคะพี่ที่เอามาอัพลง UA-cam เกิดไม่ทันได้ชม แต่สามารถหาดูในช่องพี่ได้ ขอบคุณจริงๆนะคะ^^😊
บรรยากาศบ้านเมือง40กว่าปีที่แล้ว ยังดูเป็นชนบทอยู่มาก 2ฝั่งริมน้ำยังเป็นบ้านเรือนไม้ ถัดออกไปยังเป็นป่า ต้นไม้เยอะมาก
ตั้งแต่ 2525 สมัยนั้นทีวียังไม่มีเลย โดยเฉพาะตามต่างจังหวัด ขอบคุณที่ค้นหาเอามาลงให้ดู 🙏😁😁😁😁👍👍
ขอบคุณนะคะ ที่ลงให้ดู ดีมากๆเลยค่ะได้ดูในหลวง ร.9 และได้ดูพระราชพิธีที่ยิ่งใหญ่ แบบนี้ ขอบคุณนะคะ🙏🏻
พระราชพิธีเทปนี้ เรายังไม่เกิดเลยอ่ะ บุญตามากที่ได้รับชม
ขอบคุณที่นำคลิปนี้มาให้ชมครับ ก่อนผมเกิดเสียอีก งานยิ่งใหญ่มากครับ
ของหายาก ของแรร์ ทรงคุณค่า และที่สำคัญ ไม่ดูด เพลงสรรเสริญออก ดีงามม
ดูเเล้วนํ้าตาไหลออกมาเอง😢
เป็นคลิปที่หาดูได้ยาก คงความเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ อยู่ในใจคนไทยมาทุกยุคสมัย
ภาพชัดเจน และพิธีงดงามมากๆครับ รอติดตามชมไปเรื่อยๆครับ
คุณจักรพันธุ์(ผู้ล่วงลับ) ยังผอมเพรียวอยู่เลยครับ
ตอนนั้นนั่งดูถ่ายทอดอยู่ครับ แต่ไม่เครื่องวีดีโอเลยไม่ได้อัดไว้
งานสมโภชกรุงรัตนโกสินธุ์ 200 ปี ตอนนี้ผมยังเด็ก ๆ พ่อได้ไปดูด้วย อลังการมาก หนึ่งเดียวในโลกจริง ๆ ใครก็เลียนแบบไม่ได้ โชคดีที่เกิดมาเป็นคนไทย
ดิฉันอายุ 8 ขวบค่ะ แม่พาไปดูตอนนั้น ยังคิดว่า มาทำไมน้อ คนเยอะแท้ (คิดแบบเด็ก ๆ นะคะ ไม่ได้คิดร้าย)
พอโตขึ้น ถึงคิดได้ว่า โชคดีมากที่มีโอกาสได้ดู 🙂
@@gigsuranan929 ตอนนั้นเรียน ม.1 แล้วเลยรู้เรื่องทั้งหมด เพราะเคยไปดูเรือที่ทาวาสุกรีมาก่อนแล้ว
เวลา 07:50 น. (เจ็ดนาฬิกาห้าสิบนาที) พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า โดยกระบวนพยุหยาตราชลมารค จากท่าวาสุกรีไปยังท่าราชวรดิฐ โดยจัดเรือพระที่นั่งอนันตนาคราชทอดบัลลังก์บุษบกเป็นเรือนำ เชิญพระชัย(หลังช้าง)ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อกระบวนพยุหยาตราถึงท่าราชวรดิฐแล้ว เสด็จพระราชดำเนินสู่พระบรมมหาราชวัง และจัดกระบวนพระราชอิสริยยศน้อยแห่พระชัย (หลังช้าง) ไปยังพลับพลาท้องสนามหลวง
การเห่เรือในปัจจุบันมีวัตถุประสงค์ที่เห็นได้อย่างเด่นชัดก็คือ การให้จังหวะแก่ฝีพายจำนวนมาก ในการพายเรือพระราชพิธี กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ให้พร้อมเพรียงเป็นระเบียบเรียบร้อย สง่างาม และเป็นการอนุรักษ์ฟื้นฟูมรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ ที่เกี่ยวกับพระราชประเพณีดั้งเดิม ในการใช้กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เพื่อประกอบพระราชกรณียกิจ ของพระมหากษัตริย์ไทย ให้คงอยู่สืบไป
การถ่ายทอดสดในวันที่ 27 ตุลาคมนี้ โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย จะดำเนินการถ่ายทอดสด โดยสถานีโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) ทั้ง 6 สถานี เป็นแม่ข่ายทั้งหมด ครับ.
