เวลาของเรา ไม่เท่ากัน? | Time Dilation

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 6 вер 2024

КОМЕНТАРІ • 234

  • @MLHFmath
    @MLHFmath  Рік тому +14

    สมัคร Membership!: www.youtube.com/@mlhfmath/join

  • @karbird1
    @karbird1 Рік тому +26

    เข้าใจล่ะ สำหรับพื้นที่กับเวลา
    ถ้าพื้นที่มีมากกว่า เวลาของมวลและพลังงานที่อยู่ในพื้นที่ที่มากกว่านี้ เวลาจะเดินผผ่านไปเร็วกว่า
    ในทางกลับกัน ถ้าพื้นที่น้อยกว่า มวลและพลังงานถูกบีบอัดมากกว่าตัวอย่างเช่น หลุมดำ เวลาจะไหลช้ากว่าหรืออาจหยุดนิ่งหรือเวลาอาจถูกไหลย้อนกลับได้นั่นเอง

  • @Particles-Wipe_Universe
    @Particles-Wipe_Universe Рік тому +100

    เอาของยากๆ มาอธิบายให้เข้าใจง่ายๆอีกแล้ว สุดดยออดด👍👍👍

    • @Vsixty4
      @Vsixty4 Рік тому +1

      พิมอธิบายที่เขาพูดให้อ่านหน่อย

    • @Zanjiora
      @Zanjiora Рік тому +1

      ใช่ครับคลิปนี้อธิบายเข้าใจมาก

    • @theapeek9460
      @theapeek9460 Рік тому

      ​ก็ตามในคลิปไง

    • @eakkalaksuposan639
      @eakkalaksuposan639 Рік тому

      @@Vsixty4ให้เค้าพิมสรุปในคลิบให้มึงฟังบ้าเปล่า ใครจะมานั่งพิมอธิบายให้คนโง่บ้าง เสียเวลา

    • @inzoommer
      @inzoommer Рік тому +9

      @@Vsixty4ขวางโลกจัด

  • @BasicDash
    @BasicDash 7 місяців тому +6

    เข้าใจตรงยกตัวอย่างนี่แหละครับ สุดยอดเลย 🤩 เคยสงสัยว่าเวลาต่างกัน แล้วสิ่งมีชีวิตแก่ช้ากว่า แสดงว่าปรากฏการณ์นี้มีผลในด้านชีววิทยาด้วยไหมนั่น 😮

  • @krishnanilkamhaeng5011
    @krishnanilkamhaeng5011 Рік тому +8

    น้องอธิบายเก่งนะ ทำให้คนที่กำลังเข้าวัยลุงอย่างเราเข้าใจได้ น่าอิจฉาเด็กยุคนี้ที่การเรียนรู้หาได้และเข้าถึงง่าย ถ้าเป็นยุคสมัยการศึกษาของเราเมื่อก่อนละก็ หาคนที่จะมาอธิบายให้เข้าใจแบบนี้ยากมาก

  • @user-nf5ps6ze6r
    @user-nf5ps6ze6r Рік тому +4

    ฟังจนจบ ก็งงอยู่ดี ครับ แต่ก็สนุกดีครับ ตัวกาตูน น่ารักดีครับ 😅

  • @pxprim9987
    @pxprim9987 Рік тому +7

    แต่สุดท้ายแล้วร่างกายเราจะแก่หรือเด็กมันไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวเลขบนนาฬิกา หรือ ความเร็วแสง มันก็ขึ้นอยู่กับการเสื่อมสภาพของเซล ต่อให้เวลาผ่านไป ๑ ชม ร่างกายเราก็ควรจะแก่ลงเท่ากับ ๗ ปีรึป่่ว

    • @monggoletto8894
      @monggoletto8894 Рік тому +5

      ไม่คับ จะแก่ลง 1 ชั่โมง ปฏิกริยาเคมี อนุภาค ทุกอย่างที่อยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วงที่ก่อให้เกิด Time Dilation ก็จะเดินช้าตาม

    • @prachyainpa4176
      @prachyainpa4176 Рік тому

      ใช่อันนี้น่าคิดนะครับ

    • @arnonintus6600
      @arnonintus6600 7 місяців тому

      คิดเหมือนกัน อยากรู้คำตอบด้วย

    • @CinderaLaTer
      @CinderaLaTer 5 місяців тому

      คนที่เคลื่อนที่ได้ไกล้เคียงความเร็วแสง เวลาของเค้าจะช้าลงครับ ทำให้แก่ช้า

    • @lucreasia.
      @lucreasia. 19 днів тому +1

      ไม่ใช่ เวลาของคนที่อยู่บนดาวดวงนั้น 1ชั่วโมง=1ชั่วโมง เซลล์ของเค้าก็เสื่อมสลายไปเท่ากับ 1 ชั่วโมง
      การที่บอกว่า 1 ชั่วโมง = 7 ปี คือการเทียบเวลาของคนสองคนที่อยู่บนดาวอีกดวงกับโลก ถ้าไม่มีตัวเทียบ จะ1ชั่วโมงของใครก็เหมือนกัน แค่เพียงเมื่อเทียบกับโลก 1 ชั่วโมงของเค้ายาวนานกว่าโลก
      ถ้าสามารถวาร์ปไปอยู่บนดาวดวงนั้น2ชั่วโมง แล้วกลับมาโลก เราก็จะแก่ไปสองชั่วโมง ส่วนคนบนโลกก็จะแก่ไป 14 ปี

  • @hut5555
    @hut5555 Рік тому +26

    คลิปหน้า น่าจะเป็นเรื่อง Gavitational Lens นะคับ มันเป็นหลักฐานที่ยืนยันว่าสัมพันธภาพทั่วไปเป็นจริง

    • @nedstark9238
      @nedstark9238 Рік тому +2

      สัมพัทธภาพ นะครับ

    • @My1447
      @My1447 Рік тому

      ​😮😢😮😢😊🎉🎉🎉🎉😊🎉😊😊🎉😊🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉😊😂😂😂😂😂😂😂😂😂😢😮😮😮😮😮😢😮😮😮😮😮😮😮😮😮😮😮😮😮😮😮😮😮😂😂😂😂😂😂😂😂🎉😮😂😂😮😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂😊😊😊😊😂😊😂😂😂😊😊🎉😊😊😮😮😊😂😂😮😂😂😮😂😮😂😮😮😂😂😂😮😂😂😮😮😂😂😮😂😮😂😂😂😂😮😂😂😂😂😮😂😮😂😂😮😮😮😮😮😮😂😮😂😂😮😮😮😂😂😂😮😂😮😮😮😮😢😂😊😢😮😮😂😂😂😂😂😂😂😂😮😂😂😂😂

