ไขปริศนาเซมิคอนดักเตอร์ ทำไมจีน-อเมริกา ทะเลาะจนชิปหาย | Executive Espresso EP.413

Поділитися
Вставка

КОМЕНТАРІ • 262

  • @nattapongwuttikes9073
    @nattapongwuttikes9073 Рік тому +126

    ผมเคยเป็นวิศวกร ในบริษัท Submicron Technology ที่เป็นบริษัทแรกที่จะทำ Wafer fabrication ร่วมทุน กับ Texas instrument เมื่อเกือบ26 ปีก่อน ไปอบรมเครื่อง wafer inspection ที่ KLA-Tencor ที่USA เจอวิศวกรจาก TSMC และ Samsung ที่นั่นด้วยเสียดายกลับมาเกิดวิกฤติต้มยำกุ้ง ทำให้บริษัทปิดตัวลง เสียดายโอกาสของเมืองไทยที่จะมีอุตสาหกรรมต้นน้ำของ อุตสาหกรรม semiconductors มากๆครับ

    • @greenlight3735
      @greenlight3735 Рік тому +2

      น่าเสียดายเช่นกันครับ

    • @SKOne-he4fs
      @SKOne-he4fs Рік тому +2

      อ่อๆ นึกว่าโดนไล่ออก

    • @Koongpanid
      @Koongpanid Рік тому +2

      ใช่บริษัทคุณชาญ มั้ยคะ

    • @kittikunbp3826
      @kittikunbp3826 Рік тому

      @@SKOne-he4fs เราก็น้อ😆😆

    • @donjuanth.2449
      @donjuanth.2449 Рік тому +9

      ไม่ว่ารัฐบาลไหนก็ส่งออกแต่สินค้าเกษตรไม่มีสมองพอคิดเรื่องแบบนี้หรอกครับ

  • @missedcall-os2fk
    @missedcall-os2fk Рік тому +13

    คลิปนี้ เปนคลิปแรกที่ตั้งใจฟังมากๆ ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆแบบนี้

  • @user-pw1dz1ih6h
    @user-pw1dz1ih6h Рік тому +3

    ดีมากค่ะ เนื้อหาดีมากค่ะ ขอบพระคุณมากนะคะ

  • @952winplease6
    @952winplease6 Рік тому +152

    เรียนอิเล็กทรอนิกส์ มาทั้้งชีวิตไม่เข้าใจจนทำให้ไปยึดอาชีพช่างไฟตกแต่งภายใน จนมาดูคลิปนี้ ไขคำตอบและเข้าใจกระจางจนนำไปสู้คำตอบในชีวิตได้เลย ขอบคุณมากครับ

    • @up007baba
      @up007baba Рік тому +5

      เรียน ท่าไหนคับ 55555

    • @paumpk4411
      @paumpk4411 Рік тому +19

      ผมก็เป็นช่างอิเล็กทรอนิกส์ ปวช . รู้แค่พื้นฐานเท่านั้น เรียนๆ เหมือนความรู้โดยรวม คำนวณก็ปวดหัวอีก
      พอ ปวส. จะเริ่มเข้าใจสิ่งที่เคยเรียนมา ตอน อยู่ ปวช.
      พอป.ตรีจะเริ่มเข้าใจความรุ้ใน ปวส. แต่ความรู้ใน ปตรี.มันก็ยังมีอะไรที่ไม่เข้าใจอีกอยู่ ความรู้ที่ได้ที่ทำได้จริงๆ คือ เขียนภาษา c++ assembly ladder การใช้งาน Arduino พวก Node mcu. ,Plc ต่างๆ. พื้นฐานอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ระบบอัตโนมัติ แต่สิ่งที่ยังวิเคราะห์ยากสำหรับผมคือ พวกคลื่น ความถี่ ในระบบสายส่ง สายอาอาศ เสียงในวิชาระบบเสียง การจัดการเสียง ตัดเสียงหอน เสียงฮัม ผมแค่มาแชร์สิ่งที่ได้กับสิ่งที่เรียนมาเท่านนั้นนะครับอันนี้

    • @user-lc3zr8re7w
      @user-lc3zr8re7w Рік тому +8

      ความรู้ที่เขาพูดนี่ต้องนาโนฟิสิกส์ ฟิสิกส์อิเล็กชั้นสูง

    • @user-fy3gd4uz9s
      @user-fy3gd4uz9s Рік тому +7

      @@paumpk4411 งั้นคงต้องไปเรียนปริญญาโท จะได้เข้าใจ เรื่องที่เรียน ต่อปริญญาตรี ถ้าไม่เข้าใจเรื่อง ที่เรียนในปริญญาโท ก็คงต้องต่อปริญญาเอก... หยอกหยอก

    • @video-zw7js
      @video-zw7js Рік тому +2

      เดี๋ยวๆสตินี้ไม่ใช่หลักสูตรปวช.ปวส.😅

  • @worrapolfontiem638
    @worrapolfontiem638 Рік тому +5

    5ดาวครับ คลิปนี้ ขอความรู้แน่นๆอีกนะครับ

  • @kantinansriprasert5999
    @kantinansriprasert5999 9 місяців тому

    ชอบช่องนี้มาก ได้ความรู้มากเลย

  • @nattapolpunpaen2539
    @nattapolpunpaen2539 Рік тому

    ขอบคุณครับสำหลับความรู้

  • @natthapongnoom1214
    @natthapongnoom1214 Рік тому

    ดร.จิรวัฒน์ ใช้ภาษาอธิบาย ได้ดีสุดยอดมากๆ เข้าใจง่าย

  • @argue-46
    @argue-46 Рік тому +1

    ได้ข้อมูลดีๆมากครับ

  • @user-if4cs6yn4d
    @user-if4cs6yn4d Рік тому

    ฟังเข้าใจง่ายดีครับ ...