ขอบคุณมากๆๆๆๆค่ะ
เราพึ่งจะเกิดใด้หนึ่งเดือน ของคุณค่ะที่ลงคลิปให้ใด้ชม
ตอนนั้นเรา ๕ ขวบ เหมือนจะยังไม่ค่อยรู้เรื่อง 😅 (ในคลิปคุณจักรพันธ์ ที่เพิ่งเสียไปยังหนุ่มอยู่มากเลย ส่วนอีกท่านนึงไม่ทราบว่าใคร) ขอบคุณคลิปประวัติศาสตร์ที่งดงามนี้มากเลยค่ะ คิดถึงในหลวงร. ๙ จังเลยค่ะ 🙏🏻✨
คุณพฤกษ์ อุปถัมภานนท์ ครับ
นายพฤทธ์ อุปถัมภานนท์ (24 มีนาคม พ.ศ.2469-29 มิถุนายน พ.ศ.2554)
การให้จังหวะในการพายเรือพระที่นั่ง จะใช้กรับแทนการกระทุ้งเส้าให้จังหวะแก่ฝีพาย
การเห่เรือในกระบวนพยุหยาตราอย่างใหญ่ แต่เดิมต้นเสียงจะต้องเห่ในเรือพระที่นั่งทรง และห่างจากบุษบก ๑ เมตร แต่ปัจจุบันเปลี่ยนมาเห่ในเรือพระที่นั่งอนันตนาคราช และมีฝีพายเป็นลูกคู่รับ การรับจะร้องรับเพียงลำเดียวเท่านั้น ลำอื่นๆ ไม่ต้องร้องรับ
การเห่เรือในกระบวนพยุหยาตราอย่างน้อย กระบวนราบใหญ่ และกระบวนราบน้อย ต้นเสียงจะต้องเห่ในเรือทรงผ้าไตร
อยู่ดีๆน้ำตาไหลเอง
เพลง สะระหม่าใหญ่ ออกแปลง วงค์ปี่ชวากลองแขก ออกบรรเลงในขณะเรือพระราชพิธีแล่นตลอดเวลา บรรเลงโดย กองการสังคีต (สำนักการสังคีต) กรมศิลปากร ซึ่งอยู่ในเรืออีเหลือง ครับ.
ตอนนั้นผม7ขวบ แจต่จำได้ว่างานยิ่งใหญมาก เพราะเป็นการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์200ปีด้วย
ดิฉัน 8 ขวบ จำได้ว่า คนเยอะมาก แอบเคืองแม่มาพาไปทำไม
ตอนนี้คิดกลับกันว่าตอนนั้นโชคดีมากที่มีโอกาส 🙂
การเห่เรือในปัจจุบันยังคงรักษารูปแบบในสมัยโบราณไว้ แต่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการ และขั้นตอนบางประการไปตามข้อจำกัดของปัจจัยแวดล้อมตามความเหมาะสม คือ
การจัดกระบวนเรือ จะจัดเรือทุกลำไว้กลางแม่น้ำ ยกเว้นเรือพระที่นั่งทรงและเรือพระที่นั่งรอง จะจอดเทียบท่าเพื่อรอเสด็จพระราชดำเนินก่อน การจัดและควบคุมกระบวนเรือทั้งหมดเป็นหน้าที่ของผู้บัญชาการกระบวนเรือ โดยใช้สัญญาณแตร และผู้บัญชาการกระบวนเรือจะต้องประจำอยู่ในเรือกลองใน หรือเรือแตงโม ซึ่งแล่นนำหน้าเรือพระที่นั่ง
เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินมาถึง และประทับในเรือพระที่นั่งทรงแล้ว จึงเป็นหน้าที่ของนายเรือเป็นผู้ให้สัญญาณจับพายด้วยการรัวกรับ และให้สัญญาณมือแก่ผู้ถือแพนหางนกยูง หัวเรือพระที่นั่ง เพื่อโบกแพนหางนกยูงให้สัญญาณเริ่มเดินพายแก่ฝีพายอีกทอดหนึ่ง
เมื่อคราวที่ฉลอง200ปี กทม.ปี2525..ได้ชมการซ้อมกระบวนแห่เรือนี้บนสะพานพระปื่นเกล้า งดงามมาก ร้อนมากด้วยแต่ทุกคนทนได้ ..ยุคนั้นยังไม่มีมือถือ แม้กระทั่งแพคลิ้ง โฟนลิ้งก็ไม่มี..ผมอายุ 66 ขวบในปีนี้..