    • @My1447
      @My1447 Рік тому

    • @My1447
      @My1447 Рік тому

      😂 6:😂😮🎉😮30 ำพ😊😂😮😂😂😮

    • @My1447
      @My1447 Рік тому

      ​@@nedstark9238🎉😅

  • @zhalvia
    @zhalvia Рік тому +4

    แอบขอแก้ไขว่าค่าสัมบูรณ์คือค่า c นะครับไม่ใช่ความเร็วแสง หรือจะพูดว่าความเร็วแสงก็ได้แต่วงเล็บเอาไว้ว่าคือความเร็วแสงที่ค่าสูงสุด ( upper limit) ซึ่งเท่ากับความเร็วแสงในสุญญากาศครับ 🙏

  • @notcategory6125
    @notcategory6125 Рік тому +7

    สิ่งที่ทุกคนควรรับรู้ไว้…เราไม่สามารถเข้าไปในเขตที่เวลาเดินช้าได้ เพราะ ขนาดเวลาและกาลอวกาศยังบิดเบี้ยว ฉะนั้นน่าจะไม่มีวัตถุใดที่ทนต่อแรงขนาดนั่นได้

    • @Kaaa_002
      @Kaaa_002 4 місяці тому

      ใช่แล้วครับ ขนาดผมไม่ได้เรียน ผมก็สัมผัสได้ ถ้าไปในเขตเวลาที่ช้า หูเราจะอื้อ เหมือนจะวูบดับ ผมเป็นตอนขี่รถขึ้นเขา และปิดแอร์ รถเกือบขึ้นไม่ไหว

  • @chaleevaj
    @chaleevaj 8 місяців тому +1

    เวลาคือช่วงขณะที่เคลื่อนไหลอย่างสม่ำเสมอไปสู่อนาคต ทำให้สะดุดหรือหยุดไม่ได้ สร้างขึ้นไม่ได้ ทำลายไม่ได้ ไม่มีจุดเริ่มต้น ไม่มีจุดสิ้นสุด ไม่มีตัวตน สัมผัสไม่ได้ และไม่ต้องการที่อยู่

    • @arthitsan2128
      @arthitsan2128 7 місяців тому

      เวลาไม่มีอยู่จริง มันเป็นแค่หน่วยวัดที่มนุษย์สมมุติขึ้นมา

  • @hut5555
    @hut5555 Рік тому +5

    สัมพันธภาพพิเศษ มันจะมีสมการลอเรนซ์ อยู่ด้วยคับ เป็นสมการไว้คำนวณอัตราการหดตัวของความยาว
    การยืดหดของเวลา เเล้วก็พลังงานสัมพันธ์(มวลสัมพันธ์) โดยมีค่าคงที่ลอเรนซ์ในสมการ
    ส่วนสัมพันธภาพทั่วไปจะมองอวกาศเป็น 3+1 มิติ (กว้างxยาวxสูง + เวลา) รวมเป็นกาลอวกาศ
    เมื่อวัตถุที่มีมวลมากๆ ก็จะทำให้กาลอวกาศบิดโค้ง(ความโน้มถ่วง) เเล้วเมื่อเเสงวิ่งผ่ากาลอวกาศที่บิดโค้งทำให้ เเสงมันเดินทางช้ากว่า เเสงที่เดินทางในกาลอวกาศปกติ ทำให้เวลาของผู้สังเกตบริเวณใกล้วัตถุที่มีมวลมากๆ เวลาจะไหลช้ากว่าผู้สังเกตบนโลกคับ

  • @Kinyummai
    @Kinyummai Рік тому +11

    ชอบสไตล์การเล่ามากครับ ทำต่อไปนะครับ รอชมเสมอ❤

  • @plawan00021
    @plawan00021 Рік тому +1

    ว่าที่ช่องแสนซัพ คอนเท้นดีและมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง ถ้าครูในรร สอนแบบนี้ทุกคน เราจะมีนักวิทยาศาสตร์ไทยเพิ่มขึ้นเยอะเลย

  • @tanin200
    @tanin200 11 місяців тому

    ดีเลยครับ ปกติไม่ค่อยมีใครพูดถึง แรงโน้มถ่วง ส่วนใหญ่พูดแต่ เรื่องความเร็วของ สัมพัทธภาพพิเศษ

  • @saisalyn
    @saisalyn 11 місяців тому +1

    โชคดีจังที่เจอช่องนี้❤

  • @motojojos
    @motojojos 3 місяці тому

    คลิปนี้เอาไปเปิดในโรงเรียนได้เลยนะ ดีมาก ๆ ไม่เครียดจนเกินไป

  • @he700cc6
    @he700cc6 10 місяців тому +1

    จริง ถึงว่า เวลา วันทำงาน จ-ศ เดินโคตรช้า พอ เสา-อาทิต นอนขี้เกียจ บิดไปมาที2ที เช้าวันจันทร์สะแล้ว เห้อออออ ควรดีใจใช่มั้ยที่ไม่ได้คิดไปเอง
    เวลาคือสิ่งสัมพัทจริงๆ ผมเชื่อ

  • @otikamporn
    @otikamporn 2 місяці тому +1

    ในหนังมันเวอร์ไปหน่อย ถ้าเวลาเดินช้าขนาดนั้น แรงโน้มถ่วงจะต้องมาก จนไม่สามารถรอดกลับมาได้

    • @squidprogrammer
      @squidprogrammer Місяць тому

      ถ้าพูดถึงที่ดาวมิลเลอร์อันนั้นไม่มีปัญหาครับ มันเป็นสนามโน้มถ่วงจากหลุมดำไม่ใช่ที่ดาวเพราะงั้นไม่เป็นปัญหาครับ

  • @huhavsz
    @huhavsz 2 місяці тому

    4:10 ถ้าคนที่อยู่นอกจรวด อยู่ระดับแนวเดียวกับคนในจรวดระนาบเดียวกัน มองไปทางเดียวกัน จะเห็นนาฬิกาแสดงของคนในจรวดช้าลงมั้ยครับ ?

