วิธีเอาตัวรอดในยุค AI ครองเมือง by Dr. Li Jiang จาก Standford

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 19 вер 2024
  • Dr. Li Jiang เป็นผู้อำนวยการของ Stanford AIRE (AI, Robotics และ Education) เป็นผู้ที่ศึกษา ค้นคว้า และทำการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องของ AI, Robotics และ Education มาเป็นเวลาหลายปี และได้รับรางวัลต่าง ๆ มากอย่างมากมายเกี่ยวกับด้านนวัตกรรม
    โดยงานวิจัยที่ทางดอกเตอร์เขาต้องการมุ่งเน้นในปัจจุบันนี้ก็คือ การวิจัยถึงการมาของปัญญาประดิษฐ์ ว่ามันจะส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษาของเราอย่างไรบ้าง และเราจำเป็นที่จะต้องปรับระบบการศึกษาของเราเพื่อรองรับการมาของยุคหุ่นยนต์ ยุคปัญญาประดิษฐ์ แบบเต็มขั้น
    ---------------------------------------
    ร่วมเป็นสมาชิก Supporter เพื่อสนับสนุน Blue O'Clock ในการผลิตสื่อการเรียนการศึกษา
    / blueoclock
    ---------------------------------------
    อ่านเวอร์ชั่นบทความ - www.blueoclock...
    กดติดตามช่องตรงนี้เลย - bit.ly/Subscrib...
    Resources
    • Survival Strategies in...
    aire.stanford....
    alphafold.ebi....
    triodeproducts...
    extreme.stanfo...
    • AlphaFold: The making ...
    shankarsblog.c...
    Images/Videos credit
    www.canva.com/
    commons.wikime...
    • AlphaFold: The making ...
    ติดตามพวกเราได้ที่
    Facebook : / theblueoclock
    Website : www.blueoclock...
    Academy : bit.ly/bocacademy
    ติดต่อเรื่องงาน/โฆษณา/สปอนเซอร์/ผลิตวีดีโอ
    Email : blueoclockstudios@gmail.com
    Facebook : m.me/theblueoc...

КОМЕНТАРІ • 22

  • @BlueOclock
    @BlueOclock  Рік тому +2

    ร่วมเป็นสมาชิก Supporter เพื่อสนับสนุน Blue O'Clock ในการผลิตสื่อการเรียนการศึกษา
    ua-cam.com/users/blueoclockjoin

  • @เสมียนสัสดี20

    ขอบคุณในความรู้ที่มอบให้ มีประโยชน์สำหรับทุกวัยจริงๆ

  • @kittiponglimsuepchuea4941
    @kittiponglimsuepchuea4941 10 місяців тому +1

    ขอบคุณค่ะ

  • @Annie008
    @Annie008 Рік тому +3

    ที่บอกว่ามนุษย์มีการทำงานที่เริ่มจากศูนย์ คือมนุษย์มีจินตนาการที่เราสามารถคิดและออกแบบ เอไอก็มีหน้าที่เป็นเครื่องมือสร้างให้มนุษย์อีกที

  • @dogethsamurai2390
    @dogethsamurai2390 Рік тому +1

    Thank you
    This video provides strategies for survival in the era of artificial intelligence. The Stanford-based expert outlines key steps to adapt and thrive, emphasizing the importance of continuous learning, creativity, and collaboration with AI systems.

  • @Aem_88
    @Aem_88 Рік тому +2

    ขอบคุณครับ

  • @Sonh072
    @Sonh072 Рік тому +2

    Thank you 🙏🏻 so much ⭐️👨‍💼⭐️

  • @titleguitar3304
    @titleguitar3304 Рік тому +5

    ❤❤❤❤❤ขอบคุณครับสำหรับความรู้ที่ไม่มีโรงเรียนสอน

  • @thicornsap6951
    @thicornsap6951 Рік тому +7

    ตอนนี้รอจิ๊กซอว์ตัวสุดท้าย นั่นคือควอนตัมคอมพิงเตอร์ ถึงตอนนั้น AI จะน่ากลัวที่สุด

    • @kiartinitikun
      @kiartinitikun Рік тому +2

      ตั้งหน้าตั้งตารออยู่ค่ะ

    • @TheMhephoo
      @TheMhephoo Рік тому

      วันสิ้นโลกสินะ

  • @AT24z
    @AT24z 9 місяців тому

    🙏

  • @RAHU556
    @RAHU556 6 місяців тому

    Ai ปัจจุบันใช่แต่ Ai อีก 15ปี ข้างหน้าหรืออาจไม่ถึงบอกแค่เป้าหมายเท่านั้น..วิธีรอดทางเดียวคือออกกฎหมายควบคุมการใช้ Ai ทดแทนแรงงานมนุษย์..

  • @กิตติแซงบุญเรือง-ส4ผ

    Aiมีอยู่2แบบ 1.แบบเหมือน 2.แบบไม่เหมือนครับ.

  • @maxrichmanth
    @maxrichmanth Рік тому

  • @aaaaaazaa2658
    @aaaaaazaa2658 Рік тому +1

    🙏😊

  • @smart_1
    @smart_1 Рік тому +3

    การสอนแบบเดิมมันทำให้มนุษย์มีวิวัฒนาการ

    • @NutRose-io8xy
      @NutRose-io8xy Рік тому +1

      ยายคิดว่าต้องมาเรียนรู้เพิ่มเพื่อที่สามารถสื่อสารกับลูกหลานแล้วล่ะค่ะ😂😂🎉🎉🎉❤❤❤

    • @chantaraslimphiphat8792
      @chantaraslimphiphat8792 Рік тому +1

      ป้าก็คิดว่า เราควรดำรงการเรียนแบบเดิมด้วยเพื่อรู้เรื่องสิวัฒนาการ และควรรับความรู้ใหม่จากเอไอด้วย ...