ยืนที่นั้นเหมือนกันวันซ้อมใหญ่ ยังมีรูปอยู่เลย สวยงามมาก
คิดถึง พ่อหลวง ❤❤❤
ขอบคุณมาก ๆ ครับ
เป็นบุญตาแท้ๆ ที่ได้ชม
คุณค่าแห่งการเก็บรักษา
ทำนองที่ใช้ในการเห่เรือ
เป็นการให้จังหวะแก่ฝีพายให้พายตามจังหวะทำนองการร้อง เพื่อบังคับให้เรือแล่นไปอย่างเป็นระเบียบสวยงามและพร้อมเพรียงกัน ทำนองที่ใช้ในการเห่เรือปัจจุบันมี ๓ ทำนอง คือ ช้าละวะเห่ มูลเห่ และสวะเห่
ก่อนการเริ่มต้นเห่เรือตามทำนองนั้น เมื่อเรือพระที่นั่งทรงเริ่มออกจากท่ามาเข้ากระบวน พนักงานต้นเสียงเห่เรือก็จะขึ้นต้น เกริ่นเห่ เป็นทำนองตามเนื้อความในโคลงสี่สุภาพก่อน จึงมักเรียกว่า เกริ่นโคลง บทเกริ่นที่ถือว่า ไพเราะ และยึดถือเป็นแบบอย่างมาจนปัจจุบันนี้ คือ โคลงสี่สุภาพ บทเห่ชมเรือกระบวนพระนิพนธ์ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร การเกริ่นโคลงเป็นการให้สัญญาณเตือนฝีพาย ให้อยู่ในท่าเตรียมพร้อม เมื่อจบเกริ่นโคลง เรือพระที่นั่งทรง ก็เข้าที่ และพร้อมเคลื่อนตามกระบวนได้ พนักงานนำเห่จึงเริ่มการเห่ตามทำนอง คือ
๑. ช้าละวะเห่ หรือในการเห่เรือเล่น เรียกว่า เห่ช้า เป็นทำนองที่ใช้เริ่มต้นการเห่ มีจังหวะช้าๆ ท่วงทำนองไพเราะ ถือเป็นการให้สัญญาณเริ่มต้นเคลื่อนเรือในกระบวนทุกลำไปพร้อมๆ กันอย่างช้าๆ บทนี้ขึ้นต้นว่า
“เห่เอ๋ย...พระเสด็จ...โดย...แดน (ลูกคู่รับ โดยแดนชล)”
การเห่ทำนองช้าละวะเห่นี้ ฝีพายจะอยู่ในท่าเตรียมพร้อม จนกระทั่งลูกคู่รับท้ายต้นเสียง จึงเริ่มจังหวะเดินพายจังหวะที่ ๑ บทเห่ที่เป็นตัวอย่างในตอนที่เป็นทำนอง
ช้าละวะเห่ คือ บทที่เป็นกาพย์ยานีบทแรก ในพระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ความว่า
“พระเสด็จโดยแดนชล ทรงเรือต้นงามเฉิดฉาย
กิ่งแก้วแพร้วพรรณราย พายอ่อนหยับจับงามงอน ”
ท่าพายเรือที่ใช้สำหรับพายในเรือพระที่นั่งจะเป็นท่านกบินเป็นหลัก หากจะเปลี่ยนท่าพายเรือ ต้องขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตก่อนเสมอ
การเสด็จพระราชดำเนินกลับ หากเป็นยามพระอาทิตย์อัสดงแล้ว ต้องโห่ ๓ ลา ก่อน จึงจะออกเรือพระที่นั่งได้
สำหรับในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้มีการจัดกระบวนพยุหยาตราชลมารคทั้งสิ้น 17 ครั้ง
เป็นคนเริ่มฟื้นฟูพระราชพิธีนี้ แล้วก็เป็นมรดกของชาติที่คุ้มค่ามหาศาล นักท่องเที่ยวรอชมกันเยอะมากสร้างเงินมหาศาล
ไม่ทราบว่าครั้งนี้เป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ ๙ หรือไม่ เพราะตอนนั้นผมเพิ่ง ป.6 เกิดมาเพิ่งเคยเห็นเป็นครั้งแรกเมื่องานสมโภชกรุงรัตนโกสินธุ์ 200 ปี พ.ศ. 2525