  • @firefrook
    @firefrook 11 місяців тому

    ขอบคุณ สำหลับ สาละ ดีดี คับ
    อธิบายภาษาไทยได้ชัดเจน ฟัง ลู้เลื่อง ดีคับ หนังดูท่าจะสนุกดีนะคับ
    ผมตั้งใจฟังอย่าง เลียบล้อย เหมือน เลียน ใน โลงเลียน เลย คับ
    ชอบคิบนะคับ จะติดตามผลงานนะคับ

  • @user-mb3pv4bk8k
    @user-mb3pv4bk8k 9 місяців тому

    ...รอบวงกลมที่ต่างกัน เส้นวงกลมที่ไม่เท่ากัน แม้จุด ก็ไม่เท่ากัน มันเป็นเพียงกำหนดสมมุติที่มีผลเป็นจริง
    ...ข้าพเจ้าคิด? ในส่วนความคิดที่ไม่มีทฤษฎี เป็นจินตนาการที่ไม่เชื่อในจินตนาการ เข้าใจในความไม่เข้าใจ ของผู้ไม่มีความรู้ และอยากรู้ อยากทำ อยากคิดอยากพูด อยากจินตนาการ
    ...เดาเอาว่า (เวลา) คือการเวียนรอบของวงกลมที่กำหนดสมมุติไม่เท่ากันของช่วงฯ.
    ...เวลาของดวงอาทิตย์กำหนดไม่ได้ด้วยดวงอาทิตย์ กำหนดได้ด้วยดาวโลก ตามความสมมุติต่างๆเกิดขึ้นจากผู้ที่อยู่ดาวโลก.
    ...ความเร็วของเวลากำหนดขึ้นจากจิตมนุษย์ที่เรียนรู้จากธรรมชาติ และจากจิตเกิดดับของตัวเองที่กำหนดสมมุติใช้ร่วมกัน
    ...จิตมีความเร็วในเกิดดับเหมือนไฟฟ้าเอซีที่จิตค้นเจอแต่เร็วยิ่งกว่ากำหนดเวลาวัดไม่ได้ จึงความว่า(เวลา)ไม่คงที่ ไม่ตายตัว.เพราะจิต เกิดดับ เร็วกว่าแสง แต่อวัยวะของร่างกายที่จิตครองทำตามความเร็วของจิตสั่งไม่ได้ จึง? จึงสร้างเครื่องมือขึ้นใช้ขึ้นวัด เช่น คอมพิวเตอร์ กลไกร เครื่องยนตร์ฯ.เพื่อวัดความเร็วของจิต กระนั้นยังวัดไม่ได้ในปัจจุบันว่ามีความเร็วประมาณใด วัดได้แต่ในส่วนนอกจิต เปรียบเหมือนจิตนี้เป็นจักรวาล ถึงแสนโกฏฐจักรวาลที่แสงไปไม่ถึงเหมือนจิต.
    ...แม้แสงก็วัดได้ แม้คลื่น ความถี่ พลัส เลเซอร์ เสียงฯ. ที่เกิด แม่เหล็ก ไฟฟ้า ต่างๆจากปัญญาประดิษฐ์ของมนุษย์ก็วัดได้กำหนดบัญญัติทฤษฎีขึ้นใช้ได้ จากการคิดกำหนดของ"จิต"
    ...อิเลคตรอล ไปรตรอล อะตอม นิวเคลียสฯ จิตก็เข้าไปรู้การเกิดดับของมันได้ว่าเกิดอย่างไร มีตัวตนแบบไหนทำหน้าที่อะไรของเเต่ละตัวตน. นี้ก็จิตเร็วเเละรู้หมดฯ.
    ...แต่ความเร็วจิตมีใครกำหนดได้ว่าเร็วเท่าไหร่ เมื่อออกจากความเพ่งจิตสู่จุดหมาย มีเวลาเกี่ยวด้วยไหมวัดได้อย่างไรใครมีผลลับออกมาจากค้นคว้าหาคำตอบ.
    ...ความเพ้อละเมอของข้าพเจ้านี้ จึง? "เวลา"กำหนด ตายตัวไม่ได้กับวัฏฏจักรของสรรพสิ่ง เพียงแต่(สมมุติ)ขึ้นใช้กับหมู่มนุษย์โลกเท่านั้นตามผลที่ได้จึงบัญญัติทฤษฎีไว้ และอาจมีทฤษฎีที่เปลี่ยนจากเก่าหรือลบทฤษฎีเก่าทิ้งไปคงมี
    🌾สรณะนี้สูงยิ่งเป็นพยาน🌾
    .....................
    ส.ทับถมอาจจะเป็นคนบ้า

  • @user-td9lj1dc5v
    @user-td9lj1dc5v Рік тому

    คลิปนี้ ผมกดติดตามแบบไม่ลังเลเลย กระชับ ง่าย ภาพสวย ครบ

  • @gun-jp1bv
    @gun-jp1bv 7 місяців тому

    แบบว่า เวลา ขึ้นอยู่กับสติของผู้รับรู้เวลา รู้เร็วเวลาก็จะนานกว่าคนรู้ช้า
    สติเร็วรู้2 วิ สติช้ารู้1วิ งี้ไหมครับ
    และการรับรู้สติ ก็ขึ้นอยู่กับขนาดมวลและการเคลื่อนที่ ยิ่งมวลมากเคลื่อนที่เร็วมากเวลายิ่งช้า
    เหมือนตอนเคลียดๆเวลาเราจะนานกว่าตอนสนุกไม่คิดอะไร
    มวลมากต้องรู้เยอะ

  • @kulapat_1132
    @kulapat_1132 Рік тому +3

    อยากดูวันนี้พอดีเลย5555

  • @meospekers
    @meospekers 7 місяців тому

    ผมรบกวนสอบถาม การที่เพื่อนเราเคลื่อนที่ออกไป เมื่อมองในมุมเพื่อนเราก็เคลื่อนออกจากเพื่อนด้วยอัดตราความเร็วเท่ากันไม่ใช่หรอครับ ทำไมเวลาของเพื่อนถึงเคลื่อนที่ช้ากว่าครับ

  • @pongs0075
    @pongs0075 11 днів тому

    แล้วจะหัวใจวายไหมครับ ถ้าเวลาเดินช้าลงขนาดนั้น หัวใจคงจะเต้นช้าลง จนเต้นผิดจังหวะ เราคงไม่รอดหรือเปล่าครับ?..

  • @patsadamnilphay6826
    @patsadamnilphay6826 Рік тому +2

    รอชมเรื่อง gravitational time dilation อยู่ครับ

  • @kmnbon
    @kmnbon 10 місяців тому +1

    อธิบายเข้าใจง่ายมากครับ❤❤

  • @yadanawamin3646
    @yadanawamin3646 Рік тому +1

    เข้าใจง่ายสุดเท่าที่ดูคลิปมา

  • @nikoplus771
    @nikoplus771 Рік тому

    สงสัยคับ ที่สมองรู้ว่าเสียงมาจากด้านไหนน่าจะเป็นเพราะเสียงจากด้านนั้นดังกว่ารึเปล่าคับ ไม่ใช่เดินทางมาถึงไม่พร้อมกัน

  • @punkrockneverdie
    @punkrockneverdie Рік тому +2

    💪บอกเลยผมดูหนังเรื่องนี้น่าจะ 4-5 รอบได้ถึงจะเข้าใจครับ..มาฉายในทางช่อง HBO อีก กว่าจะมาทำความเข้าใจ...ได้...และต้องมาฟังรีวิวถึงอ้อๆ...😁

