Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
การจุดเครื่องทองน้อย จุดต่อเนื่องจากประธาน จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ถูกตามนี้ไหมครับ
๑. ถ้าเป็นธรรมเนียมกองทัพ ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระ, เครื่องทองน้อย ๒. บางหน่วยงาน,พื้นที่ ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระ, กราบพระ,รับศีล, จุดเครื่องทองน้อย๓. ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมหน่วยงาน,พื้นที่ครับ แต่กองทัพ ปฏิบัติตามข้อ ๑
ขอบพระคุณท่านอาจารย์มากๆนะคะ น้อยคิดว่าเดี๋ยวนี้น้องๆรุ่นหลัง โชคดี มีครูบาอาจารย์เมตตา ให้ความส่งตรงเลย พ่อน้อยบอกว่าเราต้องขวนขวายหาบัณฑิต แล้วบัณฑิตจะพาไปหาผล จริงแท้แน่นอน ขอบพระคุณท่านอาจารย์ มาก ๆ และมากที่สุดที่ส่งความประเสริฐและดีงาม ขอบพระคุณมากค่ะ
ขอบคุณครับ
มีคนติเพื่อก่อ เหมือนมีบ่อทองคำ มีคนคอยแนะนำ เหมือนได้ฟังธรรมร้อยกัณฑ์ หากมีความใฝ่ฝันไปข้างหน้า เหมือนมีวังชาแข็งแรง หากมีใบม่วงใบแดงอยู่ในกระป๋า เหมือนมีกับข้าวเต็มถุง หากมุ่งในการศึกษา เหมือนได้รับปริญญาหลายใบ ขอกราบอนุโมทนาสาธุ
ขออนุญาตเก็บไว้เป็นข้อคิด สาธุ ครับ
สาธุค่ะสาธุ เรื่องราวความรู้ในทางพระพุทธศาสนา
ขออนุโมทนาบุญกับท่านอาจารย์ ที่นำความรู้ในสาระแห่งธรรมที่ถูกที่ตรงที่ควรที่ชอบที่ดีแล้ว มาให้ผู้ใฝ่ในธรรมได้รับรู้รับทราบไว้ ณ โอกาสนี้ ด้วยครับผม
ครับผม ขอคุณครับ
ขอบพระคุณครับ ได้รับความรู้อย่างยิ่ง
ขอบคุุณอาจารย์มากครับผมเพิ่งรู้ที่อาจารย์ อธิบายนี่เหละ ดีมากครีบเพราะไม่รู้คำแปรครับขอบคุณอาจารย์มากครับ
ขอบคุณมากๆเข้าใจได้ดีสาธุสาธุ❤❤
ขอบคุณมากค่ะทีได้รุ้เรื่องราวศึกษาศิลค่ะ
หลวงพ่อ หลวงพี่ ก็อย่าตามใจคนที่อยาก จะสาธุ จะเป็นการ สรุปอานิสงส์ของศิล ไม่ต่อเนื่อง ในตำหรับตำรา หนังสือสวดมนต์ บทเรียนเกี่ยวกับศาสนพิธี ก็ไม่ปรากฏว่ามี คำกล่าว สาธุ ขัดจังหวะทีพระกำลังกล่าว สรุปอานิสงส์ศิล จึงขอ นมัสการกราบเรียน พระคุณเจ้าด้วยเศียรเกล้า มา ณ โอกาสนี้ด้วย ขอกราบสาธุ
พิจารณาเอาครับ
ขอขอบพระคุณครับที่ให้ความรู้มาก
สุดยอดครับ...อาจารย์
สาธุ ๆ ๆ ครับ
ขอบคุณที่เอาความถูกต้องมาให้ หมู่ชนรู้ส่วนใครจะเอาไปปฏิบัติหรือไม่นั้น แล้วแต่ผู้มีปัญญา
ถูกต้องครับ ผมเพียงแต่นำเสนอข้อมูลเท่านั้น จะนำไปปฏิบัติหรือไม่..แล้วแต่ดุลยพินิจแต่ละท่านครับผม
ขอขอบคุณมากๆค่ะ
ดีมากเลยครับ ขอบคุณมากเลยครับ เท่าที่ทำมาพระท่านช่วงสุดท้ายท่านไม่ค่อยเว้นวรรคเลยสาธุไม่ทัน(สีเลนะนิพพุติงยันติตัสมาสีลังวิโสทเย)ครับ
ถ้าเป็นพระรุ่นเก่าหน่อย ท่านจะรู้จังหวะครับผม
สาธุครับ
สาธุอาจารย์
ดีมากครับ
เยี่ยมครับ
ในวงการปฏิบัติพุทธศาสนกิจของชุมชนต่างๆ มีความแตกต่างกันไป ใครว่าผิดๆ ใครว่าถูกๆ มีให้เห็นประจำ หลายคนผู้รู้มักไม่ให้ความรู้แก่คนที่ปฏิบัติผิด โดยคิดว่าให้เป็นแนวทางของชุมชนนั้นๆ เช่นการกล่าวคำบูชาพระรัตนตรัยมัคนายกหลายคนมักเอ่ยคำว่า สาธุ แล้วจึงกล่าว อิมินา สักกาเรนะ เป็นต้น มีเยอะแยะที่เห็นผิดๆกัน
ใช่ครับผม ผมก็เจอบ่อยไป ....สุดท้ายคำตอบที่ได้คือ ..ที่นี่เขาทำกันอย่างนี้....