@@kreangfan นับจากเมื่อได้มีการจัดกระบวนพยุหยาตราชลมารค เมื่อคราวฉลองพระนครครบรอบ ๑๕๐ ปี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ในรัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ก็ไม่เคยได้จัดอีก จนใน พ.ศ. ๒๕๐๐ ในรัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช อันเป็นปีที่ทางราชการได้จัดงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษขึ้น และได้จัดให้มีกระบวนเรือพระราชพิธี อัญเชิญพระพุทธรูป พระไตรปิฏก และพระสงฆ์ แห่ไปตามลำแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นการเฉลิมฉลอง กระบวนครั้งนั้นเรียกกันว่า "กระบวน พุทธพยุหยาตรา" การจัดรูปกระบวนเรือคล้ายรูปกระบวนพยุหยาตราน้อย แต่ไม่ครบ เนื่องจากเรือพระราชพิธีชำรุดเสียหายไปบ้าง ไม่มีเรือพอจะจัดให้เต็มรูปริ้วกระบวนแบบฉบับ ที่มีมาแต่โบราณ
ภาพความงดงามของขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในเทปบันทึกการถ่ายทอดสดพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๒๕ ที่นำเสนอนี้ จะปรากฎให้เห็นอีกครั้งในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ในวันอาทิตย์ที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ นี้นะครับ
การถ่ายทอดสดกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ครั้งต่อมา (2530) และครั้งต่อไป นั้น จะไม่มีเสียงบรรยายแทรกในระหว่างเห่เรือ เพื่อให้ท่านผู้ชมฟังการเห่เรือได้มากขึ้น ครับ.
ปีนั่นเป็นปีส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยด้วย
@@tumtum1843 และเป็นปีมหามงคลที่ ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ ครับ.
อดีตที่สวยงาม ภาพจำในวัยเด็ก
ดาวล้อมเดือน
เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๒๕ ได้มีการปรับเปลี่ยนตำแหน่งของเรือพระราชพิธีที่เข้าร่วมในริ้วพยุหยาตรา (ใหญ่) ทางชลมารค ตามพระดำริสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เป็นรูปแบบดาวล้อมเดือน เพื่อให้รูปขบวนมีสัดส่วนที่เหมาะสม และเรือพระที่นั่งมีความสง่างามไม่รั้งท้ายขบวน เนื่องจากไม่มีขบวนเรือของพระบรมวงศานุวงศ์ตามเสด็จเป็นขบวนหลังเหมือนในอดีต
ผังของขบวนเรือพระราชพิธีมีลักษณะดุจดาวล้อมเดือน คือ มีเรือพระที่นั่งเป็นเดือน เรืออื่นในขบวนหน้า ในขบวนแซง และในขบวนหลัง เป็นดาวล้อมอยู่ทุกด้าน ซึ่งการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคปัจจุบัน ได้นำแนวพระดำริดังกล่าวมาปฏิบัติ เพื่อให้เรือพระที่นั่งมีความสง่างามสมพระเกียรติ
.