  • @panyasangwan4222
    @panyasangwan4222 4 місяці тому

    รูป2รูปที่เป็นกล่องเวลานะ ถ้าแกนx คือแกนของเวลา แกนy ควรจะเป็นแกนของอะไร จะเรียกมันว่าระยะทางรึเปล่าครับ ถ้ามองแบบนี้ด้วยระยะเวลาเท่ากัน กล่องบนจะวิ่งได้ระยะที่ไกลกว่า แล้วถ้าเปลี่ยนเป็นว่าระยะทางที่กล่องบนและล่างเดินด้วยระยะเท่ากัน ดังนั้นแล้วกล่องบนจะใช้เวลาน้อยกว่ากล่องล่างครับ 😮😅😊 สนุกดีครับลองคิดถึงความเป็นจริง โดยที่ผมมีโลจิกแบบนี้นะ ลองมองและคิดถึงความเป็นจริง บ้างครั้งบางอย่างถูกสรุปให้เข้าใจ ผล ได้ง่าย แต่เราไม่เข้าใจถึง เหตุ ของมัน 555+ คลิปดีครับทำต่อเรื่อยๆ

  • @kawahi01
    @kawahi01 7 місяців тому

    ผมถามหน่อยสิ แค่สงสัยจากทฤษฎีในคลิบ
    ถ้าสรุปสั้นว่า ยิ่งไกลออกไป เวลาจะยิ่งยืดออกไป เหมือนกับ นายA อยู่บนโลก นายB อยู่บนยาน นายA บอกตรงนี้ผ่านไป2วิ นายBบอกอะไร พึ่ง1วิเอง
    ยกตัวอย่างที่มีอยู่จริง ยาน voyager 1 ที่ถูกปล่ออยออกไปจนจะหลุด ระบบสุริยะ ของเราไปแล้ว ตั้งแต่สตาทจากโลกไป ยานก็บันทึกภาพและส่งมาตลอด
    สมมุติว่า
    ถ้าสามารถเรียกยานให้เลี้ยวกลับมาได้ และยังคงบันทึกภาพขณะกลับมา
    เวลาบนยาน ต้องช้ากว่ามากๆๆ อาจจะเปนปีๆ เช่น ยานถูกปล่อยตอนปี 1977 ปัจจุบัน ก้ทำหน้าที่พุ่งตรงไปประมาณ 46ปี ถ้าสั่งให้ย้อนกลับมา อีก46ปี เมื่อถึงโลก นาฬิกาเวลาบนตัวยาน ต้องช้ากว่านาฬิกาบนโลก ห่างกันเปนปีๆ เลย ถูกมั้ย?

  • @user-lq7gh7xl4q
    @user-lq7gh7xl4q Рік тому +2

    สนุกมากค้าบพี่ชาย ทำอีกเยอะๆนะครับ

  • @user-vz7je3wv4b
    @user-vz7je3wv4b Рік тому +1

    คนอยู่บนยานที่ความเร็วไกล้แสงไปกลับดาวกฤษณ์ใกล้ที่สุดระยะทาง4.25ปีแสง ไปกลับ=8.5ปี แต่เวลาบนยานใช้เวลาไปแค่ 1 ชม 20 นาที อันนี้ผมเข้าใจถูกนะแอด

  • @mayamilism
    @mayamilism Рік тому

    โอ้โห เนื้อหาลึกและดีมาก ตัวอย่างเห็นภาพเข้าใจง่ายมาก ผมได้ค้นพบช่องในอุดมคติของผมแล้ว

  • @nukkeydimsum7705
    @nukkeydimsum7705 Рік тому +3

    ชอบๆครับอธิบายง่ายเข้าใจดี ติดตามเลยครับ❤❤

  • @Bunger_Man
    @Bunger_Man Рік тому

    ผมฟังแล้ว ก็ยัง งง งง
    ต้องลองฟัง อีก 4-5 รอบ
    ขอบคุณครับ สำหรับ ข้อมูล

  • @papa.channel
    @papa.channel Рік тому +1

    ผมมีคำถามครับ ช่วยอธิบายเพิ่มหน่อย หรือมี clip อื่นที่คุณอธิภายใว้แล้ว แปะ link ได้ครับ
    ในความเร็วขึ้นอยู่กับผู้สังเกตุ หมายความว่าใครนิ่งใครเคลื่อนที่ขึ้นอยู่กับผู้สังเกตุ เช่น
    -คนที่อยู่บนยานก็มองเห็นอะตอมแสงของผู้ที่อยู่โลกเคลื่อนที่เป็น เฉียงไปมาเหมือนกัน. อีกในหนึ่งคือ ยานนั้นอาจอยู่นิ่ง แต่คนที่อยู่บนโลกต่างหากที่เคลื่อนที่ แล้วกับมาเจอกับเมื่อโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ครบรอบ ใครจะแก่กว่ากัน
    - อีกเรื่องคือ เวลาที่คุณอธิบายมาคือการนับการเคลื่อนที่ไป-มา ของแสงที่คุณอธิบายเข้าใจดีมากเลย แต่ถ้าผมใช้นาฬกาที่ใช้หลักการอื่นละ ที่ไม่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่เช่นไขลาน หรือผมนับจำนวนครั้งที่หัวใจเต้น คนที่ขึ้นยานไปกลับมาเจอกันอีกครั้งจะมีจำนวนหัวใจเต้นน้อยกว่าใหม จึงทำให้แก่ช้ากว่า เหมือนตัวสล็อต ที่คิดว่าหนึ่งวันสั้นนิดเดียว แต่จริงคือมันเชื่องช้าเอง
    หรือถามให้เข้าในง่าย หาก2คนดูหนังเรื่องเดียวกันคนละเครื่อง คนหนึ่งออกไม่กับยานจรวจ แล้วกลับมา เทียบกับอีกครั้ง หนังคนที่โลกจะจบก่อนใหม และคนบนยานจะเห็นหนังยืดเป็นหนัง slow หรือเปล่า
    ที่คุณอธิบายคือการอธิบายที่มาของสูตร ซึ่งมันถูกต้องและมันถูกพิสูจน์มาแล้วนั้นทำได้ดีมากเข้าใจเลย แต่คนที่ยังติดอยู่ในเวลาสมบรูณ์ยังอธิบายออกจากมันได้ยาก

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  Рік тому +1

      1. คนที่อยู่บนโลก แก่กว่าคนที่ไปวนมาอยู่ในจรวดครับ มีชื่อว่า twin paradox เพราะตอนแรกมันเหมือนว่าต่างฝ่ายจะต่างเห็นอีกฝั่งเวลาเดินช้าลง
      2. จะใช้นาฬิกาแบบไหนก็ไม่เกี่ยวครับ เพราะเวลามันเดินช้าลงจริงๆ โดยที่ไม่เกี่ยวกับแสงเลย ต่อให้เราวิ่งอยู่ในที่มืดๆ เวลามันก็ช้าลง
      3. คนบนโลกเห็นหนังที่คนบนยานดูเป็น slow motion ครับ นึกภาพว่าถ้าคนบนยานลุกนั่ง 1 ครั้งทุก 1 วินาที เราก็จะเห็นเค้าขยับตัวช้าลงเหมือนกัน