@@รุ่งสาระดี ขอบคุณค่ะ
ดีมาก
ควรยกตย.ประโยคที่พูดเป็นตัวอักษรให้ขึ้นเห็นด้วย จะสมบูรณ์ดีมาก
ขอบคุณครับ จะพยายามใส่ซับบรรยายครับ ในโอกาสหน้า
สาธุ 3 ครั้ง และอามะภันเต ท้ายสุด
ตสฺมา สีลํ วิโสธเย = เพราะเหตุนั้น พึงชำระศีล ให้หมดจดฯ อาม ภันเต กับ สาธุ ภันเต มีความหมายเดียวกันครับอาจารย์ คือคำยอมรับ หรือนิบาตบอกความรับ
ชุมพรรับ สาธุ 3ครั้ง สุดท้ายรับ อามัพันเต
คำว่าอามะภันเตใช้กับศีล 8 หรือศีล 5 ค่ะ
ใช้ศีล 5 ครับ
สาธุ ตาม 3 รอบเว้น แต่ ติสระฯ ต้อง อามะภันเต
ครับผม
สาธุครั้งที่3 เราว่าแทรกได้ไหมครับเพราะพระสงฆไม่เว้นช่วงให้สาธุเลย เพราะเกือบทุกรูปว่า..นิพพุติงยันติตัสมา..สีลังวิ...ถ้าเปนพิธีราชการไม่ต้องว่าสาธุเลย ถูกต้องมั้ยครับ
๑. พูดตามตรงว่า ..พระท่านไม่ทราบทำเนียม ๒. ถ้าเป็นพระรุ่นเก่า ๆ หน่อย ท่านจะรู้ คือเว้นวรรคให้ครับ ๓. พูดแทรกเบา ๆ ก็พอได้ครับ ๔. สาธุ ๓ ครั้ง อามะ ภันเต ๑ ครับ ตามปกติ ครับ
คำกล่าวสาธุ กี่ครั้ง ก็ไม่ต้องกลัว จะไม่ได้รับรับอานิสงส์จะสาธยายให้ดู คืออานิสงส์ของศิล ๕ มี ๓ ประการ ตามที่พระกล่าว อย่าไปกล่าวคำว่า สาธุ ขัดจังหวะ ที่พระกำลังกล่าว คำสรุปศิล ไม่ต้องกลัวว่าจะไม่ได้ เลยรีบกล่าว สาธุ ขัดตอนพระกล่าวสรุป คือ วรรคแรก ที่ ๑ คือ "อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ" (แปลว่า บรรดาข้อที่ต้องเรียนรู้ ๕ ข้อ ที่ว่ามานี้) วรรค ที่ ๒ คือ "สีเลนะ สุคะติง ยันติ" (แปลว่า ศิลเป็นเหตุ ให้ไปสู่ที่ดี ๆ) วรรคที่ ๓ คือ "สีเลนะ โภคะสัมปะทา" (แปลว่า ศิลเป็นเหตุให้ถึงพร้อม ด้วยทรัพย์ สมบัติ) วรรคที่ ๔ คือ "สีเลนะ นิพพุติง ยันติ" (แปลว่า ศิลเป็นเหตุให้ถึง นิพพาน) วรรคที่ ๕ คือ "ตัสมา สีลัง วโสธะเย" (แปลว่า เพราะเหตุนี้ พวกท่านทั้งหลาย พึงรักษาศิลให้หมดจด) นี่คืออานิสงส์ ของการรักษาศิล ๕ มี ๓ ประการข้างต้น คือ ไปสู่ที่ดีงาม, ถึงพร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ, และให้ไปถึงนิพพาน, ท่านทั้งหลาย พึงรักษาศิลให้หมดจด, อย่า มัวแต่ กล่าวคำว่า "สาธุ" อย่างเดียว ถ้าขัดจังหวะ ที่พระสรุปอานิสงส์ เสียแล้ว จะทำให้เสียสมาธิ สติ และจะไม่ เกิด ปัญญา สรุปแล้วอาจไม่ได้อะไรเลยกลับบ้าน มีแต่จะขาดทุน ในการทำบุญในครั้งนี้ เพราะ คิดแต่จะสาธุ อย่างเดียว (คำว่าสาธุ แปลว่า ดีละ ดีแล้ว เห็นดี เห็นงาม และน้อมรับอานิสงส์ศิล ด้วยความเคารพ นอบน้อม) ตาม อานิสงส์ ที่แปลคำสรุปศิล ด้วยประการฉะนี้แล (นิพพาน ปัจจโย โหตุ) ขอกราบอนุโมทนาสาธุ
ได้ความรู้เพิ่ม ขออนุโมทนาสาธุครับ
ขอบคุณค่ะอาจารย์ที่อธิบายให้ความรู้เพิ่มเติม เดิมใช้คำวำ สาธุ.4.ครั้ง.ต่อไปนี้จะใช้คำว่าอามะภันเต วรรคสุดท้ายค่ะส่วน.วรรค1.2.3ก็ใช้คำว่าสาธุ
ขออนุโมทนา สาธุ ครับผม
ได้ไหม
ขอบคุณครับ....ขอถามเพิ่มเติมนิดหนึ่ง...ในการอาราธนาน้ำ ก่อนที่จะกรวดน้ำนั้น พิธีกรหลายคน แม่แต่พิธีกรระดับจังหวัด ในคำสุดท้ายมักจะกล่าวว่า...นิยาจามะ...ความจริงแล้วมันไม่ใช่..นิยาจามะ แต่มัน เป็น..ยาจามะใช่หรือไม่ข้อที่ 2 ในการอาราธนา..ศีล 5 ในส่วนของการเว้นวรรค...สังเกตมานานแล้วพิธีจะเว้นวรรคคำสุดท้ายผิดเช่นเดียวกัน...เป็น สีลา - นิยาจามะ....แทนที่จะเป็น...สีลานิ - ยาจามะ...ความจริงในภาษาบาลี ไม่มีคำว่า...นิยาจามะ...หรืออย่างไร...ครับผม
ข้อ ๑ ยาจามะ ครับ ข้อ ๒ ถูกต้องครับ ตามข้อสังเกต เพิ่มเติม . ถ้าไม่เว้นวรรค หยุดหายใจชั่วครู่ คำจะติดกันเป็น นิยาจามะ ครับ ..