  • @chulaw8
    @chulaw8 Рік тому

    ได้รับความรู้ ขอบคุณ

  • @trulplink2732
    @trulplink2732 Рік тому

    ขอบพรนะคุณอาจารย์มากๆเลยคร้าบ

  • @songphorntajaronensuk7806
    @songphorntajaronensuk7806 Рік тому +2

    อธิบายเก่ง ทำยาก ให้เข้าใจง่าย

  • @user-hq6mf1qw3q
    @user-hq6mf1qw3q 8 місяців тому

    ขอบคุณมากครับ😊

  • @winvee290
    @winvee290 Рік тому +1

    ชอบตอนนี้มากครับ

  • @damrong3
    @damrong3 Рік тому

    ชอบราการวันนี้

  • @user-ng9di5pk7k
    @user-ng9di5pk7k Рік тому +1

    เยี่ยมครับ

  • @jk-mo2413
    @jk-mo2413 Рік тому +6

    ขอบคุณสำหรับเนื้อหาดีๆครับ อยากให้คุณเคนมีภาคต่อ เรือง โฟโตนิคชิป ด้วยครับ

  • @pottyruan988
    @pottyruan988 Рік тому

    ได้ความเข้าใจมากขึ้นเยอะค่ะ

  • @tacomaon4566
    @tacomaon4566 Рік тому +3

    ขอบคุณมากๆค่ะ ตั้งคำถามดีมาก ทำให้ได้คำตอบกระจ่างละเอียดในทุกมิติเลยค่ะ

  • @obtimusa
    @obtimusa Рік тому +1

    มี insert footage ผิด ศูนย์ TMEC เป็น MTEC ตอนต้นนะครับ

  • @sirayasing515
    @sirayasing515 Рік тому

    ใช้กับวิทยุทรานซิสเตอร์ หรือนาฬิกา สมัยก่อน

  • @mr.kittichartrittirut7098
    @mr.kittichartrittirut7098 Рік тому +22

    อิเล็กทรอนิกส์คือสาขาสำคัญ แต่ขาดการสนับสนุนอย่างเต็ม การพัฒนาอะไรต่างๆ ก็ช้าตามไป ผมเรียนอิเล็กมา คนไทยเก่งครับ แต่การนำไปต่อยอดไม่มีเลยครับ ทั้งที่เป็นสิ่งสำคัญ ถ้าเข้าใจ ถ้าผลิตเองได้ เศรษฐกิจไปไกลครับ ต่อยอดได้มาก แต่ล่าสุดสาขาที่ผมเรียน ได้เอาสาขานี้ออกไปแล้ว เป็นสาขาอื่นเข้ามาแทน คนไทยไม่ใช่ไม่เก่งครับ แต่แค่ไม่มีเวทีให้เค้าโชว์

    • @tomoyadarkvader2410
      @tomoyadarkvader2410 Рік тому +5

      ก่อนอื่นจะมีเวทีโชว์ได้ต้องมีคนที่เก่งและกล้าที่จะลงทุนด้านนี้ รัฐต้องหาเงินให้กู้ได้ง่าย ลดภาษีให้ เพื่อจูงใจ แต่ใครละจะกล้าได้เสียแบบคนอเมริกา ลงทุนไปแล้วอาจเจ๋งก็ได้

    • @user-zx2hn1lm9k
      @user-zx2hn1lm9k Рік тому +1

      เดี่ยวมันก็บอกว่าเป็น ภัยคุกคามของป

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 Рік тому +2

      เดี๋ยวนี้ เขาไปเรียน แมคคราทรอนิกส์ กันหมดแล้ว ตอบโจทย์โรงงานมากที่สุดแล้วครับ สายโรงงาน เลือกอิเล็กทรอนิกส์รองจากไฟฟ้า สะด้วยซ้ำครับเวลาสมัครงานเข้ามา

    • @mr.kittichartrittirut7098
      @mr.kittichartrittirut7098 Рік тому +6

      ที่ทุกท่านกล่าวมาเป็นความจริงล้วนๆครับ อิเล็กทรอนิกส์เป็นสาขาที่เฉพาะทางจริงๆ ส่วนตัวผมถือว่าโชคดี จบมาก็ได้งานทันที แถมตรงกับที่เรียนมา มันทำให้รับรู้ได้ว่า ประเทศเรา บุคคลากรที่ชำนาญด้านนี้มีน้อยมาก และขาดการต่อยอด ส่งเสริม ทำให้ไม่ได้รับความนิยม ทั้งที่ต่างประเทศ ถือว่าเป็นสาขาที่สำคัญมาก สำหรับต้นคิดหรือต้นแบบนวัตกรรม แต่ก็ต้องยอมรับรูปแบบเศรษฐกิจของประเทศ ที่เน้นรับมาผลิตมากกว่า ไม่ได้เน้นวิจัยต่อยอดหรือพัฒนาต่อ ซึ่งผมมองว่าถ้าส่งเสริมส่วนนี้ได้ เราอาจสร้างงานให้คนในประเทศได้เพิ่ม และไม่ต้องกังวลถึงผลกระทบจากบริษัทแม่ที่เป็นตัวคอยกำหนดอีกต่อไปในระยะยาว ความเห็นส่วนตัวนะครับ

    • @wasinpromsonti9302
      @wasinpromsonti9302 Рік тому

      เดี่ยวนี้ยังมี เรียน FPGA ไหมครับ

  • @panuddakumpang
    @panuddakumpang 8 місяців тому +2

    อาจารย์พูดถูกครับ เหมือนเป็นหมุดหมาย ที่ปักและเราเชื่อว่า ไม่มีใครฉลาดกว่าใคร มันขึ้นอยู่กับว่า เรา จะทำอะไร และทำถึงจุดไหน ที่สำคัญภาครัฐ มองโลกที่มีเราแบบไหน มองว่า คนในชาติเราเอง สมควรมีจุดยืนที่มีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ เป็นแกน เป็นผู้นำที่เป็นผู้พึ่งพาที่ยังยืนให้ภูมิภาคได้ อย่างไร

  • @Kenicnslallabixmsjiazka
    @Kenicnslallabixmsjiazka 8 місяців тому

    ตัวM1 ในไอโฟนนี้ใช้ TSMC ผลิตใช่ไหม

  • @MrTonnarak
    @MrTonnarak Рік тому +1

    semiconductor 101 ❤️ ขอบคุณครับ

  • @BankTheerathon
    @BankTheerathon Рік тому +10

    ชอบ the secret sauce มากเลยครับ เนื้อหาคุณภาพ

  • @nottskynet3495
    @nottskynet3495 Рік тому +1

    เข้าใจง่ายดีครับ แต่แค่อาจารย์เอาอย่างอื่นมาเปรียบเทียบมากเกินจนต้องต่อเรื่องราวที่มากขึ้น โดดไปโดดมา ถ้าคนเรียงความไม่เก่งจะงง แต่ก้อขอบคุณอาจารย์มากครัย

  • @peerapongtangkavanich7154
    @peerapongtangkavanich7154 Рік тому +6

    Alan Turing เขาคือ นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่ทำงานให้ กองทัพสหราชอาณาจักรที่ และเป็นคนที่คิดค้นการถอดรหัสเครื่อง Enigma ของ Nazi ด้วยนะครับ

  • @JacksparowLL
    @JacksparowLL 9 місяців тому +3

    เห็นด้วยกับอาจารย์ว่าควรมุ่งไปที่ more than law เพราะการ design คือความคิดสร้างสรรค์ที่มีมหาศาลไม่ได้จำกัดเหมือน follow law ที่เจ้าใหญ่เขากำลังแข่งกัน อยากให้ภาครัฐให้ความสำคัญกับเรื่องทรัพยากรคนของประเทศแบบเต็มที่ เพราะปัจจุบันอัตราเกิดน้อย บางส่วนออกจากระบบการศึกษา ซึ่งเรื่องเทคฯพวกนี้ต้องเรียนผ่านระบบการศึกษาเป็นหลัก และหลักสูตรการเรียนการศึกษาต้องปรับเปลี่ยนให้ทัน