    • @kunmooks.3451
      @kunmooks.3451 10 місяців тому

      คิดง่ายๆคือ เวลาเรามองดาวนอกโลกตาเปล่า เราเห็นดาวอยู่นิ่งๆไม่เคลื่อนที่ไม่หมุน แต่จริงๆมันทั้งเคลื่อนที่และหมุนอยู่ตลอดอ่ะค่ะ ..ง่ายๆแบบนั้นเลย ไม่มีอะไรในจักรวาลที่นิ่ง มันขยายตัวตลอดเวลา เลยทำให้ตำแหน่งทุกตำแหน่งในจักรวาล เวลาไม่เท่ากัน

  • @TheTosdotcom
    @TheTosdotcom 2 місяці тому

    อธิบายได้เข้าใจง่าย สุดยอดมากครับ 😊

  • @user-um2zu5xw1u
    @user-um2zu5xw1u 7 місяців тому

    รอ gravitational time dilation นะคะ ฟังคลิปนี้ซ้ำ10 รอบแล้ว 😂

  • @gaviel5750
    @gaviel5750 Рік тому

    คลิปเดียวเข้าใจเลย ขอบคุณมากครับ

  • @ccr4igg
    @ccr4igg 11 місяців тому

    เราดูซ้ำสองรอบถึงเข้าใจอะค่ะ นี่แอบวาดภาพตามด้วย กว่าจะจินตนาการได้555

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  11 місяців тому

      ขอบคุณที่พยายามฟังตั้งสองรอบนะครับ :D

  • @stamppppp
    @stamppppp Рік тому +4

    สุดยอดครับพี่แมท

  • @jamesapisit6069
    @jamesapisit6069 Рік тому

    คลิปดีมาก ภาพประกอบทั้งหมดช่วยให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นเยอะเลย

  • @kinetix9919
    @kinetix9919 Рік тому +1

    ชอบการนำเสนอมากครับ 😆

  • @AOFFX
    @AOFFX Рік тому

    ยอมรับเลยว่าเห็นปกคลิปคิดว่าสปอยหนัง(ส่วนตัวไม่ชอบ) แต่ก็ลองเปิดใจดูเอ้า ข้อมูลล้วนๆเลยนินา

  • @azuretooth
    @azuretooth 10 місяців тому

    หนังก็อยากนำเสนอจัด จนลืมนึกไปว่าแรงโน้มถ่วงขนาดที่ทำให้อวกาศมันเบี้ยวได้ขนาดนั้น สิ่งมีชีวิตมันจะทนอยู่ได้ยังไง
    แรงโน้มถ่วงกาแกนทัวร์ที่หนังเล่า มันแรงขนาดที่ดูดน้ำในดาวปริมาณหลายล้านตันสูงขึ้นไปหลายกิโลเมตร จนน้ำส่วนอื่นนี่แห้งติดพื้นดาว แต่คนนี่ยังเดินติดพื้นดาวอยู่เลย

    • @squidprogrammer
      @squidprogrammer 8 місяців тому

      จริงๆเรื่องนี้ผมว่าน่าจะพอได้อยู่นะครับ น้ำมันเป็นของเหลวอีกทั้งยังมีแรงตึงผิวซึ่งอ่อนไหวต่อสนามโน้มถ่วงสูง ผมว่าตรงนี้ก็ยังปกติครับ แถมกาแกนทัวร์เป็นหลุมดำแบบหมุนด้วยซึ่งต้องคิดเรื่องโมเมนตัมเชิงมุมตรงจุดนี้จะทำให้สมการความโน้มถ่วงมันซับซ้อนขึ้นผมไม่รู้แล้วว่าคำนวนยังไงแต่เห็นว่าความโน้มถ่วงของกาแกนทัวร์จะอ่อนลงไปแล้วจะไม่ฉีกวัตถุออกเป็นชิ้นๆซะทีเดียวทำให้สามารถเข้าใกล้ event horizon ได้มากกว่าปกติ แถมตัว accretion disk ส่วนใหญ่จะเกิดจากการที่พวกเข้าใกล้หลุมดำมากจนได้รับพลังงานจลน์จากการถูกเหวี่ยงอย่างรุนแรงจนถูกฉีกออกแทนที่จะเป็นความต่างความโน้มถ่วงเหมือนหลุมดำที่ไม่หมุนอื่นๆ

  • @eif7257
    @eif7257 Рік тому +3

    ผมอยากรู้ว่า​ เป็นแบบนั้น​ ร่างกายคนที่เวลาไม่เท่ากัน​ ความแก่​ จะเท่ากันไหมครับ

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  Рік тому +2

      แก่ไม่เท่ากันครับ คนบนจรวดแก่ช้ากว่าคนบนโลก

    • @MP-mv5xg
      @MP-mv5xg Рік тому

      @@user-pn1wi3hg7m แนะนำให้ดูเรื่อง time trap เป็นหนังที่ทำให้เห็นภาพง่ายๆเกี่ยวกับเวลาไม่เท่ากัน

    • @MP-mv5xg
      @MP-mv5xg Рік тому

      ก็ไม่ได้บอกว่ามันเกี่ยวอะไรกับเวลานี่คะ แค่บอกว่าหนังเรื่องนี้ทำปรากฏการณ์นี้อย่างเป็นรูปธรรมและเข้าใจง่ายดี แล้วใครจะไปรู้ว่าถามจริงประชด

    • @MP-mv5xg
      @MP-mv5xg Рік тому

      @@user-pn1wi3hg7m ไม่สร้างสรรค์เลยซักนิด

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  Рік тому

      คนนี้หลายรอบละครับ ช่างเขาเถอะ :)

  • @javis420
    @javis420 6 місяців тому

    3:53 นาฬิกาเพื่อนเดินไว้กว่าแสง
    แต่ก็ไม่พลาดสายตาผมหลอก 5555555

  • @MyNoi088
    @MyNoi088 11 місяців тому

    กดซับแล้วค่ะ ช่องคุณภาพจริงๆค่ะ

  • @panini1922
    @panini1922 5 місяців тому

    โอเค..นี่เป็นคนเดียวที่ฟังไม่เข้าใจอะไรเลย สงสัยสมองจะฉลาดน้อย แต่ฟังแล้วรู้สึกสนุกนะอธิบายได้น่าฟังมากๆค่ะ

  • @SB-yf5ri
    @SB-yf5ri 2 місяці тому

    เด๋วนะ ถ้าเปลี่ยน นาฬิกาแสง เป็น นาฬิกาเฟือง ปกติ เวลาก็เท่ากันอะดิ?