ตัสมา..หรือตัสหมา..ออกเสียงอย่างไรถูกต้องครับ
๑. หลักการเขียน บาลีแบบไทย ตัสมา๒. หลักการอ่าน ตัต-สะ-หมา เทียบ สวากขาโต ..เวลาอ่าน ออกเสียง สะ-หวาก-ขาโต
อาจารย์ครับพระผู้ที่สอนในยูธูปก็รับสาธุสามครั้งไม่มีอามะพันเต แล้วจะทำอย่างครับทำไม่ไม่หาหรือกันแล้วทำให้ถูกต้องเหมือนกันทั่วประเทศครับ
เป็นแนวคิดที่ดีครับ ผมก็คิดอย่างนั้น แต่เพราะความเคยชินทำกันมานาน..จนเป็นปกติวิสัย...พอถึงเวลาเอาเข้าจริง ก็กลับเหมือนเดิม ผมยกตัวอย่างเช่น คำกรวดน้ำพื้นเมืองบ้านนา .ลงท้ายว่า สัพพะสัมปัตตีนัง สมิชฌันตุโว..ผิด ต้องแก้เป็น สัพพะสัมปัตตีโย สมิชฌันตุ โว.คำตอบที่แสนปวดใจคือ พระเองกับว่า.จะใช้แบบเดิม ..ดังนั้นเรื่องนี้ต้องค่อยๆแก้ครับผม
@@รุ่งสาระดี ผมก็ไม่เก่งกำลังจะหัดเป็นมัคทายก พิมพ์ถูกเปล่ไม่รู้ ขอขั้นตอนการถวามข้าวพระพุทธถวายทานที่ถูกต้องที่สุดได้ไหมครับอาจารย์ ผมไปบ้างทีาก็ขึ้นสักเค ก่อน บางที่ก็ไมมีครับอันไหนถูกต้องครับ ถ้าเป็นไปได้ บอกขั้นตลอดมาด้วยเพื่อเป็นทางครับอาจารย์
บูชาข้าวพระพุทธ
อยากให้อาจารย์สอนคำอาราธนาธรรมแบบต่างๆเช่นอารธนาธรรงานศพ และงานมงคลต่างควรกล่าวอย่างไรครับผมใช้พรมาจะโลกาอย่างเดียวครับ กำลังฝึกใหม่ครับ ขอบคุณครับ
ทราบครับ
อาจารย์ เวลาเราตักบาตรเสร็จ พระท่านจะให้พร แต่พระบางวัดก็ไม่ให้พร อย่างไหนเป็นวิธีการที่ถูกต้องตามหลักพระธรรมวินัยหรือสากลนิยมครับ
ไม่ให้ถูกต้องตามพระวินัยครับ
ขอคำแนะนำครับอาจารย์ก่อนจะถวายข้าสพระพุทธถวายทานต้องขึ้นสักเคกาเมเปล่าครับ ถ้าเอาตอนจบใช้ธรรมมัส หรือทานนะครับอาจารย์
ไม่ต้องครับ นะโม 3 จบ กล่าวคำถวาย/บูชาพระพุทธ ต่อด้วยคำถวายภัตตาหาร...ครับผม
@@รุ่งสาระดี ทางบ้านผมใช้ผิดไหน
@@เจือพจนารถ ถามว่าผิดไหม??? ตอบตามหลักว่า ...ผิด...แต่ถ้าจะใช้ ก็พอได้ครับ เป็นวัฒนธรรมพื้นที่ ...ถ้าจะใช้ให้ปฏิบัติดังนี้๑. ตั้งนะโม ๓ จบ ๒. สัคเค ๓. คำบูชา/ถวายข้าวพระพุทธ๔. คำถวายภัตตาหาร/เครื่องไทยธรรม ครับ ผม
ขอบคุณครับอาจารย์ พื้นบ้านผมขึ้น สักเคก่อน แล้วไปนะโม3จบครับ
ขอบคุณมากครับสำหรับความรู้เพิ่มเติมครับ
สรุปศีลผมกล่าว สาธุและอามะภันเตครับทั้ง2ย่างจะถูกต้องมั๊ยครับ
สาธุ ๓ ครั้ง อามะ ภันเต ๑ ครั้งครับ
อาจารย์ครับบางพื้นที่พระท่านสอนให้ไม่เหมือนกันที่ถูกต้องมันอย่างไรสับสนครับเอาที่ถูกต้องจริง ๆ
เอาจริง ๆ ตามที่ผมนำเสนอ นั้นแหละครับผม ... แต่ที่เรารับ สาธุ .ก็เพราะเราปฏิบัติกันสืบๆ มา อย่างยาวนานจนเคยชินแล้วครับ อีกประการหนึ่ง ... ต้องพูดกันตรงๆ ครับว่า พระคุณเจ้าเอง... ท่าน(บางรูป) ก็ไม่ได้มีพื้นฐานภาษาบาลีมาครับผม คำจำกัดความของคำว่า สาธุ คือ ..เป็นเชิงการแสดงความคิดเห็น ครับ เช่น ใช่ หรือไม่ใช่ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย อย่างนี้เป็นต้น
@@รุ่งสาระดี สาธุขอบคุณมากเลยค่ะใด้ความรุ้มากเลยค่ะ
ศีล5ข้อ1-5เราว่าตามพระจะเว้นวรรคแต่ละข้ออย่างไรที่ถูกต้อง
๑. ปาณาติปาตา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,อะทินนาทานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,กาเมสุ มิจฉาจารา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,มุสาวาทา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,สุรา,-เมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
@@รุ่งสาระดี ขอขอบคุณเรื่องศีล5
ดิฉันมองว่าไม่ต้องกล่าวสาธุขัดขึ้นมาน่าจะดีนะคะถ้าผิดก็ขออภัยด้วยค่ะไปอามะภันเตทีหลังสุดเลยค่ะ
ตอนที่พระสรุปอานิสงส์ศิล ตรงที่ว่า สีเลนะ สุคติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ทั้งมัคนายก และผู้รับศิล ไม่ต้องไปขัดจังหวะขณะที่พระยังสรุปอานิสงส์ศิลยังไม่จบ กล่าวว่า "สาธุ" เป็นเรื่องไม่ควรกล่าว อย่างยิ่ง รอให้พระกล่าวคำสรุป อานิสงส์ศิลจบ ตอนที่ว่า ตัสมา สีลัง วิโสธะเย จบก่อน ค่อยกล่าวคำว่า "สาธุ" ท้ายสุด ทุกวันนี้ ไม่ทราบว่า ผู้ใดนำมาเผยแพร่ ให้กล่าวคำ สาธุ ขัดจังหวะพระสรุปอานิสงส์ศิล ยังไม่จบ เป็นเรื่องที่เข้าใจผิดกัน ทำให้เสียสมาธิ ในการรับฟังอานิสงส์ของการรับศิล เป็นอย่างยิ่ง ถ้าไม่มี สมาธิแล้ว