วัดใหญ่ชัยมงคล : สองคน สองประวัติศาสตร์ EP.14

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 27 гру 2024

КОМЕНТАРІ • 37

  • @jupitormillion6955
    @jupitormillion6955 27 днів тому

    ความรู้ใหม่ ดีมากๆค่ะ

  • @soraponchin1613
    @soraponchin1613 4 місяці тому

    ชัดดเจนครับอจ.

  • @ครั้งนึงๆยังจําได้ไหม

    ดูแล้วดีมีความรุ้ ทำต่อไปเรื่อยนะครับ 🙏🙏

  • @khun0524
    @khun0524 3 роки тому +8

    ภาพรวมดีครับ ความรู้พิธีกร การดำเนินรายการ ติดอย่างเดียว อยากให้ปรับนิดครับ การถ่าย VDO ดูแล้วปวดหัว จังหวะพิธีกรพูด ไม่ต้องส่ายกล้องครับ มันปวดหัว ถ้าจะเล่าเรื่องให้แยกจากตอนพิธีกรพูดไปเลย แล้วก็เรื่องของสี VDO ควรปรับ Contrast ให้ดี จะดีมาก ถ่ายในที่แสงมาก แสงน้อย จะดีมากครับ ภาพรวมชอบครับ

  • @ibfgkgfhhvdjbfh1185
    @ibfgkgfhhvdjbfh1185 2 роки тому +5

    ขอบคุณ​ วิทยากรทั้ง​ ๒​ ท่าน​ ครับ

  • @stonebrain1975
    @stonebrain1975 2 роки тому +4

    อาจารย์ไปสุโขทัยด้วยนะครับ ตามดูตลอดครับ

  • @rjb6590
    @rjb6590 2 роки тому +7

    ผมมีความสุขทุกครั้งที่ได้ไปเที่ยววัดอยุธยารู้สึกเหมือนเป็นที่ที่คุ้นเคย และทึ่งในความสามารถคนยุคนั้นที่สร้างวัดได้ใหญ่โตสวยงามมาก

  • @somponga.5589
    @somponga.5589 2 роки тому +4

    ได้ความรู้ดีครับ ชื่นชม👍

  • @phisith-df5xx
    @phisith-df5xx 8 місяців тому

    ขอบคุณครับ ที่ให้ความรู้ ❤❤❤

  • @wit8493
    @wit8493 2 роки тому +2

    ขอบคุณความรู้มุมมองใหม่ๆ ติดตามทุกEP ครับ

  • @นายภูเบศมุ่งถิ่นงาม

    ก่อนสมัยพระนารายณ์ก็มีต่างชาติเข้ามาก่อนแล้ว ในเจดีย์บรรจุพระพิมพ์ขุนแผนเคลือบ(พระพุทธชินราช)อยู่เป็นจำนวนมาก

  • @chatcahiown-on3227
    @chatcahiown-on3227 Місяць тому

    มีความเป็นไปได้ หรือมีหลักฐานอะไรไหมครับ เรื่องการสร้างเจดีย์ ครอบเจดีย์เดิม ซึ่งถ้าเป็นเทคโนโลยีใหม่ๆ จากเปอร์เชีย สมเด็พระนารายณ์ท่านอาจมีพระราชดำริให้สร้างครอบ หรือ บูรณะ อะไรแบบนี้ เหมือนอย่างที่มีการสร้างเจดีย์ครอบตามยุคสมัย เหมือนที่พระปฐมเจดีย์ เพราะหากกรมพระยาดำรงฯ ท่านจะอนุมานจากความเชื่อเดิมของชุมชน ก็น่าจะมีเค้าลางความเป็นจริงที่เล่าสืบต่อกันมาบ้าง
    ชื่นชมมาก ๆ ครับ และภูมิใจไปด้วยมากๆ ในฐานะที่เคยได้เรียนร่วมรุ่น และได้มีโอกาสเจอกับ อ.นิรุต ที่วาสุกรี ด้วยครับ