#การจัดขบวนเรือพระราชพิธี
#ดาวล้อมเดือน
อารยธรรมสยามของเรา สวยงามและยิ่งใหญ่
เราชาวไทยร่วมใจจงรักภักดีต่อชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์
🥰🥰🥰🥰🥰🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🙏🙏🙏🙏🙏
วันอาทิตย์ที่27ตุลาคมมีงาน6รอบถวายผ้าพระกฐินวัดอรุณราชวรามวรวิหาร
กระบวนพยุหยาตราชลมารค (ใหญ่) จากท่าวาสุกรี ไปยังท่าราชวรดิฐ ในการเสด็จพระราชดำเนินไปบวงสรวงสมเด็จพระบูรพามหากษัตริย์เจ้า ในพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือน 5 ปีจอ ตรีศก จ.ศ. 1343 ตรงกับวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2525
หาดูยากผมยังไม่เกิดเลย
พิธีกรของทางช่อง 9 ในตอนต้นคลิป หนึ่งในนั้นคือคุณจักรพันธุ์ ยมจินดา ก่อนที่จะย้ายไปทำงานกับช่อง 7 ในภายหลังครับ
อนึ่ง คุณจักรพันธุ์ เพิ่งเสียชีวิตเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2567 ที่ผ่านมานี้เอง
0:20 นายพฤทธ์ อุปถัมภานนท์ (24 มีนาคม พ.ศ.2469-29 มิถุนายน พ.ศ.2554)
นาย จักรพันธุ์ ยมจินดา (22 สิงหาคม พ.ศ. 2497 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2567)
▫️ โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย ขอเชิญชมถ่ายทอดสด #พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน โดย #ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค
▫️เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ ตั้งแต่เวลา 14.30 น. เป็นต้นไปครับ.
ผมย้อนมาดูตอนนั้นผมยังไม่เกิดเลย
ยังไม่เกิดเลยค่ะ เป็นบุญตาที่ได้ชมพระบารมี
พนักงานเห่เรือ จะเริ่มเกริ่นเห่เรือ เกริ่นโคลงได้ เมื่อเรือพระที่นั่งทรงออกจากท่า แล้วกำลังจะเข้ากระบวน เมื่อเกริ่นโคลงจบ เรือพระที่นั่งก็พร้อมที่จะเคลื่อนตามเรือทั้งกระบวนพอดี
การขานเสียงรับ ฝีพายจะขานรับข้ามที่ประทับไม่ได้ เช่น ต้นเสียงเห่อยู่ตอนหัวเรือ ก็ให้ขานรับเฉพาะฝีพายที่อยู่ตอนหัวเรือ ฝีพายท้ายเรือขานรับไม่ได้ ถือว่าการขานเสียงข้ามที่ประทับเป็นเรื่องต้องห้าม
พลฝีพายในเรือพระที่นั่งทรง เรือพระที่นั่งรอง และเรือทรงผ้าไตร ทั้ง ๓ ลำนี้ สำนักพระราชวังจะเป็นผู้กำหนดให้แต่งกายรับเสด็จอย่างเต็มยศ หรือครึ่งยศ หากแต่งกายเต็มยศ พลฝีพายใช้พายเงินพายทอง แต่หากแต่งกายปกติ จะแต่งกายดำ สวมหมวกกลีบลำดวน ใช้พายทาน้ำมัน
เพิ่งเกิดได้3เดือน😊😅
😇😇😇😇😇😇😇😇😇😇🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉
คุณครูปี๊บ คงลายทอง ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง(ดนตรีไทย) พุทธศักราช 2563 ให้ความรู้เรื่องเพลงไทยที่ใช้ในขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ครั้งนี้ ว่า