สติ ปัญญา ก็ไม่เกิด บุญกุศล ก็ไม่เกิด (กุศล แปลว่า ความฉลาด คำว่า สาธุ แปลว่า ดีละ ตามคำแปล ของภาษาบาลี ในการแปลพระธรรมบท หรือจะว่าดีแล้ว ในภาษาไทย ก็มีความหมายเดียวกัน) คือการนอบน้อม ยอมรับ อานิสงส์ ในการรับศิล ด้วยความเคารพ มีสมาธิ ทั้งพระ และผู้รับศิล) การไปกล่าว สาธุ ขัดจังหวะพระ ในบทสวดมนต์ เอกสารที่เล่าเรียนมา ก็ไม่ปรากฏว่ามี คำว่า ต้องสาธุ ขัดจังหวะการสรุปตอนพระกล่าว อานิสงส์ของการรับศืลของพระ แล้วจะหา สมาธิ สติ ปัญญา ในการน้อมรับอานิสงส์ คงจะน้อย ลงอย่างน่าเสียดาย เรียนศาสนพิธี มาก็ไม่ปรากฏ สอนวิชาพระพุทธศาสนา มาก็มาก ทั้ง อนุบาล ประถม มัธยม อุดมศึกษา อบรมเด็ก-ผู้ใหญ่มาก็มากมาจนทุกวันนี้ เข้าวัยปัจฉิมวัย จนปัจจุบันนี้ ขออธิบายเพื่อเป็นวิทยาทาน ขอกราบอนุโมทนาสาธุ
ที่จริงพุทธศาสนาไม่มีพิธีอะไรมาก ง่ายๆ เป็นธรรมชาติ เดียวนี่ทำให้ยุ่งยาก ยิ่งพิธีทางเหนือเยอะแยะไปหมด
บางครั้งกว่าจะเสร็จ เหนื่อยเลยครับ
ผมทำหน้าที่พิธีกรมาตั้งแต่ทำงานจนกระทั่งปัจจุบันเกษียณแล้วก็ยังทำหน้าที่อยู่ทั้งงานมงคลและอาวมงคลโดยวิธีฟังและดูจากผู้รู้ไม่มีแบบแผน เมื่อมาติดตามรายการจากช่องสารดีของอาจารย์จึงรู้ว่าตนเองผิดมาตลอด.ขอขอบคุณมากครับให้ความรู้เป็นวิทยาทาน
ด้วยความยินดีครับผม
อาจารย์ครับผมอยากทราบคำถวายจตุปัจจัยพร้อมคำแปลครับหลังจากพระคุณเจ้าสวดเจ็ดคัมภึเสร็จแล้ว
อิมานิ มะยัง ภันเต กัปปิยะภัณฑานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ กัปปิยะภัณฑานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ฑีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย เครื่องกัปปิยะภัณฑ์ พร้อมของบริวาร ทั้งหลายเหล่านี้ แต่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ เครื่องกัปปิยะภัณฑ์ พร้อมของบริวาร ทั้งหลายเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ (เครื่องกัปปิยะภัณฑ์ หลายถึง ปัจจัย 4 เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย อาหาร ยารักษาโรค)
@@รุ่งสาระดี ตกลงตอน กัปปิยะภัณฑานิ มีสะปะริวารานิ เปล่า
@@เจือพจนารถ ไม่มีครับ
@@รุ่งสาระดี ขอบคุณครับอาจารย์ได้ความรู้มากเลย
ถ้าผมสาธุตอนสรูปศิลแล้วถูกต้องไหมครับ
สีเลนะ..สุคะติง สาธุ โภคะสัมปะทา สาธุ นิพพุติง ยันติ สาธุ ตัสมา อามะภันเต
สุดๆแจ้งกะจ่างและหมั่นใจครับหนองคายครับ
ขอบคุณครับอาจารย์ที่ให้ความรู้ครับผม
ได้ฟังคำอธิบายที่ถูกเท่ากับหันออกจากที่มืดเลยครับน้อมรับฟังครับสาธุ🙏❤️
ขอบคุณครับผม
ก่อนอาราธนาศีลบางทีมีผู้ใหญ่ท่านใช้สาธุมะยังภันเตวิสุงวิสุงดังน
ได้ครับ ...บางที่ก็ว่า สาธุ อุกาสะ...ข้าพเจ้าขอโอกาส...
ตอนสรุปศีลพระท่านกล่าวแค่สามวัคครับวัคสามวัคสี่พระท่านจะรวมกันไปเลยครับอาจารย์
ตอนสรุปศีลพระท่านกล่าวแค่สามวัคครับอาจารย์วัคสามวัคสี่พระท่านจะกล่าวรวมกันไปเลยครับ
ขอบคุณคะอาจารย์ความรู้ดีๆดิฉันเป็นพิกรพระคะ
สาธุแปลว่าดีแล้วกล่าว2ครั้งพองามถ้า3ครั้งไม่เหมาะรองกล่าวดูซิ
อ้อท่านรุ่งครับผมขอเรียนถามการกล่าวสัมโมทนียคาถามีการอาราธนาเทศหรือไม่
ไม่มีครับ ขอนิมนต์พระ...กล่าวสัมโมทนียกถา และให้พร ตามลำดับ ขอนิมนต์ครับผม
ส่วนตัวผมเมื่อพระสงฆ์สรุปศีลแล้วผมจะกล่าวว่าสีลังเมปริสุททังนะครับเพราะเรามีศีลที่บริสุทธิ์นะครับจะผิดหรือถูกผมขอรับผิดแต่เพียงผู้เดียวครับ
ผมก็ไม่เคยได้ยินมาก่อนครับ ชุดคำนี้เป็นเพียงคำอุทาน...ศีลของเรา บริสุทธิ์แล้ว หนอ ประมาณนี้...แต่ไม่ต้องพูดถึงหลักภาษาบาลีนะครับ ผิดอยู่แล้ว..แต่ข้อสังเกตคือ เป็นเพียงความเห็นส่วนตัวนะครับ ไม่ใช่หลักนิยม ความธรรมเนียม
คำว่าสาธุแปลว่าอะไรใครคือผู้สมควรพูดคำนี้การยกย่องตัวเองถูกหรือผิด
๑. แปลตามศัพท์ ดีแล้ว ๒. ใช้ในกรณีแสดงความเห็น เช่น ท่านครับ วันนี้ ผมไปทำบุญถวายเพล มาครับผม .. พระท่านก็จะกล่าวว่า ขออนุโมทนาบุญด้วยนะ แปลว่า ขอชื่นชม, ขอยินดีบุญด้วยนะ หรืออาจจะพูดว่า สาธุ ...แปลว่า ดีแล้ว(โยม) ประมาณนี้ครับ คราวนี้ ชาวพุทธเรา มีกจะติดคำว่า สาธุ ..เวลาเห็นคนทำความดี ก็จะกล่าวว่า สาธุ .. ดีแล้ว เห็นด้วย สมควร อย่างนี้เป็นต้น แล้วแต่เหตุการณ์ครับผม