  • @TheSecretSauceTH
    @TheSecretSauceTH  Рік тому +6

    ภาพในคลิปวิดีโอที่เวลา 1:55 เป็นภาพของศูนย์เทคโนโลยีและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ซึ่งไม่ใช่ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) ทางทีมงานขออภัยมา ณ ที่นี้
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมของศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) ได้ที่ www.nectec.or.th/research/research-unit/tmec.html

    • @danai2766
      @danai2766 Рік тому

      อยากให้เชิญบริษัท Silicon Craft Technology (SICT) มาออกรายการด้วยครับ SICTเป็นบริษัทdesignตัวชิปของคนไทยครับ

  • @olemancharter2747
    @olemancharter2747 Рік тому

    แล้วที่ว่า ทรายกำลังหมดโลก นี่มีส่วนเกี่ยวข้องกันไหมครับ

  • @yobe5062
    @yobe5062 Рік тому +54

    ชอบรายการแบบนี้ ให้ความรู้เท่าทันโลก คนไทยจะได้ไม่ทำตัวประหลาดเป็นตัวตลกเหมือนเพื่อนบ้าน

    • @user-rr9is8th2m
      @user-rr9is8th2m Рік тому +1

      เคยได้ยินเขาบ่นกัน ว่ารำคาญเสียงหมาข้างบ้าน ฟังแล้วก็งงเหมือนกัน ว่าเขาเห็นว่าเป็นเพื่อนบ้านหรือเห็นเป็นหมาข้างบ้าน

    • @akanitsamerna6849
      @akanitsamerna6849 8 місяців тому

      ทำไมเราทำชิบ5gไม่ได้ครับ....

    • @akanitsamerna6849
      @akanitsamerna6849 8 місяців тому

      โครงสร้างที่ยากที่สุดคือโครงสร้างมนุษย์

    • @akanitsamerna6849
      @akanitsamerna6849 8 місяців тому

      ไม่สามารถออกแบบได้และไม่มีใครออกแบบได้

    • @yobe5062
      @yobe5062 8 місяців тому

      @@akanitsamerna6849 ไทยไม่มีแร่หายากในการทำชิพ

  • @djvjdjdkhdh7907
    @djvjdjdkhdh7907 Рік тому

    นี่เป็นคำตอบทุกอย่าง

  • @namons.5078
    @namons.5078 Рік тому +1

    ไม่รู้ว่าซ้ำกับเมนท์ใครรึยังนะคะ ขออนุญาตแนะนำคลิปเกี่ยวกับเนื้อหา ชิบขาดตลาด ช่องของ : 9arm ค้นหาว่า "ทำไมชิปถึงขาดตลาด " / แล้วก็ช่องเดียวกันนี้มีเรื่อง quantum ดร.ทิว คุยกับ ดร.นายอาร์ม "เซียนควอนตัม vs เซียนคอมพิวเตอร์"

  • @apcool4150
    @apcool4150 Рік тому +5

    บทสนทนาน่าฟัง มีสาระดีครับ 😄

  • @jennyfung7624
    @jennyfung7624 Рік тому +16

    อธิบายเก่ง ถามเก่ง เก่งทั้ง 3 คน ภูมิใจคนไทย มีคนรุ่นใหม่เก่งๆ

    • @nicktanawut915
      @nicktanawut915 Рік тому

      นั้นคือความสำคัญที่จะต้องส่งต่อให้คนรุ่นใหม่ ไม่มีใครทำงานไปจนตาย

  • @user-ne1hu8nx9j
    @user-ne1hu8nx9j Рік тому +6

    ผมขายเซมิคอนดักเตอร์ เป็นช่างด้วย

  • @nantawatpansakulwat1727
    @nantawatpansakulwat1727 11 місяців тому

    great

  • @ka0236
    @ka0236 Рік тому

    ความคิดสร้างสรรค์ ภายใต้ร่มเงาหลักความคิด + งบประมาณสนับสนุน
    วิจัยทางวิศวะ อยากให้ทำสกูปเรื่องนี้บ้างค่ะ เผื่อหาคนสนับสนุน

  • @nom12356
    @nom12356 Місяць тому

    สงสัยว่า สมมุติชิบ1ตัวขนาด1ซม.ใส่ทรานซิสเตอร์ได้10,000ล้านตัว จะเพิ่มทรานซิสเตอร์เป็น20,000ตัวลงในชิบขนา1ซม. ถ้าขยายชิบเป็น2ซม.แล้วใส่ทรานซิสเตอร์20,000ล้านตัวได้ไหม? เหมือนจะเอาของเข้าบ้านแต่ของสิ่งนั้นใหญ่กว่าประตูแล่วดันของสิ่งนั้นผ่านประตูไปเลยมันก็ไส่ได้แต่มันลำบาก แต่ถ้าขยายประตูบ้านให้ใหญ่ขึ้นแค่นี้ของที่ใหญ่กว่าประตูบ้านก็จะเอาเข้าบ้านได้สบาย

  • @pvmilk
    @pvmilk Рік тому +7

    เปลี่ยนใจไปเล่นส่วนอื่นๆ ระวังเหมือนตอนเลือก Harddisk นะครับ ถ้าเข้าใจไม่ผิด ตอนนั้น ไทยเลือก Harddisk มาเลเซีย เลือก ชิป
    เลือกผิด ชีวิตเปลี่ยน

  • @o_ple789
    @o_ple789 Рік тому +4

    คนเก่งและมีความรู้อย่างลึกซึ้ง วัดได้จากการอธิบายเรื่องยากๆให้เข้าใจได้ง่ายๆ ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ

  • @kamikazeray4866
    @kamikazeray4866 9 місяців тому

    Super conductor ตัวนำยิ่งยวด 🤔

  • @Nohandhhgle
    @Nohandhhgle Рік тому +7

    ในเมื่อ tsmc ต้องเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อแข่งขันกัน เราน่าจะไปขอซื้อเครื่องรุ่นเก่าๆในราคาถูกหน่อย เพื่อมาสร้างอุปกรณ์ที่ advance น้อยลงหน่อย อย่างเช่นพวกโดรนตรวจวัดพื้นที่ภาคเกษตร หรือพวกไฟปิดเปิดอัตโนมัติ อะไรประมาณนี้ ก็จจะทำให้ ประเทศไทยเริ่มมีงานด้านนี้ พอมีงานก็จะมีบุคลากรเข้ามา มีการพัฒนาต่อยอดไปเรื่อยๆ

    • @tomoyadarkvader2410
      @tomoyadarkvader2410 Рік тому +1

      คิดได้แต่ต้องมีเอกชนเริ่ม แต่ก็ต้องมีคนที่ใช้เครื่องได้ ตลาดต้องมีรองรับ รัฐต้องมีแหล่งทุนให้หาง่าย