เรือที่มีวงดนตรี อีก 2 ลำ คือ
1.เรือแตงโม หรือเรียกว่าอีกชื่อว่า เรือกลองใน เป็นเรือที่ผู้บัญชาการขบวนเรือนั่งในกัญญาเรือ เรือแตงโมจะพายอยู่หน้าเรือพระที่นั่ง
2. เรืออีเหลือง หรือเรียกอีกชื่อว่า เรือกลองนอก เป็นเรือที่รองผู้บัญชาการนั่งในกัญญาเรือ เรืออีเหลืองจะพายอยู่หน้าขบวน
วงดนตรี เรียกว่าวงปี่ชวากลองแขก หรือวงปี่กลอง นักดนตรีจาก สำนักการสังคีต กรมศิลปากร ทำหน้าที่ประโคม เพื่อเป็นพระเกียรติยศ และขนบจารีตแบบแผนตามโบราณราชประเพณี เพลงที่ใช้บรรเลง เพลงสระหม่า เริ่มประโคมตั้งแต่ออกขบวน ถึงส่งเสด็จ วงในเรือแตงโม เป่าส่งเสด็จ
จำนวนนักดนตรี
- กำกับวง หรือ คุมวง 1
- ปี่ชวา 1
- กลองแขก 2
- ฉิ่ง 1
รวม 5 นาย
นักดนตรีมีตำแหน่งนั่งในกัญญาเรือ แต่งกายตามโบราณราชประเพณี คุมวงนุ่งผ้าเกี้ยวลาย สวมเสื้อนอกขาว หมวกทรงประพาสโหมดเทศ ยอดเกี้ยว รัดประคตแดงดอดขาว นักดนตรี นุ่งผ้าเกี้ยวลาย เสื้ออัตลัดแดง หมวกหูกระแดงขลิบลูกไม้ใบข้าว รัดประคตโหมดเทศ ประดับเครื่องราชอิสสริยาภรณ์ ตามที่ได้รับพระราชทาน
เรือรูปสัตว์ 8 ลำ
1. เรืออสุรวายุภักษ์
- จ่าปี่ 1
- จ่ากลอง 1
- กลองชนะแดงลายทอง 10
2.เรืออสุรปักษี
- จ่าปี่ 1
-จ่ากลอง1
-กลองชนะเขียวลายเงิน 10
3.เรือกระบี่ปราบเมืองมาร
-จ่าปี่ 1
-จ่ากลอง 1
-กลองทอง 10
4.เรือกระบี่ราญรอนราพย์
-จ่าปี่ 1
-จ่ากลอง 1
-กลองชนะเงิน 10
จ่าปี่ ทำหน้าที่เป่าปี่ชวา เพลงประเภท 2 ชั้น เช่น เพลงกระบี่ลีลา เพลวมอญรำดาบ เพลงลงสรง เป็นต้น ตั้งแต่เริ่มออกกระบวน ไปจนส่งเสด็จ จ่ากลอง ทำหน้าที่ตีเปิง ให้พวกกลองชนะตีรับ กำกับจังหวะไปในทำนองเพลง
สารวัตรแตร ทำหน้าที่ให้สัญญาณในการประโคม การประโคมเริ่มด้วย เป่าสังข์ แตรงอน และแตรฝรั่ง แตรฝั่งเป่าเพลงสำหรับบท
เริ่มประโคมเมื่อเสด็จลงเรือ และจะประโคมเป็นครั้งๆ เมื่อผ่านจุกสำคัญๆ เช่น ผ่านพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ ๘ เชิงสะพานพระรามแปด ผ่านสะพานพระปิ่นเกล้า ตรงนั้นเป็นวังหน้า การเป่าสังข์แตรฝรั่งประโคมนี้ นัยว่า บอกให้ทราบว่าเป็นริ้วขบวนพระเจ้าแผ่นดิน บอกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ศาลเทพาอารักษ์ ให้ท่านรับทราบ
7.เรือครุฑเหินเห็จ
-มโหระทึก 1
8.เรือครุฑเตร็จไตรจักร
-มโหระทึก 1
เรืออีก 2 ลำ เป็นเรือคู่ชัก พายกระนาบเรือพระที่นั่ง
1. เรือเอกไชยเหินหาว
-มโหระทึก 1
2.เรือเอกไชยหลาวทอง
-มโหระทึก 1
ทั้งสี่ลำ มีเจ้าพนักงาน 1 นาย กระทั่งมโหรทึก ไปตลอด ตั้งแต่ขบวนจนส่งเสด็จ
ผมเกิด 10 เมษายน 2525
10 เม.ย. 2517 ค่ะ
อยากทราบว่า ททท เก็บไฟลไว้อยู่ครบใหม อยากให้เอาพระราชพิธีสำคัญต่างๆมาลงให้หมด
ทรท. ครับ.