การถวายของแก่พระไม่ถึงสี่รูปใช้คำว่าขอถวายแด่พระคุณเจ้าผิดไหมครับ
๑. ไม่ผิดครับ ๒ จำนวนสงฆ์ ไม่ใช่ประเด็น ครับ ประเด็นคือ ถวายแก่สงฆ์๓. พระเหล่าน้่น เป็นตัวแทนของพระสงฆ์ทั้งวัด ..เพื่อมารับของถวาย ครับ
การจุดเครื่องทองน้อย จุดต่อเนื่องจากประธาน จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ถูกตามนี้ไหมครับ
๑. ถ้าเป็นธรรมเนียมกองทัพ ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระ, เครื่องทองน้อย
๒. บางหน่วยงาน,พื้นที่ ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระ, กราบพระ,รับศีล, จุดเครื่องทองน้อย
๓. ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมหน่วยงาน,พื้นที่ครับ แต่กองทัพ ปฏิบัติตามข้อ ๑
ขอบพระคุณท่านอาจารย์มากๆนะคะ น้อยคิดว่าเดี๋ยวนี้น้องๆรุ่นหลัง โชคดี มีครูบาอาจารย์เมตตา ให้ความส่งตรงเลย พ่อน้อยบอกว่าเราต้องขวนขวายหาบัณฑิต แล้วบัณฑิตจะพาไปหาผล จริงแท้แน่นอน ขอบพระคุณท่านอาจารย์ มาก ๆ และมากที่สุดที่ส่งความประเสริฐและดีงาม ขอบพระคุณมากค่ะ
ขอบคุณครับ
มีคนติเพื่อก่อ เหมือนมีบ่อทองคำ มีคนคอยแนะนำ เหมือนได้ฟังธรรมร้อยกัณฑ์ หากมีความใฝ่ฝันไปข้างหน้า เหมือนมีวังชาแข็งแรง หากมีใบม่วงใบแดงอยู่ในกระป๋า เหมือนมีกับข้าวเต็มถุง หากมุ่งในการศึกษา เหมือนได้รับปริญญาหลายใบ ขอกราบอนุโมทนาสาธุ
ขออนุญาตเก็บไว้เป็นข้อคิด สาธุ ครับ
สาธุค่ะสาธุ เรื่องราวความรู้ในทางพระพุทธศาสนา
ขออนุโมทนาบุญกับท่านอาจารย์ ที่นำความรู้ในสาระแห่งธรรมที่ถูกที่ตรงที่ควรที่ชอบที่ดีแล้ว มาให้ผู้ใฝ่ในธรรมได้รับรู้รับทราบไว้ ณ โอกาสนี้ ด้วยครับผม
ครับผม ขอคุณครับ
ขอบพระคุณครับ ได้รับความรู้อย่างยิ่ง
ขอบคุุณอาจารย์มากครับ
ผมเพิ่งรู้ที่อาจารย์
อธิบายนี่เหละ ดีมากครีบ
เพราะไม่รู้คำแปรครับ
ขอบคุณอาจารย์มากครับ
ขอบคุณมากๆเข้าใจได้ดีสาธุสาธุ❤❤
ขอบคุณมากค่ะทีได้รุ้เรื่องราวศึกษาศิลค่ะ
หลวงพ่อ หลวงพี่ ก็อย่าตามใจคนที่อยาก จะสาธุ จะเป็นการ สรุปอานิสงส์ของศิล ไม่ต่อเนื่อง ในตำหรับตำรา หนังสือสวดมนต์ บทเรียนเกี่ยวกับศาสนพิธี ก็ไม่ปรากฏว่ามี คำกล่าว สาธุ ขัดจังหวะทีพระกำลังกล่าว สรุปอานิสงส์ศิล จึงขอ นมัสการกราบเรียน พระคุณเจ้าด้วยเศียรเกล้า มา ณ โอกาสนี้ด้วย ขอกราบสาธุ
พิจารณาเอาครับ
ขอขอบพระคุณครับที่ให้ความรู้มาก
สุดยอดครับ...อาจารย์
สาธุ ๆ ๆ ครับ
ขอบคุณที่เอาความถูกต้องมาให้ หมู่ชนรู้ส่วนใครจะเอาไปปฏิบัติหรือไม่นั้น แล้วแต่ผู้มีปัญญา
ถูกต้องครับ ผมเพียงแต่นำเสนอข้อมูลเท่านั้น จะนำไปปฏิบัติหรือไม่..แล้วแต่ดุลยพินิจแต่ละท่านครับผม
ขอขอบคุณมากๆค่ะ
ดีมากเลยครับ ขอบคุณมากเลยครับ เท่าที่ทำมาพระท่านช่วงสุดท้ายท่านไม่ค่อยเว้นวรรคเลยสาธุไม่ทัน(สีเลนะนิพพุติงยันติตัสมาสีลังวิโสทเย)ครับ
ถ้าเป็นพระรุ่นเก่าหน่อย ท่านจะรู้จังหวะครับผม
สาธุครับ
สาธุอาจารย์
ดีมากครับ
ขอบคุณครับ
เยี่ยมครับ
ในวงการปฏิบัติพุทธศาสนกิจของชุมชนต่างๆ มีความแตกต่างกันไป ใครว่าผิดๆ ใครว่าถูกๆ มีให้เห็นประจำ หลายคนผู้รู้มักไม่ให้ความรู้แก่คนที่ปฏิบัติผิด โดยคิดว่าให้เป็นแนวทางของชุมชนนั้นๆ เช่นการกล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย
มัคนายกหลายคนมักเอ่ยคำว่า สาธุ แล้วจึงกล่าว อิมินา สักกาเรนะ เป็นต้น มีเยอะแยะที่เห็นผิดๆกัน
ใช่ครับผม ผมก็เจอบ่อยไป ....สุดท้ายคำตอบที่ได้คือ ..ที่นี่เขาทำกันอย่างนี้....
@@รุ่งสาระดี ขอบคุณค่ะ
ดีมาก
ควรยกตย.ประโยคที่พูดเป็นตัวอักษรให้ขึ้นเห็นด้วย จะสมบูรณ์ดีมาก
ขอบคุณครับ จะพยายามใส่ซับบรรยายครับ ในโอกาสหน้า
สาธุ 3 ครั้ง และอามะภันเต ท้ายสุด
ตสฺมา สีลํ วิโสธเย = เพราะเหตุนั้น พึงชำระศีล ให้หมดจดฯ อาม ภันเต กับ สาธุ ภันเต มีความหมายเดียวกันครับอาจารย์ คือคำยอมรับ หรือนิบาตบอกความรับ
ชุมพรรับ สาธุ 3ครั้ง สุดท้ายรับ อามัพันเต
คำว่าอามะภันเตใช้กับศีล 8 หรือศีล 5 ค่ะ
ใช้ศีล 5 ครับ
สาธุ ตาม 3 รอบเว้น แต่ ติสระฯ ต้อง อามะภันเต
ครับผม
สาธุครั้งที่3 เราว่าแทรกได้ไหมครับเพราะพระสงฆไม่เว้นช่วงให้สาธุเลย เพราะเกือบทุกรูปว่า..นิพพุติงยันติตัสมา..สีลังวิ...