    • @PeterPan-of8pf
      @PeterPan-of8pf Рік тому

      อาจจะไม่ได้ยกเซตหรือเปล่าครับ หมายถึงเปลี่ยนฟังก์ชั่นโมดูลแค่บางตัวเพื่อให้ทั้งระบบทำงานเล็กลง

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q Рік тому +2

      ยากน่ะครับ ถ้าขอชื้อเครื่อง Euv พวกนี้ ถ้าสหรัฐไม่ไฟเขียว ก็น่าจะยากครับ อีกอย่างบ้านเราเป็นเผด็จการแบบนี้ น่าจะยากที่เขาจะปล่อยให้ประเทศไทย เข้าถึงเทคโนโลยีตรงนี้ได้

    • @tanapong14101
      @tanapong14101 Рік тому

      เครื่องนึกแว่ว ๆ ว่าเป็นหมื่นล้านเลยครับ อันนี้เฉพาะเครื่องEUV นะครับ

  • @stangthanut9210
    @stangthanut9210 9 місяців тому

    ที่อาจารย์ถามเรื่อง ทำไมเราต้องพัฒนาคอมพิวเตอร์ ให้มันเร็วไปกว่านี้ ซึ่งปัจจุบันมันก็เร็วมากอยู่แล้ว
    ผมมีแนวคิดว่า คนสมัยก่อนยังไม่มีพัดลม จะรอลมเย็นก็อาศัยจากการพัด หรือลมธรรมชาติ พอมีคนประดิษฐ์พัดลมได้ คนในตอนนี้ก็คิดว่า เจ๋งแล้ว ลมเย็นสบาย ไม่ต้องพัดเอง ไม่มีใครรู้ว่าจะมีแอร์ พอดีแอร์แล้วก็โครตเจ๋งอ่ะ
    ผมคิดว่า ถึงตอนนี้คอมพิวเตอร์มันเร็วมาก แต่ก็อาจจะยังไม่เร็วพอ สำหรับฟังชั่นในอนาคต ดังนั้นตอนนี้ เขาจึงพัฒนาไปก่อน ค่อยไปตอบโจทย์ในอนาคตครับ

  • @LOvetomification
    @LOvetomification Рік тому

    มันมี Amsl ด้วยไม่ใชเหนือครับ

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q Рік тому

      มีครับ มีทั้งสหรัฐมาแจมด้วย สรุปง่ายๆๆก็ได้ครับ Asml อยู่ในเนเธอร์แลนด์ แต่พวก ทุนวิจัย สหรัฐ ออกให้แถม เครื่อง euv ขายให้เฉพาะพวกเดียวกับสหรัฐ เท่านั้นครับ นั้นคือ tsmc ที่อยู่ใน ใต้หวัน กับ ซัมซุง เกาหลีใต้

  • @tpungkaj
    @tpungkaj 9 місяців тому

    เสนอให้ทำ เซนเซอร์ เพื่อการเกษตร ครบวงจรครับ
    ทำใช้ในประเทศก่อน ถ้าเหลือ ค่อยทำขายไปข้างนอก

  • @9Pom
    @9Pom Рік тому +1

    ยังตันอยู่ที่ขนาด10nm มั้งคับที่วางขายในตลาด cpu intel
    ส่วน AMD 14nm แต่ดันขายว่า 4nmไปเอาระยะห่างระหว่าง transister มาทำการตลาด

    • @pramuanchutham7355
      @pramuanchutham7355 8 місяців тому

      สิ่งที่ยากกว่า คือระยะห่างระหว่างทรานซิสเตอร์ครับ...พิมพ์ยากกว่าเส้น

  • @Sagittarius16
    @Sagittarius16 Рік тому +5

    the standard โคตรสื่อน้ำดีของจริง ความรู้ เปิดโลก ทุกคอนเทนต์

  • @Jukkarpun
    @Jukkarpun Рік тому +1

    อันนี้ส่วนสำคัญ อยากให้คนไทยขับเคลื่อนด้วย

  • @ER-sv1np
    @ER-sv1np Рік тому

    40:53 ไทยยังไม่มีใครลงมาขนาด design components (จุดสำคัญในการพัฒนาสู่อนาคต ชิงทำก่อนตลาดวาย)
    ก่อนอื่นเลย ต้องเปลี่ยนประเทศ ให้ R&D กันเป็นทั้งประเทศก่อน ไม่ใช่ทำแบบเดิมทุกวัน

  • @OnawevolO
    @OnawevolO Рік тому +4

    คิดถึงตอนเรียนจัง Analog IC design โคตรยาก 55

  • @plawan00021
    @plawan00021 10 місяців тому

    เรื่องความเล็กลง มันเล็กลงได้ถึงจุดๆ นึงก็จะเล็กลงไปกว่านี้ไม่ได้อีกแล้ว เพราะสาเหตุนี้แหละเค้าถึงวิจัยพัฒนาควันตั้มคอมพิวเตอร์ เพราะมันจะเล็กลงไปได้อีกเล็กกว่าเซมิคอนดักเตอร์มาก ๆ แต่พอเล็กระดับควันตั้ม สูตรเดิมที่เคยใช้กับเซมิคอนดักเตอร์จะใช้งานไม่ได้อีกต่อไป 1+1 อาจจะเท่ากับ 2 หรือ 1 หรือ หรือเป็นได้ทั้ง 2 และ 1 พร้อมกัน ก็ได้ในโลกของควันตั้ม

  • @PatiparnPojanart
    @PatiparnPojanart Рік тому +35

    คลิปเกือบ perfect แล้ว แต่ดันลืมพูดถึงผู้ผลิตเครื่องกำเนิดแสงมายิง mask ลง แผ่น wafer อีกที ซึ่งตอนนี้มีเจ้าเดียวที่ทำต่ำกว่า 5 nanometre ได้นั่นก็คือ ASML แล้วคอขวดความชิปหายไปทั่วโลกมันเกิดจากตรงนี้นั่นก็คือ ASML เขาผลิตได้ปีละไม่ถึง 10 เครื่อง แล้ว TSMC ดันไปจองเกือบหมดทุกปี ทำให้บริษัทอื่นก็ผลิตไม่ได้เพราะไม่มีเครื่องจาก ASML ออเดอร์เลยมากองที่ TSMC สุดท้ายก็เลย ชิปหายกันทั้งโลก🤣

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q Рік тому +5

      ถ้าจำไม่ผิด ภายใน1ปี เครื่อง euv นี้สามารถผลิตได้ 40เครื่องต่อปี ไม่ใช่หรอครับ .... Tsmc ได้ไปกว่า 80% อีก20 เสร็จของซัมซุง