  • @cikgu_tadika
    @cikgu_tadika 2 місяці тому

    ถ้าเรากับเพื่อนอยุ่ในยานที่เดินทางเร็วกว่าแสง เราเห็นเพื่อนในยานเป็นยังไงบ้าง

  • @thammaratboonsaneur8995
    @thammaratboonsaneur8995 Рік тому +1

    ชอบๆครับกดติดตามไปเลย🎉

  • @leal7080
    @leal7080 Рік тому

    เข้าใจไม่ยากเลยครับ👍🏻👍🏻👍🏻

  • @apisatadachasuravanich3763
    @apisatadachasuravanich3763 Рік тому +2

    จะมีคลิปอธิบายต่อมั้ยครับ ว่าทำไมความเร็วสูงสุดของเอกภพ ถึงเป็นความเร็วแสง

    • @pramuansirivarin861
      @pramuansirivarin861 Рік тому +1

      เพราะไม่มีอะไรเดินทางได้ใวกว่าแสงครับ

    • @bangyee8135
      @bangyee8135 Рік тому

      ​@@pramuansirivarin861มีครับ
      คือจินตนาการของเรา
      เราจะไปจุดๆนั่นเพืยงแค่ครึ่งวินาที

    • @user-od4wh9ry7q
      @user-od4wh9ry7q 11 місяців тому

      เพราะมนุษย์ยังไม่คนพบสิ่งที่เร็วกว่าแสง

  • @chavalitpariwuthipanit966
    @chavalitpariwuthipanit966 Рік тому +1

    ขอบคุณค้ายบบ❤❤❤❤

  • @Alice-xh4iq
    @Alice-xh4iq Рік тому +1

    จากมึนๆ เข้าใจได้เลย

  • @umo273
    @umo273 Місяць тому

    มันทำให้นึกถึง80วันเดินทางรอบโลกที่เฉินหลงเล่นมันพูดตอนจบว่าต้องปรับเวลาทุกๆเขตเวลารวมแล้ว24ครั้งเท่ากับใช่วลาไป79ไม่ใช่80ในการเดินทางรอบโลก

  • @wingzero7591
    @wingzero7591 Рік тому +1

    ถ้านั่งยานความไกล้เร็วแสงแล้วไลด์สดส่งสัญญาณมายังโลกละจะเป็นไง
    คนบนโลกจะเห็นคนไลด์สดพูดเร็วขึ้นไหม?

    • @snbike4899
      @snbike4899 10 місяців тому

      เออว่ะ น่าคิดว่ะ หากมันเชื่อมต่อกันเราจะเห็นมันเป็นในรูปแบบใด

  • @drutatre7563
    @drutatre7563 4 місяці тому

    แล้วที่ผม ถอดจิตไปขอบจักรวาล ล่ะ ทำไม ใช้เวลาได้เร็ว กว่าแสง เร็วกว่าเวลา

  • @user-pq8xg7sn6t
    @user-pq8xg7sn6t Місяць тому

    หลุดดำ คือ อุปกรณ์ หรือเปล่า?

  • @StudyBoyChannel
    @StudyBoyChannel Рік тому

    เหมือน HyperSpeed ใน Toy Story เลยค้บ

  • @warmsandee
    @warmsandee 7 місяців тому

    อธิบายได้ดีมากคับ

  • @mr.frankyromeo4546
    @mr.frankyromeo4546 10 місяців тому

    ทำสติ๊กเกอร์ขายทีครับ ชอบน้องมากๆ 55

  • @likasitsavangseangwattana2099
    @likasitsavangseangwattana2099 Рік тому +1

    พี่ใช่คนเดียวเดียวกับ The codex ไหมคับ?

  • @Phuthaikhaowong29
    @Phuthaikhaowong29 Рік тому

    ได้ความรู้มากๆครับ👍👍👍

  • @paleopood4694
    @paleopood4694 Рік тому +1

    ทำไมอ่ะ
    ทำไมช่องนี้ยังไม่ได้ล้านซับ???!!!!

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  Рік тому +1

      ช่วยกันโปรโมทนะครับ จะได้ถึงไวๆ 😂

    • @kjjghghgh262
      @kjjghghgh262 Рік тому

      ไม่ต้องถึงนะดีแล้ว

  • @oxosurvivaloxo
    @oxosurvivaloxo Рік тому +3

    ลุงป้อมมมมมม😂😂😂😂

  • @sunshineonmyshoulder8520
    @sunshineonmyshoulder8520 8 місяців тому +1

    ปีหนึ่งบนดาวศุกร์ โลก ดาวอังคารไม่ เท่ากัน โลก365วัน ดาวอังคารน่าจะมากกว่า ดาวศุกร์น้อยกว่าโลก เขาคงนับการหมุนรอบดวงอาทิตย์ ส่วนวันหนึ่งวันไม่แน่ใจครับ

  • @user-wu5ev4lt4e
    @user-wu5ev4lt4e Рік тому

    ฟังเอาความรู้ครับ ไม่รู้จะคำนวนยังไง

  • @debbydew6027
    @debbydew6027 Рік тому

    มิวออน หลักการมัน เหมือนวิ่งกับเดินเลย ถ้าวิ่งก็ต้องใช้เวลาน้อยกว่าเดินอยู่แล้วมั้ยอะ แล้วคนวิ่งอายุก็ยังเท่ากับคนเดินอยู่ดี แต่ไหนหนัง อายุและการเติบของร่างกายกลับบิดเบี้ยวตาม อันนี้แหละที่งง

    • @squidprogrammer
      @squidprogrammer Рік тому

      อายุคือค่าที่ใช้บ่งบอกความเจริญหรือเสื่อมสภาพของเซลล์ การเดินทางของเวลาที่เปลี่ยนไปเมื่อเทียบอย่างอื่น ก็คืออัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนไป เมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเปลี่ยน ไม่เท่ากัน มันก็อายุไม่เท่ากันครับ ในกรณีของมิวออน ในมุมของอนุภาค อายุมันเท่าเดิม แต่คนอื่นแก่ลง ส่วนพวกเราจะเห็นตัวเองแก่เท่าเดิมแต่มันแก่ช้ากว่าเรา

  • @karbird1
    @karbird1 Рік тому

    3.52 แอ๊ะ ใครคุ้นๆ แว้บๆ

  • @M4RVELOUSO123
    @M4RVELOUSO123 10 місяців тому

    GPS เชื่อถือได้ครับแต่คนดู GPS น่าจะโดนแสงดีเลย์ เชื่อถือไม่น่าได้

  • @worametsupachan8588
    @worametsupachan8588 8 місяців тому

    ถ้าเราเดินทางเร็วกว่าความเร็วแสงจะเดินทางจากเชียงใหม่ไปกรุงเทพ ออกเดินทางจากเชียงใหม่วันนี้ถึงกรุงเทพเมื่อวานใช่ไหมครับ