ถ้าเปนพิธีราชการไม่ต้องว่าสาธุเลย ถูกต้องมั้ยครับ
๑. พูดตามตรงว่า ..พระท่านไม่ทราบทำเนียม
๒. ถ้าเป็นพระรุ่นเก่า ๆ หน่อย ท่านจะรู้ คือเว้นวรรคให้ครับ
๓. พูดแทรกเบา ๆ ก็พอได้ครับ
๔. สาธุ ๓ ครั้ง อามะ ภันเต ๑ ครับ ตามปกติ ครับ
คำกล่าวสาธุ กี่ครั้ง ก็ไม่ต้องกลัว จะไม่ได้รับรับอานิสงส์จะสาธยายให้ดู คืออานิสงส์ของศิล ๕ มี ๓ ประการ ตามที่พระกล่าว อย่าไปกล่าวคำว่า สาธุ ขัดจังหวะ ที่พระกำลังกล่าว คำสรุปศิล ไม่ต้องกลัวว่าจะไม่ได้ เลยรีบกล่าว สาธุ ขัดตอนพระกล่าวสรุป คือ วรรคแรก ที่ ๑ คือ "อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ" (แปลว่า บรรดาข้อที่ต้องเรียนรู้ ๕ ข้อ ที่ว่ามานี้) วรรค ที่ ๒ คือ "สีเลนะ สุคะติง ยันติ" (แปลว่า ศิลเป็นเหตุ ให้ไปสู่ที่ดี ๆ) วรรคที่ ๓ คือ "สีเลนะ โภคะสัมปะทา" (แปลว่า ศิลเป็นเหตุให้ถึงพร้อม ด้วยทรัพย์ สมบัติ) วรรคที่ ๔ คือ "สีเลนะ นิพพุติง ยันติ" (แปลว่า ศิลเป็นเหตุให้ถึง นิพพาน) วรรคที่ ๕ คือ "ตัสมา สีลัง วโสธะเย" (แปลว่า เพราะเหตุนี้ พวกท่านทั้งหลาย พึงรักษาศิลให้หมดจด) นี่คืออานิสงส์ ของการรักษาศิล ๕ มี ๓ ประการข้างต้น คือ ไปสู่ที่ดีงาม, ถึงพร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ, และให้ไปถึงนิพพาน, ท่านทั้งหลาย พึงรักษาศิลให้หมดจด, อย่า มัวแต่ กล่าวคำว่า "สาธุ" อย่างเดียว ถ้าขัดจังหวะ ที่พระสรุปอานิสงส์ เสียแล้ว จะทำให้เสียสมาธิ สติ และจะไม่ เกิด ปัญญา สรุปแล้วอาจไม่ได้อะไรเลยกลับบ้าน มีแต่จะขาดทุน ในการทำบุญในครั้งนี้ เพราะ คิดแต่จะสาธุ อย่างเดียว (คำว่าสาธุ แปลว่า ดีละ ดีแล้ว เห็นดี เห็นงาม และน้อมรับอานิสงส์ศิล ด้วยความเคารพ นอบน้อม) ตาม อานิสงส์ ที่แปลคำสรุปศิล ด้วยประการฉะนี้แล (นิพพาน ปัจจโย โหตุ) ขอกราบอนุโมทนาสาธุ
ได้ความรู้เพิ่ม ขออนุโมทนาสาธุครับ
ขอบคุณค่ะอาจารย์ที่อธิบายให้ความรู้เพิ่มเติม เดิมใช้คำวำ สาธุ.4.ครั้ง.ต่อไปนี้จะใช้คำว่าอามะภันเต วรรคสุดท้ายค่ะส่วน.วรรค1.2.3ก็ใช้คำว่าสาธุ
ขออนุโมทนา สาธุ ครับผม
ได้ไหม
ขอบคุณครับ....ขอถามเพิ่มเติมนิดหนึ่ง...ในการอาราธนาน้ำ ก่อนที่จะกรวดน้ำนั้น พิธีกรหลายคน แม่แต่พิธีกรระดับจังหวัด ในคำสุดท้ายมักจะกล่าวว่า...นิยาจามะ...ความจริงแล้วมันไม่ใช่..นิยาจามะ แต่มัน เป็น..ยาจามะใช่หรือไม่
ข้อที่ 2 ในการอาราธนา..ศีล 5 ในส่วนของการเว้นวรรค...สังเกตมานานแล้วพิธีจะเว้นวรรคคำสุดท้ายผิดเช่นเดียวกัน...เป็น สีลา - นิยาจามะ....แทนที่จะเป็น...สีลานิ - ยาจามะ...ความจริงในภาษาบาลี ไม่มีคำว่า...นิยาจามะ...หรืออย่างไร...ครับผม
ข้อ ๑ ยาจามะ ครับ
ข้อ ๒ ถูกต้องครับ ตามข้อสังเกต
เพิ่มเติม . ถ้าไม่เว้นวรรค หยุดหายใจชั่วครู่ คำจะติดกันเป็น นิยาจามะ ครับ ..