    • @PatiparnPojanart
      @PatiparnPojanart Рік тому +4

      @@user-oo3cf4jw4q ตอนที่ผมเขียนผมไปอ่านข่าวปีก่อนๆที่บอกว่าภาย 10 ปี ASML ผลิตไปได้ 140 เครื่อง ซึ่งมาเฉลี่ยเหลือประมาณ 10 เครื่องอยู่นะ😅
      แต่หลังจากผมอ่านเม้นคุณผมก็ลองไปหาข่าวใหม่ล่าสุดดู ปรากฎว่า ปี 2020 ผลิตได้ 31 เครื่อง ปี 2021 ได้ 42 เครื่อง นั้นก็แปลว่ากำลังการผลิตของ ASML คงเติบโตขึ้นมากในช่วงสิบปีที่ผ่านมา
      ส่วน samsung ก็ทำได้ดีแต่ตอนนี้ ASML ไป 2 nm หรือ ต่ำกว่านั้นไปแล้ว มันจึงยากที่ samsung จะสู้ ASML ในเรื่องนี้ได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ต้องถาม samsung ด้วยว่าถ้าต้องการผลิตมือถือมันต้องมี chip เล็กกว่านี้จริงๆเหรอ🤔

    • @Touoru
      @Touoru Рік тому +1

      ASML ยังไม่ถึง 2nm ครับ ปัจจุบันเครื่องรุ่นล่าสุดได้แค่ 3-5 nm ที่ 200M$
      IR ล่าสุดของ ASML คาดว่าจะสามารถสร้างเครื่องรุ่นใหม่ที่ผลิต 3nm Yield สูง ตกเครื่องละประมาณ 300M$ ครับ
      2nm ยังติดปัญหาในทางทฤษฎีอยู่ครับ ยังไม่ถึงภาคทดลองเลย

    • @PatiparnPojanart
      @PatiparnPojanart Рік тому

      @@Touoru เรื่องนั้นผมไม่ทราบครับผมอ่านจาก blognone มาอีกทีครับ เขาบอกว่าจะสามารถส่งมอบเครื่องรุ่นทดสอบให้ลูกค้าได้ 2024 ซึ่งก็นั่นแหละครับผมไม่รู้หรอกครับว่าทำได้จริงไหมแต่เขาอ้างว่าอย่างงั้นครับ😅

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q Рік тому

      @@Touoru ขึ้นชื่อ Asml ผมว่าน่าจะไปไหวน่ะครับ มีทั้งความรู้ แถมสหรัฐ ออกทุนวิจัย ให้ด้วย หวานปากสิครับ ขึ้นอยู่กับเวลา ว่าจะเสร็จตอนไหน ก็เท่านั้น

  • @Blue-ChipzZ
    @Blue-ChipzZ 5 місяців тому

    เก่ง

  • @NanNan-if7pd
    @NanNan-if7pd Рік тому

    สุดยอดพึ่งรู้คนไทยก็มีเหมือนกัน

  • @RangsantBandhukul
    @RangsantBandhukul Рік тому +1

    เห็นด้วยครับผม บางสิ่งบางอย่างมันไปเร็วไม่ได้ มันต้องสร้างพื้นฐานสะสม ขืนไปเร็วมันเจ๊งครับผม

  • @1._.chaloem
    @1._.chaloem Рік тому +1

    💕

  • @winbunjongpru5408
    @winbunjongpru5408 Рік тому +1

    ยังมีเกมส์ที่น่าลงเล่นได้ครับ อุปกรณ์ที่อยู่ในกลุ่ม More Than "Moore's Law" (มัวรอไม่ได้แล้ว)
    1) กลุ่มของเซนเซอร์ นึกถึงประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของมนุษย์ ตา (Photodetector) หู (microphone) จมูก (gas sensor) ลิ้น (Ion Selective Field Effect Transistor) กายสัมผัส (Pressure sensors, Gyroscopes, Accelerometers)
    2) กลุ่มของชิปที่ใช้ในรถไฟฟ้า สำหรับระบบจัดการแบตเตอรี่ (Battery Management System, BMS) บึ้น! บึ้น! โอ้ว...เสียงเครื่องยนต์กำลังจะหมดไป

  • @user-xj2nh5hf6c
    @user-xj2nh5hf6c 7 місяців тому

    👍

  • @dum5855
    @dum5855 Рік тому +7

    อลัน เทอริ่ง คือ คนที่สร้างคอมพิวเตอร์ชื่อ เดอะบอมบ์ ที่สามารถถอดรหัสสื่อสารของนาซี (อีนิคม่า) ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สำเร็จ

  • @jetsariswaeng5430
    @jetsariswaeng5430 Рік тому

    👍👍👍👍

  • @user-tw8rs5zj6p
    @user-tw8rs5zj6p Рік тому +2

    สอบถามครับ ชิบมันมีเกรดไหมครับ
    เช่น วิทยุธรรมดา ใช้เกรดต่ำ โทรศัพท์มือถือใช้เกรดสูง เพราะในเมื่อชิบผลิตได้แค่ใต้หวันแสดงว่ามันก็ต้องคุณภาพสูงทั้งหมด เพราะที่อื่นยังผลิตไม่ได้

    • @johnwet5798
      @johnwet5798 Рік тому +1

      แบ่งเป็นเกรด ตามราคาที่จ่าย เหมือน รง. battery

    • @dum5855
      @dum5855 Рік тому +5

      มีสิครับ มีเยอะมากเลย จำนวนทรานซิสเตอร์ต่างกันก็ทำงานได้ต่างกัน ยิ่งมีมากก็ยิ่งทำงานสลับซับซ้อนได้มากขึ้น เร็วขึ้น ที่แข่งกันลดขนาดก็เพื่อเพิ่มจำนวนและลดการใช้พลังงานลง ชิปทั่วไปทุกวันนี้ใช้มาตรฐานระดับ 28 นาโนเมตร ระดับสูงขึ้นก็เป็น 14 ลงมาถึง 7 แต่ที่กำลังออกมาล่าสุดคือ 4 , 3 และ 2 นาโนเมตร
      ไม่ได้มีแค่ไต้หวันที่ผลิตชิป จีน เกาหลีใต้ ก็ผลิตเยอะมาก แต่ในจีนส่วนมากจะเป็นชิปเกรดทั่วไปที่ใช้ใน รถยนต์ เครื่องไฟฟ้า สมาร์ทโฟนระดับกลาง-ล่าง ส่วนพวกชิปประสิทธิภาพสูงมีแต่น้อย ในขณะที่ TSMC จะเน้นผลิตกลุ่มไฮเอนด์พวกที่ใช้ในสินค้าระดับบน พวกชิปประมวลผล CPU GPU รุ่นท๊อปๆ ของ Apple , AMD , Nvidia

    • @user-sg5yo9eq6g
      @user-sg5yo9eq6g Рік тому +2

      มีหลายระดับเลยครับ ชิปขั้นสูงขนาด x นาโนเมตร ขั้นกลางขนาด xx นาโนเมตร และขนาด xxx นาโนเมตรหรือใหญ่กว่า เป็นชิปที่ใช้ทั่วไป ใช้เทคโนโลยีในการผลิตไม่สูงมาก