  • @saucepp5127
    @saucepp5127 7 місяців тому

    ขอบคุณครับ❤🎉😂

  • @whirpoolsea
    @whirpoolsea 7 місяців тому

    ในทางศาสนาพุทธ เขาว่าเวลาแต่ละภพภูมิไม่เท่ากัน เช่น 1 วัน 1 คืน ในสวรรค์ เท่ากับ 100 ปี โลกมนุษย์ แต่ทั้งนี้ สาเหตุที่เวลาต่างกันไม่มีแจ้งไว้ เพราะเกินปัญญาคนในยุคนั้น แต่ประมาณการว่า ภพภูมิมีขนาดไม่เท่ากัน ถ้าโลกเท่ากับเม็ดถั่ว ดาวดึงส์จะเท่ากระทะใบใหญ่มากๆ นั่นเป็นเหตุให้ 1 วัน 1 คืนของสเกลสวรรค์ที่ใหญ่กว่า กลับกลายเป็นถึง 100 ปีในโลกมนุษย์

  • @bchanao
    @bchanao Рік тому +1

    😂 พอเข้าใจเรื่องเวลาบ้างแล้ว แต่ก็ยังไม่เข้าใจว่าทำไมความแก่หรือการเสื่อมสภาพของคนที่เวลาแตกต่างกันอยู่ดี

    • @kthi1
      @kthi1 Рік тому

      ดูรูปประกอบเลยครับ 1 บนจรวจมันเท่ากับ 2วิของบนโลก แล้วถ้าจรวจเร็วยิ่งขึ้นๆเวลาที่คนบนโลกมองไปที่จรวจก็จานมากขึ้นกว่าเดิม

  • @jimkassana
    @jimkassana Рік тому

    Subscribe แล้ว รอตอนต่อไปครับ

  • @trivianene
    @trivianene 5 місяців тому

    คนบนจรวดเคลือ่นที่เร็วใกล้แสงมองมาที่โลก จะเห็นว่าโลกหมุนเร็วกว่าเดิมมั้ยคับ ผมยังงงๆอยู่

  • @trivianene
    @trivianene 5 місяців тому

    12:25 10kmนี่หมายถึงจากไหนไปไหนนะคับ

    • @tanasakchiewchankul9739
      @tanasakchiewchankul9739 2 місяці тому

      ระยะทางจริง กับระยะทางที่คำนวณไว้ที่มันผิดเพี้ยน

    • @trivianene
      @trivianene 2 місяці тому

      @@tanasakchiewchankul9739ขอบคุณมากครับ 🙏

  • @wachirasaelai8338
    @wachirasaelai8338 Рік тому

    ทำคลิปคำนวณให้ดูได้มั้ยครับ

  • @monkeyluffy2179
    @monkeyluffy2179 Рік тому

    อยากไปอยุ่ที่นั้นสักปี แล้วกลับมาโลก จะดูว่าโลกจะเปลี่ยนไปแค่ไหน

  • @Zikaya2558
    @Zikaya2558 8 місяців тому

    พี่แมทเปิดหน้าหน่อยได้ไหม😊

  • @sweetroll6285
    @sweetroll6285 4 місяці тому

    ติดตามเลยครับ โคตรชอบ

  • @user-ez4wf6qd4c
    @user-ez4wf6qd4c Рік тому

    เวลาเป็นเรื่องของความรู้สึก แค่ว่าโดนเป่าหู ว่าเวลาเท่ากัน

  • @user-jz6ts7it7o
    @user-jz6ts7it7o Рік тому

    งงครับผมว่ายังเข้าใจยากอยู่เลยเอาแบบบ้านๆไม่ฟิสิกมากไปครับงง

  • @jiratpokin
    @jiratpokin 10 місяців тому

    ที่คิดแบบนี้ เพราะคิดว่าความเร็วแสงเป็นค่าเดียวกัน แล้วมันใช่ไหมหล่ะ ความเร็วแสงในตัวกลางต่างกันก็เร็วไม่เท่ากัน มันไม่ใช่สิ่งสัมบูรณ์ นาฬิกาแสงในจรวด มันวิ่งเฉียงก็เหมือนมันจะเร็วขึ้น ก็เร็วขึ้นเพราะจรวดช่วยดันไปข้างๆไง ไม่ต้องแสงหรอก เอารถไปวิ่งในจรวด มันก็เร็วขึ้น มันไม่ใช่หรอก ส่วน GPS มันก็ต้องชดเชยบรรยากาศโลกที่มันไม่เท่ากัน ความเร็วของดาวเทียม ที่ต้องมีการชดเชยอยู่แล้ว ส่วนมิวออน เอามาสนับสนุน Time dilation ก็ยังไม่ได้ เพราะเป็นศาสตร์ใหม่ ยังใช้ไม่ได้จริง ใครจะรู้ว่าคุณคำนวนผิดตรงไหนบ้าง เพราะฉะนั้นไม่ขอวิจารณ์ครับ

    • @squidprogrammer
      @squidprogrammer 8 місяців тому

      อ่ามอย่างน้อยๆผมขอแก้ตรงจุดนึงครัย ชัวร์ครับแสงเดินทางผ่านตัวกลางมีความเร็วต่างกัน แต่ค่าคงที่ของแสงหรือค่า c เนี่ยมันคือความเร็วแสง ณ สูญญากาศ และถ้าคุณลองเอาวัตถุไปทำความเร็วให้สูงๆ rest mass ของสสารทุกอย่างจะพุ่งสูงขึ้นเป็นอนันต์ที่ความเร็วแสง ส่วนเรื่องการปรับเวลาของดาวเทียม คือคุณอาจจะพูดถูกก็ได้ครับถึงผมจะไม่เข้าใจว่าชั้นบรรยากาศมันเกี่ยวกับนาฬิกาอะตอมยังไง แต่อย่างน้อยสูตรที่ใช้ในการคำนวณหาเวลาที่ต้องปรับเพิ่มลดเนี่ยเขาใช้สมการของทฤษฎีสัมพัทธภาพในการปรับ เพราะงั้นอย่างน้อยทฤษฎีนี้ก็ถูกส่วนหนึ่งแล้วแน่นอน ส่วนเรื่องจรวดอันนี้ผมว่าคุณน่าจะเข้าใจผิดอะไรซักอย่าง การอธิบายด้วยจรวดคุณบอกว่าเร็วขึ้นแต่ในบทที่ใช้อธิบายมันช้าลงนะครับ คอนเซ็ปต์คือถ้าคุณเคลื่อนที่เร็วขึ้นเวลาคุณจะช้าลงผมเลยไม่เข้าใจว่าคุณจะเห็นแสงมันเร็วขึ้นได้ไง เพราะผู้สังเกตการณ์ทั้ง2เมื่อมองนาฬิกาตัวเองจะเห็นว่าเคลื่อนที่ปกติ แต่เมื่อมองไปยังอีกฝั่งคนที่อยู่กับที่ ความเร็วน้อยกว่าจะเห็นเวลาของอีกคนที่เคลื่อนที่ว่าช้ากว่า ในคณะที่คนที่เคลื่อนที่เมื่อหันไปมองคนที่อยู่กับที่จะเห็นว่าคนที่ไม่ได้เคลื่อนที่มีเวลาเร็วกว่า และแสงของทั้ง2คนเดินทางด้วยความเร็วเท่ากัน ผมเลยไม่เข้าใจว่าแสงบนจรวดจะเร็วกว่าได้ไงเพราะเร็วเท่ากันแต่คนบนพื้นจะเห็นว่าคนที่เคลื่อนช้ากว่าตัวเองด้วยซ้ำ