ตัสมา..หรือตัสหมา..ออกเสียงอย่างไรถูกต้องครับ
๑. หลักการเขียน บาลีแบบไทย ตัสมา
๒. หลักการอ่าน ตัต-สะ-หมา เทียบ สวากขาโต ..เวลาอ่าน ออกเสียง สะ-หวาก-ขาโต
อาจารย์ครับพระผู้ที่สอนในยูธูปก็รับสาธุสามครั้งไม่มีอามะพันเต แล้วจะทำอย่างครับทำไม่ไม่หาหรือกันแล้วทำให้ถูกต้องเหมือนกันทั่วประเทศครับ
เป็นแนวคิดที่ดีครับ ผมก็คิดอย่างนั้น แต่เพราะความเคยชินทำกันมานาน..จนเป็นปกติวิสัย...พอถึงเวลาเอาเข้าจริง ก็กลับเหมือนเดิม ผมยกตัวอย่างเช่น คำกรวดน้ำพื้นเมืองบ้านนา .ลงท้ายว่า สัพพะสัมปัตตีนัง สมิชฌันตุโว..ผิด ต้องแก้เป็น สัพพะสัมปัตตีโย สมิชฌันตุ โว.คำตอบที่แสนปวดใจคือ พระเองกับว่า.จะใช้แบบเดิม ..ดังนั้นเรื่องนี้ต้องค่อยๆแก้ครับผม
@@รุ่งสาระดี ผมก็ไม่เก่งกำลังจะหัดเป็นมัคทายก พิมพ์ถูกเปล่ไม่รู้ ขอขั้นตอนการถวามข้าวพระพุทธถวายทานที่ถูกต้องที่สุดได้ไหมครับอาจารย์ ผมไปบ้างทีาก็ขึ้นสักเค ก่อน บางที่ก็ไมมีครับอันไหนถูกต้องครับ ถ้าเป็นไปได้ บอกขั้นตลอดมาด้วยเพื่อเป็นทางครับอาจารย์
บูชาข้าวพระพุทธ
อยากให้อาจารย์สอนคำอาราธนาธรรมแบบต่างๆเช่นอารธนาธรรงานศพ และงานมงคลต่างควรกล่าวอย่างไรครับผมใช้พรมาจะโลกาอย่างเดียวครับ กำลังฝึกใหม่ครับ ขอบคุณครับ
ทราบครับ
อาจารย์ เวลาเราตักบาตรเสร็จ พระท่านจะให้พร แต่พระบางวัดก็ไม่ให้พร อย่างไหนเป็นวิธีการที่ถูกต้องตามหลักพระธรรมวินัยหรือสากลนิยมครับ
ไม่ให้ถูกต้องตามพระวินัยครับ
ขอคำแนะนำครับอาจารย์ก่อนจะถวายข้าสพระพุทธถวายทานต้องขึ้นสักเคกาเมเปล่าครับ ถ้าเอาตอนจบใช้ธรรมมัส หรือทานนะครับอาจารย์
ไม่ต้องครับ นะโม 3 จบ กล่าวคำถวาย/บูชาพระพุทธ ต่อด้วยคำถวายภัตตาหาร...ครับผม
@@รุ่งสาระดี ทางบ้านผมใช้ผิดไหน
@@เจือพจนารถ ถามว่าผิดไหม??? ตอบตามหลักว่า ...ผิด...แต่ถ้าจะใช้ ก็พอได้ครับ เป็นวัฒนธรรมพื้นที่ ...ถ้าจะใช้ให้ปฏิบัติดังนี้
๑. ตั้งนะโม ๓ จบ
๒. สัคเค
๓. คำบูชา/ถวายข้าวพระพุทธ
๔. คำถวายภัตตาหาร/เครื่องไทยธรรม ครับ ผม
ขอบคุณครับอาจารย์ พื้นบ้านผมขึ้น สักเคก่อน แล้วไปนะโม3จบครับ
ขอบคุณมากครับสำหรับความรู้เพิ่มเติมครับ
สรุปศีลผมกล่าว สาธุและอามะภันเตครับทั้ง2ย่างจะถูกต้องมั๊ยครับ
สาธุ ๓ ครั้ง อามะ ภันเต ๑ ครั้งครับ
อาจารย์ครับบางพื้นที่พระท่านสอนให้ไม่เหมือนกันที่ถูกต้องมันอย่างไรสับสนครับเอาที่ถูกต้องจริง ๆ
เอาจริง ๆ ตามที่ผมนำเสนอ นั้นแหละครับผม ... แต่ที่เรารับ สาธุ .ก็เพราะเราปฏิบัติกันสืบๆ มา อย่างยาวนานจนเคยชินแล้วครับ อีกประการหนึ่ง ... ต้องพูดกันตรงๆ ครับว่า พระคุณเจ้าเอง... ท่าน(บางรูป) ก็ไม่ได้มีพื้นฐานภาษาบาลีมาครับผม คำจำกัดความของคำว่า สาธุ คือ ..เป็นเชิงการแสดงความคิดเห็น ครับ เช่น ใช่ หรือไม่ใช่ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย อย่างนี้เป็นต้น
@@รุ่งสาระดี สาธุขอบคุณมากเลยค่ะใด้ความรุ้มากเลยค่ะ
ศีล5ข้อ1-5เราว่าตามพระจะเว้นวรรคแต่ละข้ออย่างไรที่ถูกต้อง
๑. ปาณาติปาตา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
อะทินนาทานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
กาเมสุ มิจฉาจารา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
มุสาวาทา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
สุรา,-เมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
@@รุ่งสาระดี ขอขอบคุณเรื่องศีล5
ดิฉันมองว่าไม่ต้องกล่าวสาธุขัดขึ้นมาน่าจะดีนะคะ
ถ้าผิดก็ขออภัยด้วยค่ะ
ไปอามะภันเตทีหลังสุดเลยค่ะ
ตอนที่พระสรุปอานิสงส์ศิล ตรงที่ว่า สีเลนะ สุคติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ทั้งมัคนายก และผู้รับศิล ไม่ต้องไปขัดจังหวะขณะที่พระยังสรุปอานิสงส์ศิลยังไม่จบ กล่าวว่า "สาธุ" เป็นเรื่องไม่ควรกล่าว อย่างยิ่ง รอให้พระกล่าวคำสรุป อานิสงส์ศิลจบ ตอนที่ว่า ตัสมา สีลัง วิโสธะเย จบก่อน ค่อยกล่าวคำว่า "สาธุ" ท้ายสุด ทุกวันนี้ ไม่ทราบว่า ผู้ใดนำมาเผยแพร่ ให้กล่าวคำ สาธุ ขัดจังหวะพระสรุปอานิสงส์ศิล ยังไม่จบ เป็นเรื่องที่เข้าใจผิดกัน ทำให้เสียสมาธิ ในการรับฟังอานิสงส์ของการรับศิล เป็นอย่างยิ่ง ถ้าไม่มี สมาธิแล้ว สติ ปัญญา ก็ไม่เกิด บุญกุศล ก็ไม่เกิด (กุศล แปลว่า ความฉลาด คำว่า สาธุ แปลว่า ดีละ ตามคำแปล ของภาษาบาลี ในการแปลพระธรรมบท หรือจะว่าดีแล้ว ในภาษาไทย