    • @niwatphansilpakom2906
      @niwatphansilpakom2906 Рік тому +5

      มีครับ ในโมเดลเดียวกันตามสเป็กเดียวกัน ก็จะแบ่งเป็น Home used, Industrial grade, Automotive grade, Military grade หรือมีสูงกว่านี้อีก เช่น Aerospace

    • @bjw7666
      @bjw7666 Рік тому

      Grade ขึ้นกับ speed, durability, accuracy…ความเร็ว ความทน ความเที่ยงตรงแน่นอน ประมาณนี้

  • @bypaestudio550
    @bypaestudio550 Рік тому +3

    20 กว่าปีก่อนผมเคยไปทำวีดีโอพรีเซนต์ให้กับบริษัท ไมโครชิพ ที่ฉะเชิงเทรา ในโรงงานมีแขนกลพิมพ์ชิพบนแผ่นเวเฟอร์ เหมือนกันที่เห็นในโฆษณาอินเทลเป๊ะ ไม่รู้ว่าปัจจุบันพัฒนาไปถึงไหนแล้ว สงสัยว่าเรามีเบสมาตั้งแต่ก่อนยุคดิจิทัล ทำไมปัจจุบันยังดูเหมือนเราเริ่มทีหลัง

    • @thanaphongn3883
      @thanaphongn3883 Рік тому +3

      ปฏิวัติเป็นว่าเล่นไงครับ

    • @user-oi5wl3zl7k
      @user-oi5wl3zl7k Рік тому

      เคยยู่โรมที่นวนครตัดเวเฟิอสมัย1996แต่ยี่ปุ่นส่งมาให้ใช้คิดดูว่าเขาใช้มากี่สิบปีก่อนหน้าเราอีกแผ่นหนึ่งที่เคยตัดสามหมื่นกว่าชิ้นต่อแผ่นเท่าซีดีเพลงแต่สมัยนี้น่าไปใกลสุดกู่ละ

    • @Geewonbin555
      @Geewonbin555 8 місяців тому

      ประเทศไทยห้ามเจริญครับ ผู้มีอำนาจไม่ชอบ

  • @ohiomat9449
    @ohiomat9449 Рік тому

    เข้าใจเลยครับว่าทำไม เมกาถึงพยายามมากที่จะชิพขนาดเล็กให้ได้

  • @user-ni3xv2zi5j
    @user-ni3xv2zi5j 9 місяців тому

    ❤😊

  • @prayodjunpay6250
    @prayodjunpay6250 Рік тому

    ควันตัมก็เช่นเดียวกัน

  • @thinkerbell.8287
    @thinkerbell.8287 Рік тому +4

    คนในวงการนี้ในไทยมีน้อยครับ แล้วช่วงก่อนได้ทราบข่าวการสูญเสียของบุคลากรนักพัฒนาตั้งแต่ต้นน้ำจนใช้ในเชิงพานิณิชย์ได้ในวงการนี้ไปเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ Minimal Fab ผมนี่อย่างเศร้าเลย

    • @nth2tell
      @nth2tell Рік тому +1

      หืม..เสียใครหรอคะ

  • @somsaksangjansomporn734
    @somsaksangjansomporn734 Рік тому

    พิธีกรเวลายังไม่เข้าใจ ไม่ต้องอุทานว่าเข้าใจก็ได้นะครับ

  • @user-ip5cu8ci4s
    @user-ip5cu8ci4s 3 місяці тому +1

    แอบเปิ้นเขาใส่ความจำเยอะกว่ายี่ฮ่ออื่นเขาเลยได้เปรียบ

  • @silvergreatshine4665
    @silvergreatshine4665 Рік тому +1

    27.15 ในไทยมีนะ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเกือบทุกมหาวิทยาลัยในไทย แต่งานด้านไฟฟ้ากำลังกับการควบคุมมันมีงานรองรับมากกว่าเมื่อจบออกมา
    แถมต้องถามว่ามีคนเรียนมั้ย เพราะการใช้งานโปรแกรมออกแบบวงจรเพื่อการผลิต ic ไม่ใช่ว่าง่าย มันรู้สึกจับต้องได้ยากกว่าเมื่อเทียบกับไฟฟ้ากำลัง คนเรียนพอเรียนแล้วท้อ ทั้งที่สายงานมีความต้องการกำลังคนด้านนี้มาก ทั้งในและต่างประเทศ
    สุดท้ายคนไทยที่มีความรู้ความสามรถด้านนี้ก็ยังถือว่าน้อยมากในไทย 😭

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 Рік тому

      ใช่ครับ ทุกวันนี้ ภาคอิเล็กทรอนิกส์ แทบไม่มีเด็กสนใจไปเรียนแล้วครับ ภาคโรงงาน ให้ เครดิต เด็กจบ แมคคราทรอนิกส์ / อุตสาหการ/ ไฟฟ้า / เครื่องกล ส่วนภาคอิเล็กทรอนิกส์แทบไม่จับใบสมัครเด็กเหล่านี้มาเรียกสัมภาษณ์เลยครับ ไอ้พวก Electronics Design นี่ แทบไม่สำคัญอะไรเลย ตอนที่เรียกมาสัมภาษณ์ ไม่มีความจำเป็นต่อ ภาคโรงงานเลย ผมยืนยันอีกเสียงนึงครับ เพราะผมเรียนมาตั้งแต่ เรียนวิชา การใช้โปรแกรม โพรเทล เสร็จ นำมาลง ซิงค์ สกรีน บนแผ่นวงจรด้วยตนเอง ทุกวันนี้อิเล็กทรอนิกส์ ในวิทยาลัยแทบเปลี่ยนสาขาอิเล็กทรอนิกส์ ไปเป็น แมคคราทรอนิกส์กันหมดแล้วครับ

  • @diydev.1887
    @diydev.1887 Рік тому

    Ic = B x IB

  • @ppoom8781
    @ppoom8781 Рік тому +2

    ดีใจทีคนในชาติเรายังมีคนส่วนหนึ่งที่่มีความสามารถด้านนี้ครับ

  • @user-hg7le3vm9o
    @user-hg7le3vm9o Рік тому

    ผมเคยเป็นวิศวกรในลานมัน ดีไซน์หัวมัน รูปหัวใจ
    ใส่ซิป m j k 555ว่าไปเรื่อย

  • @settahawutsaelee9266
    @settahawutsaelee9266 Рік тому

    POV : ชอบรายการนี้นะว่าอยากให้ทุกคนเข้าถึงความรู้ที่ทันสมัยแต่อยากให้ลงทุนทำpresentation ให้ดีกว่านี้ เนื่องจากเรื่อง semiconductor superconductor เป็นอะไรที่เราได้ใช้กันเกือบทุกคน ฝากด้วยนะครับ

  • @jannapha
    @jannapha Рік тому +2

    ถ้าพูดถึง Semiconductor
    ในไทยก็ยังมี SICT ออกแบบ RFID IC (ที่ out source wafer fab กับ IC assembly manufacturing )
    IC assembly &Test ในไทยก็ยังมี UTAC ด้วยนะคะ
    น่าจะสัมภาษณ์เพิ่มด้วย

  • @thaizoom007
    @thaizoom007 Рік тому +1

    เรื่องขอจีนใส่อาวุธขอจีน?