@@Chantawat2531 ใช่ครับพิมพ์ผิด แต่ก็อยากให้ ททท เอาไปโปรโมทแทนบ้างเลย งบsoft powerเนี่ย🤣🤣
มีพิธีบวงสรวงสมเด็จพระมหากษัตริย์ ณ ท้องสนามหลวงหรือไม่ครับ
จะเสนอให้ชมครับ โปรดติดตาม
ที่สังเกตเลยครับคือ จะมีช่วงนึงที่เรือเรื่มออกจากท่า หลังแตรวงบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีจบลง แล้วมีเสียงดีดนาฬิกาสามลานดังแทรกเข้ามา นั่นคือเสียงเทียบเวลาจากฝั่งวิทยุกรมประชาสัมพันธ์รอบเช้าแน่นอนครับ แต่ในคลิปเหมือนจะดีดแค่ครั้งเดียว ขานเวลา แล้วตัดเข้าเพลงชาติเลย
เพื่มเติมเรื่องตัวคนพากย์ในวันนั้นครับ
- คุณจักรพันธุ์ ยมจินดา 8 ปีให้หลังจากวันนั้น ปี 2533 ก็ไปออกรายการชิงร้อยชิงล้านคู่กับอา ย.โย่ง เอกชัย นพจินดา แล้วเข้ารอบชิงล้านด้วย แต่เกือบทุบเงินล้านแตกครับ เพราะไปตอบทายใจข้อสุดท้ายไม่ตรงกัน และล่าสุด คุณจักรพันธุ์ก็เพิ่งมีข่าวว่าเสียชีวิตไปเมื่อไม่กี่วันมานี้นี่เอง
- คุณธรรมรัตน์ นาคสุริยะ ท่านเป็นคุณพ่อตัวจริงเสียงจริงของพี่เหมี่ยว - ปวันรัตน์ นาคสุริยะ ซึ่งเป็นผู้กำกับละครทีวีมือรางวัลคนหนึ่งในเวลานี้ และจากการกำกับละครทีวีเรื่องมาตาลลดา ก็กวาดหลายรางวัลจากหลายสถาบันด้วยกันในหลายสาขา รวมถึงตัวคุณชาย ชาตโยดม และคุณเต้ย - จรินทร์พร ที่คว้ารางวัลยอดเยี่ยมด้วยเช่นกัน
- ท่านประพาศ ศกุนตนาค ท่านนี้คงไม่ต้องโฆษณาอะไรมากมายนัก เพราะท่านคือสุดยอดนักพากย์การถ่ายทอดงานพระราชพิธีท่านหนึ่งของเมืองไทย และท่านก็ยังรับงานเป็นนักขับเสภาละครพี้นบ้านของบริษัทสามเศียรด้วย
ในยุคที่ยังไม่มี #โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย
โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: ทรท.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2511
ผมยังไม่เกิดเลย
หาคลิปมาได้ไงคะเนี่ย เก่ามาก
มีคลิป สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์อีกไหมครับ ลงเยอะไปเลยนะครับ
ปล.: สมเด็จพระพันปีหลวง เสด็จลงเรือพระที่นั่งกับในหลวงครังนี้ครั้งเดียวเหรอ เพราะปี 2530 2539 2542 พระพันปีหลวง ไม่ได้ลงเรือด้วย
ครั้งเดียว ครับ ในปี 2530 สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทอดพระเนตรกระบวนพยุหยาตราชลมารค ณ ราชนาวิกสภา ครับ.