ก็มีความหมายเดียวกัน) คือการนอบน้อม ยอมรับ อานิสงส์ ในการรับศิล ด้วยความเคารพ มีสมาธิ ทั้งพระ และผู้รับศิล) การไปกล่าว สาธุ ขัดจังหวะพระ ในบทสวดมนต์ เอกสารที่เล่าเรียนมา ก็ไม่ปรากฏว่ามี คำว่า ต้องสาธุ ขัดจังหวะการสรุปตอนพระกล่าว อานิสงส์ของการรับศืลของพระ แล้วจะหา สมาธิ สติ ปัญญา ในการน้อมรับอานิสงส์ คงจะน้อย ลงอย่างน่าเสียดาย เรียนศาสนพิธี มาก็ไม่ปรากฏ สอนวิชาพระพุทธศาสนา มาก็มาก ทั้ง อนุบาล ประถม มัธยม อุดมศึกษา อบรมเด็ก-ผู้ใหญ่มาก็มากมาจนทุกวันนี้ เข้าวัยปัจฉิมวัย จนปัจจุบันนี้ ขออธิบายเพื่อเป็นวิทยาทาน ขอกราบอนุโมทนาสาธุ
ที่จริงพุทธศาสนาไม่มีพิธีอะไรมาก ง่ายๆ เป็นธรรมชาติ เดียวนี่ทำให้ยุ่งยาก ยิ่งพิธีทางเหนือเยอะแยะไปหมด
บางครั้งกว่าจะเสร็จ เหนื่อยเลยครับ
ผมทำหน้าที่พิธีกรมาตั้งแต่ทำงานจนกระทั่งปัจจุบันเกษียณแล้วก็ยังทำหน้าที่อยู่ทั้งงานมงคลและอาวมงคลโดยวิธีฟังและดูจากผู้รู้ไม่มีแบบแผน เมื่อมาติดตามรายการจากช่องสารดีของอาจารย์จึงรู้ว่าตนเองผิดมาตลอด.ขอขอบคุณมากครับให้ความรู้เป็นวิทยาทาน
ด้วยความยินดีครับผม
อาจารย์ครับผมอยากทราบคำถวายจตุปัจจัยพร้อมคำแปลครับหลังจากพระคุณเจ้าสวดเจ็ดคัมภึเสร็จแล้ว
อิมานิ มะยัง ภันเต กัปปิยะภัณฑานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ กัปปิยะภัณฑานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ฑีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย เครื่องกัปปิยะภัณฑ์ พร้อมของบริวาร ทั้งหลายเหล่านี้ แต่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ เครื่องกัปปิยะภัณฑ์ พร้อมของบริวาร ทั้งหลายเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ (เครื่องกัปปิยะภัณฑ์ หลายถึง ปัจจัย 4 เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย อาหาร ยารักษาโรค)
@@รุ่งสาระดี ตกลงตอน กัปปิยะภัณฑานิ มีสะปะริวารานิ เปล่า
@@เจือพจนารถ ไม่มีครับ
@@รุ่งสาระดี ขอบคุณครับอาจารย์ได้ความรู้มากเลย
ถ้าผมสาธุตอนสรูปศิลแล้วถูกต้องไหมครับ
สีเลนะ..สุคะติง สาธุ โภคะสัมปะทา สาธุ นิพพุติง ยันติ สาธุ ตัสมา อามะภันเต
สุดๆแจ้งกะจ่างและหมั่นใจครับหนองคายครับ
ขอบคุณครับอาจารย์ที่ให้ความรู้ครับผม
ครับผม
ได้ฟังคำอธิบายที่ถูกเท่ากับหันออกจากที่มืดเลยครับน้อมรับฟังครับสาธุ🙏❤️
ขอบคุณครับผม
ก่อนอาราธนาศีลบางทีมีผู้ใหญ่ท่านใช้สาธุมะยังภันเตวิสุงวิสุงดังน
ได้ครับ ...บางที่ก็ว่า สาธุ อุกาสะ...ข้าพเจ้าขอโอกาส...
ตอนสรุปศีลพระท่านกล่าวแค่สามวัคครับวัคสามวัคสี่พระท่านจะรวมกันไปเลยครับอาจารย์
ครับผม
ตอนสรุปศีลพระท่านกล่าวแค่สามวัคครับอาจารย์วัคสามวัคสี่พระท่านจะกล่าวรวมกันไปเลยครับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณคะอาจารย์ความรู้ดีๆดิฉันเป็นพิกรพระคะ
ด้วยความยินดีครับผม
สาธุแปลว่าดีแล้วกล่าว2ครั้งพองามถ้า3ครั้งไม่เหมาะรองกล่าวดูซิ
อ้อท่านรุ่งครับผมขอเรียนถามการกล่าวสัมโมทนียคาถามีการอาราธนาเทศหรือไม่
ไม่มีครับ ขอนิมนต์พระ...กล่าวสัมโมทนียกถา และให้พร ตามลำดับ ขอนิมนต์ครับผม
ส่วนตัวผมเมื่อพระสงฆ์สรุปศีลแล้วผมจะกล่าวว่าสีลังเมปริสุททังนะครับเพราะเรามีศีลที่บริสุทธิ์นะครับจะผิดหรือถูกผมขอรับผิดแต่เพียงผู้เดียวครับ
ผมก็ไม่เคยได้ยินมาก่อนครับ ชุดคำนี้เป็นเพียงคำอุทาน...ศีลของเรา บริสุทธิ์แล้ว หนอ ประมาณนี้...แต่ไม่ต้องพูดถึงหลักภาษาบาลีนะครับ ผิดอยู่แล้ว..แต่ข้อสังเกตคือ เป็นเพียงความเห็นส่วนตัวนะครับ ไม่ใช่หลักนิยม ความธรรมเนียม
คำว่าสาธุแปลว่าอะไรใครคือผู้สมควรพูดคำนี้การยกย่องตัวเองถูกหรือผิด
๑. แปลตามศัพท์ ดีแล้ว
๒. ใช้ในกรณีแสดงความเห็น เช่น ท่านครับ วันนี้ ผมไปทำบุญถวายเพล มาครับผม .. พระท่านก็จะกล่าวว่า ขออนุโมทนาบุญด้วยนะ แปลว่า ขอชื่นชม, ขอยินดีบุญด้วยนะ หรืออาจจะพูดว่า สาธุ ...แปลว่า ดีแล้ว(โยม) ประมาณนี้ครับ คราวนี้ ชาวพุทธเรา มีกจะติดคำว่า สาธุ ..เวลาเห็นคนทำความดี ก็จะกล่าวว่า สาธุ .. ดีแล้ว เห็นด้วย สมควร อย่างนี้เป็นต้น แล้วแต่เหตุการณ์ครับผม
การถวายของแก่พระไม่ถึงสี่รูปใช้คำว่าขอถวายแด่พระคุณเจ้าผิดไหมครับ
๑. ไม่ผิดครับ
๒ จำนวนสงฆ์ ไม่ใช่ประเด็น ครับ ประเด็นคือ ถวายแก่สงฆ์
๓. พระเหล่าน้่น เป็นตัวแทนของพระสงฆ์ทั้งวัด ..เพื่อมารับของถวาย ครับ