  • @user-jf7sj3pt9u
    @user-jf7sj3pt9u Рік тому

    ต่อไปก็จะเล็กเท่าควอนตัม

  • @AtiwatBoonwan-sr6ni
    @AtiwatBoonwan-sr6ni 2 місяці тому

    อันนี้ผมก้อสงสัยว่าย่อขนาดของอะตอมทั้งหมดหรือว่าย่อขนาดของอะตอมเเต่เเร่ธาตุสองสามธาตุเเล้วเอาไปรวมลดขนาดผสมสารเคมีทำเซมิเป็นเรื่องที่โครตยากลอกเอากับสูตรในเน็ตกะได้เเต่ย่อขนาดไม่ได้ผมว่าลอกเอาหาวิธีย่อขนาดหาวิธีเพิ่มพลังงานเพิ่มเเรงดึงของสปินเสริมการยึดเกาะระหว่างมวลเเละโมเลกุลมันดีเเละสุดยอดไม่เสียเวลาผสมเอามันดีตรงที่ได้สารเคมีตัวใหม่ค่าองศาค่าเเรงดึงระหว่างมวลต้องทำทั้งสองอย่างจริงหรือ

  • @johndixk4258
    @johndixk4258 Рік тому +2

    คนไม่น่าจะคิดสิ่งแบบนี้มาได้ แปลกจริงๆ จากอยู่ถ้ำ

    • @xantagaming6854
      @xantagaming6854 Рік тому

      เหลือเชื่อมากครับ

    • @bjw7666
      @bjw7666 Рік тому

      เหตุเพราะสงครามครับ ความต้องการรบชนะสร้างวิทยาการใหม่ๆหลายอย่างให้โลกนี้

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q Рік тому +1

      เทคโนโลยี ต่างดาว ชัดๆๆอ่ะครับ ลองพิมพ์ใน ยูทูป asml ดูครับ การทำงานของเครื่อง euv ทำงานยังไง ผมยังแปลกใจ มนุษย์เรา คิดได้ขนาดนี้เลยหรอ????

  • @user-tk3fb8ni9v
    @user-tk3fb8ni9v Рік тому +1

    มิน่าหละเวลาหลงๆลืมๆทำการบ้านไม่ได้อ่านไม่ออกแม่ชอบด่าไอ้ชิบหายแสดงว่าแม่ทันสมัยมากๆทั้งที่จบป.4อิๆมีใครเจอเหมือนผมมั่งเนี่ย

  • @user-gc2sx9kn6x
    @user-gc2sx9kn6x 8 місяців тому

    ❤😂

  • @neotechfriend
    @neotechfriend Рік тому +1

    คอนเทนแบบต้นน้ายันปลายน้าทรงคุณค่า

  • @monsterfragile1947
    @monsterfragile1947 Рік тому +2

    อยากให้พี่เคนถ้าได้ถามหรือสัมภาษณ์​พูดคุยกับนายกคนใหม่ในอนาคต อยากให้ถามว่าจะผลักดันไทยเป็นแหล่งผลิตเซมิคอนดักเตอร์​ได้มั้ย หรือสนับสนุนให้ประเทศไทยเราเน้นอุตสาหกรรม​เทคโนโลยี อุตสาหกรรม​อิเล็กทรอนิกส์​มากขึ้นได้มั้ย เราประชากรเกิดน้อยแล้วให้คนไปทางเทคโนโลยี​น่าจะดีกว่า

  • @user-wv7nj9wx5y
    @user-wv7nj9wx5y Рік тому

    ประเทศเราขาดแค่การทำ wafer fab ส่วนอย่างอื่นเราทำได้หมดแล้วครับ เคยผ่านงานตรงนี้มาครับ ออเครื่องจักรนำเข้าต่างประเทศนะ55

  • @prayodjunpay6250
    @prayodjunpay6250 Рік тому

    ทำไม่ถามว่าจะใช้ซิลิกอนกระบวนการใช้เลเซอร์ทำให้ปิดเปิดในการดีไซน์

  • @prayodjunpay6250
    @prayodjunpay6250 Рік тому

    ต้องคุยแบบหัวใจที่เปิดปิดกระบวนการนำส่งพลังงานทำให้เปิดปิดเห็นภาพ

  • @narind1458
    @narind1458 20 днів тому

    ไทยจะไม่เหลืออะไรถ้าไม่ยืนด้วยลำแข้งของตัวเอง

  • @weerakornmisuna8174
    @weerakornmisuna8174 Рік тому

    ถ้าอยากเรียน electronic design สามารถหาเรียนที่ไหนได้บ้างครับเนี่ย ทั้งในไทยและต่างประเทศ ขอเรียนถามไว้เป้นแนวทางการวางแผนเรียนรู้ครับ

    • @chamluck
      @chamluck Рік тому +1

      สจล ลาดกระบังครับ

    • @bjw7666
      @bjw7666 Рік тому +1

      จากหนังสืออ.ยืน สมัยมัธยม…ผมหลงไหลและเอนเข้าสจล. จนจบมา 37 ปีแล้วครับ ความรู้ตามในคลิปนี้เลย ผลิตไดโอดได้เป็นที่แรกในไทย รอแต่ผู้ลงทุนจริง…มีช่วงนึงประมาณปี 48 มีข่าวคุณชาญ โดย Sub micron จะทำธุรกิจต้นน้ำ (Ingot) ด้วย แต่ก็ไม่เกิดขึ้นในไทย กลายไปเป็น TSMC ที่ใต้หวันแทน…