    • @jiratpokin
      @jiratpokin 8 місяців тому

      @@squidprogrammer ไม่ผิดหรอกครับ ผมบอกว่าเร็วขึ้น เนื่องจากระยะทางแทยงมากกว่าระยะทางตรง และก็ไม่แปลกที่บทที่ใช้อธิบายว่ามันช้าละ เพราะว่าเค้ากำหนดไปเลยว่าแสงมันจะไม่เร็วขึ้น พอแทนสูตรมันเลยทำให้เวลามากขึ้นแทน

    • @pn5084
      @pn5084 7 місяців тому

      @@jiratpokinรอรับโนเบลได้เลยค่ะ

  • @kenzera23
    @kenzera23 Рік тому

    สอบถามหน่อยครับ แล้วเวลาเกี่ยวยังไงกับร่างกายที่แก่ช้าลงหรอครับ เพราะระบบร่างกายเราก็ทำงานปกติ (หรืออันนี้ผมยังไม่เข้าใจครับ)

    • @NormalVillager
      @NormalVillager Рік тому

      คิดเหมือนเรื่องนาฬิกาแสงเลยครับ เพราะร่างกายทำงานอยู่ภายใต้เงื่อนไขของเวลาครับ สมมติว่า หัวใจเต้น 70ครั้งต่อนาที ถ้า 1 นาทีที่ตำแหน่ง A เร็วกว่า B อยู่ 2 เท่า คนตำแหน่ง A ก็จะเห็นคนตำแหน่ง B หัวใจเต้น 35ครั้งต่อนาที ส่วนคนตำแหน่ง B จะเห็นคนตำแหน่ง A หัวใจเต้น 140 ครั้งต่อนาที ในขณะที่ทั้งคู่ก็รู้สึกว่าตัวเองหัวใจเต้นอยู่ที่ 70 ครั้งต่อนาทีเหมือนเดิม

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  Рік тому

      ตามนั้นเลยครับ :)

    • @papa.channel
      @papa.channel Рік тому

      ​@@NormalVillager แสดงว่า พอขึ้นจรวจแล้วเราจะกลายเป็นตัว สล็อต เลยใช่ใหม
      หากบนจรวจปิดหนังดู คนที่โลกจะเป็นว่าเป็นหลัง slow ด้วยใช่ใหม
      แล้วระยะการเคลื่อนที่ของแสงที่เพิ่มมาขึ้นของนาฬกาแสง มันทำให้คนเป็น สล็อตได้อย่างใร
      ไม่ได้กวน อยากรู้

    • @pn5084
      @pn5084 7 місяців тому

      @@papa.channelถูก คนที่อยู่บนโลกจะสังเกตุเห็นคนในจรวดทำทุกอย่างช้าลง แต่คนบนจรวดเองจะเห็นว่าตัวเองก็ทำทุกอย่างปกติ แต่ความเร็วบนจรวดต้องเร็วมากๆนะ

  • @user-ku5fp4hy2n
    @user-ku5fp4hy2n Рік тому

    ถ้าเราเคลื่อนที่เร็วกว่าแสง 105~110% เราจะย้อนเวลาไหมครับ?

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  Рік тому

      ด้วยฟิสิกส์ที่เรารู้ตอนนี้ ยังไงเราก็ไม่สามารถเดินทางเร็วกว่าแสงได้ครับ

    • @kthi1
      @kthi1 Рік тому

      ถ้าย้อนได้แต่ก็แก้ไขไม่ได้นะ ถ้ามีจักรวาลคู่ขนานก็ว่าไปอย่าง

    • @adisorn12345
      @adisorn12345 Рік тому

      ในความเป็นจริง คิดว่าไม่ได้

  • @jokecub8888
    @jokecub8888 Рік тому

    ทำไมเวลาที่ไม่เท่ากันในแต่ละตำแหน่ง มีผลต่อเมตาบอลิซึมในร่างกายเราครับ~~~สรุปคำถามให้ง่ายอีก คือ ทำไมเราถึงแก่ไปตามเวลาที่ไม่เท่ากัน โรมิลลี่ รอ คูเปอร์กับแบรนท์ อยู่บนยาน แก่ขึ้นกว่าเดิมมาก ร่างกายในหลักชีววิทยา ควรจะมีเวลาแค่ค่าเดียวรึป่าว?
    โทษทีครับ ถามซะยาว เพิ่งมาเจอช่องนี้คลิปแรก อธิบายดีมากครับ กดติดตามไว้แล้ว 😊

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  Рік тому +2

      จะเป็นอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี อัตราการเสื่อมของเซลล์ หรือความเร็วในการเคลื่อนที่ของอนุภาคมูลฐานที่อยู่ในเซลล์สิ่งมี/ไม่มีชีวิต มันก็ช้าลงตามการไหลของเวลาเหมือนกันหมดครับ

  • @user-hs7ex5kw5g
    @user-hs7ex5kw5g Рік тому

    เอาไปสร้างหนังด่วนๆเลยนะ

  • @mr.chaiyok5084
    @mr.chaiyok5084 3 місяці тому

    Good

  • @priEZy
    @priEZy Рік тому

    ก็เหมือนคนที่โดดร่มลงมา ตอนที่ตกลงมา (โดยยังไม่กางร่ม) เวลาจะนานกว่าคนที่มองจากข้างล่างนั่นเอง 😂

  • @user-vg4pn1wq7x
    @user-vg4pn1wq7x Рік тому

    ตัวเรารับแสงต่างกับตัวยักษ์ในดาวอื่น แรงดึงดูดแสงจึงต่างกัน
    ไหล่ยักษ์

  • @user-vb4gh4rr5c
    @user-vb4gh4rr5c Рік тому

    ทฤษฎีนั่งจ้องเวลา เช่น นั่งจองนาฬิกาเวลาจะช้าลงจริงไหมครับ
    แต่ใครจะไปนั่งจ้องเวลา😂😂😂

  • @Anda_thenoobtopro08
    @Anda_thenoobtopro08 Рік тому +1

    สวัวดีครับ

  • @user-ko4bm4cw4n
    @user-ko4bm4cw4n 5 місяців тому

    ฟังรอบเดียว งงดี คับ