  • @vimuta
    @vimuta 8 місяців тому

    เยี่ยมครับ

  • @piyametkrairiksh5132
    @piyametkrairiksh5132 2 роки тому +1

    เยี่ยม

  • @เดชาธรเดชบุญญารัตน์

    ติดตามทุก EPครัย

  • @ss.3281
    @ss.3281 2 роки тому

    ดีมากๆเลยครับ สมมติฐานใหม่ๆโดนใจที่สุดครับ
    หลายสิ่งหลายอย่างหน้างานกับพงศาวดารมันขัดแย่งกันจนเกินจะรับจริงๆครับ

  • @ฐิติภัทรจันทร์เพ็ญ

    วัดใหญ่ตอนนี้ แตกต่างจากเมื่อ 40-50 ปีที่แล้วมากมาย ตอนเด็กๆ ที่ได้ไป ไม่กล้าเดินเข้าไปตรงเจดีย์ใหญ่เลย น่ากลัวมาก พระพุทธรูปโดยรอบ สภาพแตกต่างจากตอนนี้แบบยิ่งกว่าพลิกฝ่ามือ และไม่มีทางที่ ใครจะเดินขึ้นไปด้านบนได้ง่ายๆ แบบตอนนี้
    ด้านนอกของกำแพง ที่ตอนนี้กลายเป็นศาลพระนเรศวรยิ่งไม่ต้องพูดถึง มีแต่ป่ารก เจดีย์เล็กผุพังเต็มไปหมด ไม่มีใครกล่าเดินลุยป่าออกไป
    น้าผมเคยไปบวชเณรที่วัดนั้น เคยแอบออกนอกรั้ว จะเดินไปเล่นซนแถวเจดีย์เล็กๆ ในป่ารก เดินเข้าไปไม่ถึงตัวเจดีย์ เพราะเจอลมหมุนวนรุนแรงมากๆ พัดกั้นไว้ไม่ให้เดินเข้าไป จนลืมตาไม่ขึ้น จนต้องถอยหลังเดินกลับเข้ามาในกำแพงวัด และเค้าก็บอกว่าไม่กล้าเดินออกไปอีกเลยตลอดที่บวชเณรตอนนั้น
    ภายในที่เข้าไปเห็นด้านใน ที่มีการทำเป็นซุ้มโค้ง เอาพระวาง ดูการวางเรียงของหินก็น่าจะห็นได้ว่า ทำขึ้นมาใหม่แน่นอน
    เพราะเมื่อ 40-50 ปีที่แล้ว เหมือนเค้าจะไม่ให้ใครขึ้นไปสุ่มสี่สุ่มห้า แต่ที่ตอนนี้ให้ขึ้นไปได้ เพราะน่าจะบูรณะจนแข็งแรงพอที่จะให้คนขึ้นไปได้แล้ว
    ตามดูรายการแบบนี้หลายรายการในยูทูป สิ่งที่เห็นและน่าหงุดหงิดใจก็คือ การบูรณะจากกรมศิลป์ ที่หลายๆ ครั้ง แทบจะเป็นการทำลาย ลบประวัติศาสตร์เลย แม้จะพยายามเข้าใจว่า วิทยาการในตอนนั้นทำได้เท่านั้น แต่มันก็แอบเสียดายและหงุดหงิดใจ 55

  • @usaneesudhikam8208
    @usaneesudhikam8208 3 роки тому +1

    ติดตามค่ะ

  • @นายประภาสอินเสถียร

    หลายๆ คน ยังยึดติดกับความเชื่อ มากกว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถโต้แย้งกับความเชื่อได้ เรื่องของพระนเรศ น่าจะเสนอเรื่องวัดวรเชษฐ์ในเกาะ นอกเกาะบ้าง ครับ ติดตามทุกอีพี่ครับ

  • @slavewoody
    @slavewoody 2 роки тому

    อาจารย์สุวิทย์ ที่คุณเส่งพูดถึง น่าจะเป็น ท่านสุวิทย์ รัศมิภูติ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร นะครับ