คนอื่นดูจะว่ายังไงเนี่ยคับ
ผมเกิด32
อีกข้อที่สำคัญ...
การดำรงอยู่ของสถาบันพระมหากษัตริย์นั้น เป็นสิ่งเดียวกัน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ วัดวาอาราม โบสถ์คริสท์ วัดแขก วัดซิกส์ วัดเชน สุเหร่า มัสยิด โบราณสถาน ชุดแต่งกายโบราณของไทย ปราสาทราชมณเฑียร กีฬาตะกร้อ กีฬามวยไทย นิสัยใจคอความเป็นมิตรไมตรีของคนไทย ตำรับอาหารไทยแสนอร่อย โขน ละครไทย งานเทศกาลรื่นเริง โบราณราชประเพณี การยืนให้ความเคารพเพลงชาติ เอกราชของชาติ การยืนถวายความเคารพในโรงหนัง บลา บลา บลา...
เหล่านี้เรียกรวมๆว่า
"อัตลักษณ์ของชาติ" ...
อันเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่าและประเมินค่ามิได้ ชาวโลกต่างก็อยากมาสัมผัส ความมีมนต์ขลัง ความมีเสน่ห์ของอัตลักษณ์ไทย และมันทำเงินเข้าประเทศได้มหาศาล
แล้วยังส่งต่อเป็นมรดกอันทรงคุณค่าให้ลูกหลานไทยเก็บกินต่อยอดออกไปได้อีกนานแสนนาน...
แต่สำคัญที่สุดเหนือสิ่งอื่นใด การดำรงอยู่ของสถาบันพระมหากษัตริย์นั้นเป็นเครื่องค้ำประกันนโยบายหลักการดำรงรักษาความเป็นกลางอย่างเคร่งครัดและเป็นมิตรกับทุกประเทศของไทย
และนโยบาย "เป็นกลางอย่างเคร่งครัดและเป็นมิตรกับทุกประเทศ" ของไทยนี้ก็เป็นเครื่องค้ำประกันความมั่งคั่งไพบูรณ์ของประเทศ-ความกินดีอยู่ดีเจริญรุ่งเรืองของประชาชน และความมั่นคงของชาติ...!!!
การแก้ไข 112 คือก้าวแรกของการยกเลิกสถาบันพระบันพระมหากษัตริย์
จะมีใครรับประกันได้ว่าประธานาธิบดีประมุขสูงสุดของประเทศในระบอบใหม่ที่เป็นสาธารณะรัฐจะไม่เป็นหุ่นเชิดของประเทศสหรัฐฯ หรือฝักใฝ่คอมมินิสท์จีน แล้วทำ
ให้ประเทศไทยสูญเสียความเป็นกลาง พาประเทศเข้าสู่สงครามแบบยูเครน พาประชาชนเป็นแสนเป็นล้านไปล้มตายในสงครามโง่ๆ
การแก้ไข ม.112 คือก้าวแรกของการล้มประเทศไปเป็นอาณานิคมจำแลงหรือสนามทดสอบอาวุทสงครามจริงของต่างชาติ หรือพูดง่ายๆ "การแก้ไข 112 คือก้าวแรกของการพาประเทศเข้าสู่สงคราม" ..!!!
ม.112 สำคัญต่อชีวิตคนไทยทุกคนมากกว่าที่พวกคุณจะเคยคิด แต่เพราะพวกคุณสุขสบายดีทุกวี่วัน ก็เลยมองไม่เห็นความสำคัญของกฏหมายนี้...
Thasspong Thapsang
22 May 2023
ชอบมาก....บทความนี้..รากเหง้าแข็งแรง...ต้นจะอยู่อย่างมั่นคง
❤️❤️🇹🇭🇹🇭❤️❤️🙏🙏🙏
ตอนนั้น7ขวบ
ผมเห็นแล้วผมเข้าใจคนสมัยก่อนๆเลยคับ
ผมยังไม่เกิดเลย
สมัยนั้นยังมีบ้านชาวบ้านริมแม่น้ำอยู่เลย