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 Рік тому +2

      ทำไมถึงอยากจะเรียนครับ ถ้าจะมาทำงานในภาคอุตสาหกรรม แทบไม่มีประโยชน์อะไรเลยครับ ผมจบ สจล มา เรียนรหัสแรกเข้า ปี 42 ผมทำงานมา 21 ปี ในภาคอุตสาหกรรม ผ่านมา 9 โรงงาน ตั้งแต่ เดลต้า อิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่สมัยโรงงานเคยให้โบนัสเป็นหุ้นกับวิศวกร จากราคา หุ้นละ 45 บาท ตอนนี้มันวิ่งไป 700 บาท ต่อด้วย ซันโย เซมิคอนดักเตอร์/ เซเลสติก้า/ฟาบริเนท / โซนี่เทคโนโลยี ที่ อยุธยา / โซนี่ อิเล็กทรอนิกส์ ที่ชลบุรี /ไทรอัมฟ์ มอเตอร์ไซค์ / ไทย สตีล เคเบิ้ล/ ล่าสุด เป็นบริษัทผลิตพาร์ทรถยนต์ บริษัทที่ 9 อยากจะบอกคุณว่า ไม่เคยสัมภาษณ์ใคร แล้ว นำวิชา อิเล็กทรอนิกส์ ดีซายน์ มาพิจารณาเลยครับ แต่ถ้าคุณมีแนวทางที่จะเป็นอาจารย์ หรือ ทำงานด้านนี้อย่างจริงจัง ผมก็ยังแนะนำให้เรียนที่ สจล ลาดกระบัง ไม่ใช่ว่าจบที่นี่แล้วอวย สถาบันที่ตนเองจบมา แต่ สจล สอน ป โท ไปได้ไกลจริงๆ เฉพาะทางครับ มีทั้ง Lab ที่ ตึกวน 4 ชั้น ภาคอิเล็กทรอนิกส์อยู่ชั้น 2 แต่ถ้าในต่างประเทศ ผมแนะนำ MIT ไปเลยครับ ไปให้ไกล แล้วได้บุคลากรดีดี มาพัฒนาเมืองไทยในรุ่นคุณต่อไป

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 Рік тому +1

      @@bjw7666 สวัสดีรุ่นพี่ สจล ด้วยนะครับ ผมจบระบบควบคุม ปัจจุบัน เด็กหนีไปเรียนภาควิชา แมคคราทรอนิกส์ กันหมดแล้วครับ ขนาดภาคคอมพิวเตอร์ที่ดังๆคะแนนสูงๆเมื่อสมัยนู้น ยังหาคนเรียนยากเลยครับ หนังสือของอาจารย์ยืน ภู่วรวรรณ ผมยังเก็บไว้อยู่เลยครับ แต่ซีเอ็ด เลิกพิมพ์ไปแล้วครับ ล่าสุดที่พิมพ์ หนังสือ อาจารย์ ยืน น่าจะ เป็นอิเล็กทรอนิกส์กำลัง เล่ม1และ เล่ม 2 ครับ ปี 50 ส่วนสจล มาได้ไกลในเรื่องอิเล็กทรอนิกส์ ต้องยกความดีให้ ศาสตราจารย์สิทธิชัย โภไคยอุดม คณบดี สจล เจ้าของ ม เทคโนโลยีมหานคร กับ ดร พีระศักดิ์ วรสุนทโรสถ คนนี้ทางญี่ปุ่นนำไปเป็นที่ปรึกษาโปรเจ็ครถไฟความเร็วสูงวิ่งบนเหนือราง บุกเบิกภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์สมัย 30-40 ปีที่แล้ว จนคะแนน ภาควิชาวิศวกรรมสมัยนั้น เทียบเท่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • @eerybuzzero9229
    @eerybuzzero9229 3 місяці тому

    เทคโนโลยีสุดโต่ง มันจะยิ่งไร้ค่าในอนาคต ภาพเคลื่อนไหวที่เร็วมาก ประสาทสัมผัสทั้งห้า เช่นตามนุษย์ก็ไม่รองรับกับความเร็วขนาดนั้น รายละเอียดสูงจนตาไม่สามารถแยกแยะได้เพราะมันเกินความสามารถ ระยะใกล้ กลาง ไกล ละเอียดชัดเท่ากันจนแยกไม่ได้ว่าใกล้หรือไกล เหมือนเครื่องเสียงไฮเอนด์ดิจิตอล ฟังแล้วเห็นภาพเป็นสามมิติ เสียงชัดแต่ขาดความสูงต่ำ ขาดมวลขาดน้ำหนักการสะท้อน ก้อง ที่ซับซ้อนจนการประมวลผลของระบบดิจิตอลยุ่งยากซับซ้อนมากในการออกแบบให้สมจริงตามธรรมชาติ เอาเข้าจริงยังสู้ความสามารถของหูมนุษย์ไม่ได้เลย ศาสตร์อย่างเดียวไม่พอจำเป็นต้องมีศิลป์ด้วย
    ระบบอนาล็อกแบบเป็นเชิงเส้นยังง่ายและต้นทุนต่ำกว่ามาก ออกแบบง่าย แม้จะไม่สุดโต่งเรื่องเทคโนโลยีแต่ผลพลอยได้กับเป็นงานศิลปะอย่างลงตัว ส่วนตัว ความรู้ทางไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ระดับมัธยมแต่ศึกษาด้วยตนเองต่อ ใช้สมาธิจิต ความสามารถเฉพาะตัวติดตัวมา ยังสามารถออกแบบงานทางเซมิคอนดักเตอร์อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้ไม่ยากอย่างที่คิด ไปได้ไกลถึงระดับนวัตกรรมขั้นเทพ ดอกเตอร์ทางวิศวกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ยังทำไม่ได้เลย

  • @user-tb6jr6se5m
    @user-tb6jr6se5m Рік тому

    นึกว่า ARM เป็นสถาปนิก ออกแบบ แล้ว Apple ซื้อมา Optimization ให้เป็นของตัวเองแล้ว จ้าง TSMC ผลิต

    • @2BuiThanhBinh
      @2BuiThanhBinh 9 місяців тому

      Bạn đã đúng, mọi công ty đều sử dụng chip của ARM, trừ Intel

  • @seksanrangsuwan8156
    @seksanrangsuwan8156 Рік тому

    อีกคลิปหนึ่งเสนอข่าวว่า ชิปมีมากเกินแล้ว สรุปช่องไหนถูกผิด คนดูตัดสินเอง

  • @jittapootowasakun1960
    @jittapootowasakun1960 Рік тому +7

    ไม่เคยสนใจเรื่องชิบมาก่อน แต่ได้มาฟังคลิปนี้ ฟังเข้าใจง่ายมาก

  • @nongmomokabnongyoda
    @nongmomokabnongyoda Місяць тому

    น่าจะสอนกันตั้งแต่ประถมเรื่องพวกนี้

  • @yuyy4012
    @yuyy4012 Рік тому

    เฮ้ยหน้าปกผมเห็นแว๊บนึงนึกว่ามาริโอ้

  • @wirattermpornpisuth2847
    @wirattermpornpisuth2847 Рік тому +2

    ทำงานเป็นสวิตไฟบนพื้นฐานวงจรปิด วงจรเปิด เลขมูลฐานสอง

  • @iamgod8019
    @iamgod8019 Рік тому

    Apple เป็นบริษัทเดียวในโลกที่ไม่มีโรงงานผลิตเป็นของตัวเอง ส่วนใหญ่จ้างผลิต ภายใต้แบรนด์ apple

  • @user-uc2cr3ji4m
    @user-uc2cr3ji4m Рік тому +3

    คนไทยต้องสร้างชิพควอนคัมใหม่สถาปัตยกรรมใหม่ที่เจ๋งกว่า

  • @success1315
    @success1315 Рік тому

    ได้ความรู้ประเทืองปัญญามากๆครับ