  • @1phajonphai
    @1phajonphai 3 роки тому +1

    เป็นกำลังใจให้ครับ

  • @ยงยุทธโพธิ์สว่าง

    คือมาเปลี่ยนความรุ้จากเดิมเลย

  • @burapa293
    @burapa293 2 роки тому

    เรื่องเทคโนโลยีในการสร้างของชาวเปอเซีย เป็นไปได้ไหมคับว่าอาจจะมีมุสลิมอื่นที่ไม่ใช่ชาวเปอเซียที่เขาได้รับเทคโนโลยีจากเปอเซียมาก่อนนานแล้วได้เข้ามาอาศัยในอยุธยา แล้วได้นำเสนอเทคนิคนี้แก่ช่างชาวอยุธยา
    เพราะคิดว่าเทคนิคการสร้างแบบนี้ได้ถูกถ่ายทอดไปหลายภูมิภาคไม่เว้นถึงชาวยุโรปเองก็น่าจะรู้ถึงเทคนิคการสร้างนี้

  • @chanchaic8167
    @chanchaic8167 11 місяців тому

    ในยุคนั้นมีต่างชาติเข้ามามากมาย..ของพม่าก็ใหญ่โต..ทำไมไทยจะทำไม่ได้..เดากันไปเรื่อย...

  • @ceo3865
    @ceo3865 2 роки тому

    ผมไปมาแล้ว

  • @ธฤษณุจิระธุวานนท์

    ขอความรู้ครับ แล้วเรื่องการเคลือบพระในขุนแผนเคลือบวัดใหญ่ล่ะครับ การเคลือบกระเบื้องหรือเคลือบพระมีตั้งแตสมัยไหน อยุธยาตอนต้นหรือหลังจากนั้น

    • @historywhisperer7391
      @historywhisperer7391  3 роки тому +1

      การเคลือบวัสดุดินเผาน่าจะมีมาตั้งแต่อยุธยาตอนต้นครับ ส่วนพระที่พบในกรุวัดใหญ่ชัยมงคล อายุเวลาไม่ควรเก่ากว่าตัววัดหรือพระเจดีย์ แต่ก็เป็นไปได้ที่จะนำวัตถุที่เก่ากว่าตัวสถานที่มาบรรจุไว้ครับ

  • @ครั้งนึงๆยังจําได้ไหม

    ไปช่วงไหนทำไมไม่มีคนครับ

  • @ronnakrit1803
    @ronnakrit1803 3 роки тому +1

    อยากให้ไปวัดภูเขาทองด้วยครับ ฝากแอดด้วยครับ

  • @Kor_Chalowpra
    @Kor_Chalowpra 2 роки тому

    แสดงให้เห็นได้ว่า พระขุนแผน กรุวัดใหญ่ชัยมงคล ที่เซียนน้อยใหญ่ ตั้งราคาขาย เป็นสิบๆล้าน นั้น เป็นการกล่าวอ้าง มโนภาพ ขึ้นมาเองทั้งนั้นเลย

  • @thidaratt4726
    @thidaratt4726 3 роки тому

    เหมือนฟังนิทานค่ะแต่มันคือความรู้ประวัติศาสตร์ที่หน้าฟังมากค่ะ

  • @kubkub2344
    @kubkub2344 Рік тому

    3.36 ใช้ เอฟเฟกอะไรหรอ ในคอมตัดต่อหรอครับ ต่อที่บอกมิติ ทำให้เข้าถึงอารมณ์ในการเล่าเรื่องราว ในคลิป

  • @yongtan5755
    @yongtan5755 2 роки тому +1

    ข้อโต้แย้งข้อเสนอแนะ ด้วยเหตุผลให้ตั้งสติใช้ปัญญาพิจารณา ให้ความรู้สาระรับรู้แก่ประชาสังคม

  • @HiddenAyutthaya
    @HiddenAyutthaya 2 роки тому

    ปราสาทขอมที่เก่าแก่กว่านี้ก็ยังสร้างเป็นโพรงได้เลยครับ

    • @stonebrain1975
      @stonebrain1975 Рік тому

      เป็นโพรงกับเป็นโดม ไม่เหมือนกันนะครับ

    • @takedazu
      @takedazu Рік тому

      ปราสาทขอมที่สร้างด้วยหินใช้เทคโนโลยีคนละแบบกับการสร้างด้วยอิฐนะครับ