คันเร่งกับเบรกที่พี่พูดถึงคือ control rod ครับซึ่งมีหน้าที่จับนิวตรอนส่วนเกินเพื่อให้ปฏิกิริยาคงที่และปลอดภัยมันจะเป็นยังนั้นถ้าใช้โบรอนแต่กลับใช้แกร์ไฟร์ที่ให้ผลตรงกันข้าม ส่วนXenonจะเกิดจากการที่ลดกำลังการผลิตครึ่งหนึ่ง
แผลจากการโดนรังสี ทำไมถึงเน่าเละน่ากลัว เพราะรังสีแกรมม่าถูกฉายผ่านเซล์ผ่าน DNA ทำให้ DNA ถูกทำลาย เมื่อ DNA ถูกทำลายเซล์นั้นก็ไม่สามารถทำงานได้อีกต่อไปเพราะ DNA เมื่อเหมือนระบบสั่งการทำงานของเซลล์ เมื่อเซลล์ไม่สามารถแบ่งเซล์หรือลำเลียงสารต่างๆได้ ก็เน่าไป
อ่าว ฮอเกี่ยวสายสลิงร่วง ไม่เกี่ยวกับ radiation แชทเตือนแล้วก็ไม่เชื่อ ขอแก้ไขนะครับๆ
แต่ radiation ส่งผลกับ electronics จริงๆ แบบหุ่นยนต์ที่ใช้ก็ตายภายในไม่กี่นาที อ่าวแล้วทำไมไม่เล่าเรื่องนี้ไปด้วย
@@9arm. อ้าว 5555
อ้าว 😂
@@9arm. เกี่ยวสลิงก็จริงนะครับ แต่ที่ผมมองคือระบบอิเล็กทรอนิกส์ของฮอล่มครับ
@@9arm. .
"เมื่อความจริงไม่เป็นที่น่าพึงใจ เราเลือกการโกหกซ้ำ ๆ จนเราลืมความจริง แต่มันก็ยังอยู่ตรงนั้น... ทุกคำโกหกของเราคือหนี้ต่อความจริง ไม่ช้าก็เร็ว หนี้นี้คือราคาที่เราต้องจ่าย"
@Emilia (เอมิเลีย) บทพูดของ เลกาซอฟ ครับ ซึ่งบันทึกไว้ แต่จำไมไ่ด้ว่าบันทึกตอนไหนนะระหว่างตอนขึ้นศาล หรือก่อนฆ่าตัวตาย
@Emilia (เอมิเลีย) ตัวอย่างของคนที่ไม่รู้อะไรเลยแต่ก็อยากแสดงนิสัยของตัวเองออกมา
@@dorita_san 555
เสียง หมีุฟวี่ลอยมาเลย
@@ElixaWick ตอนศาล ครับ ส่วนในเทป เป็นการกล่าวโทษ ดียัตลอฟ
เท่าที่ทราบคือ
-โรงไฟฟ้าเชอร์โนบิลมีการเทสไฟดับแบบนี้ล้มเหลวถึงสามครั้ง
-วันนั้นเป็นช่วงปีใหม่ โรงงานต่างๆทำงานอย่างหนักต้องการไฟฟ้ามาก ทำให้ไม่สามารถปิดเครื่องเต้มระบบตอนกลางวันไม่ได้
-ในสังคมโซเวียต ต้องเข้าใจว่าคอมมิวนิสนั้นถ้าคุณไม่มีความทะเยอทะยาน คุณตายแบบผ่อนส่งแน่ เพราะมันเป้นระบบที่กดความต้องการคุณให้อยู่ในระดับมีกินแต่ไม่มีเก็บ การเลื่อนตำแหน่งในระดับสุงขึ้นจะเปิดช่องทางให้คุณทำอย่างอื่น หลุดจากกฏพวกนี้
-ดียัตลอฟต้องการเลื่อนตำแหน่ง อย่างที่บอก เพราะการเทสนี่ล้มเหลวมาสามครั้งแล้ว หากสำเร็จมันจะเปิดโอกาศให้ผู้เกี่ยวข้องคนอื่นๆได้รับการเลื่อนตำแหน่งต่อๆกัน
-คนงานกะดึกไร้ประสพการณ์ พวกเขาไม่รู้เรื่องอะไรที่เกี่ยวกับการทดสอบความปลอดภัยนี้ พวกเขามีหน้าที่เดินเครื่องโดยพื้นฐานเท่านั้น
ผมสงสัยครับว่าเดือน เมษา ผมเดาว่าไกล้สิ้นเดือนนะ เพราะ25 เมษา ก่อนเกิดเหตุ
แรกเปลี่ยนความรู้กันนิดนึงครับ โรงไฟฟ้าแบบ ใช้ก๊าซ LNG หรือก๊าซธรรมชาติที่ในคลิปว่าไว้ ไม่ได้ตั้งใจที่จะเอาก๊าซมาต้มน้ำโดยตรงครับ ถ้าเอามาต้มน้ำโดยตรงต้นทุนสูงครับ ใช้แกลบหรือชีวมวลอื่นดีกว่า ในคลิปอาจจะอธิบายให้เรียบง่าย แต่เรียกว่าเป็นผลพลอยได้ดีกว่าครับ ถ้าอธิบายให้ถูก เพื่อจะได้รู้ว่าพระเอกของโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซคืออะไร LNG เอามาใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อขับ Gas turbine engine แล้วไปปั่น Generator ผลิตไฟฟ้าได้โดยตรงนี่คือพระเอกของงาน ส่วนที่ว่าต้มน้ำคือ เอาไอเสียจาก Gas turbine engine ที่เหลือเอามาต้มน้ำที่ Boiler แล้วจึงไปปั่น Steam turbine แล้วไปปั่น Generator ออกมาเป็นไฟฟ้าอีกทีครับ ดีกว่าทิ้งความร้อน จาก Gas turbine engine ไปฟรีๆครับ หรือเรียกอีกอย่างว่าโรงไฟฟ้าแบบ Combined cycle นั่นเองครับ❤
😊😊
13:00 เสริมคุณอาร์มนิดนึงครับ
ก่อนจะพูดถึงนิวตรอนเร็วและนิวตรอนร้อน ต้องพูดถึง Maxwell-Boltzmann distribution (การกระจายของแม็กเวล-โบวแมน) ก่อน มันคือสมการที่บอกความน่าจะเป็นที่อนุภาคจะไปกองรวมกันเมื่อแก๊สในอุดมคตินั้นมีค่าพลังงานอยู่จำนวนหนึ่ง
ภาษาบ้านๆก็คือ ถ้าอนุภาคหนาแน่นน้อยความน่าจะเป็นที่อนุภาคจะกองรวมกันที่หนึ่งก็จะสูง พบอนุภาคได้ง่าย การกระจายก็จะต่ำ เหมือนรถที่วิ่งกลับไปมา ถ้าวันนึงเราอยากเจอรถเราก็ควรไปรอตรงกลางทาง ในขณะที่หากอนุภาคหนาแน่นมาก เราก็จะคาดเดา(ระบุความน่าจะเป็น)ที่อนุภาคจะกองรวมกันได้น้อยลง การกระจายก็จะมากขึ้น แม้ว่าจะเจออนุภาคได้ถี่กว่า แต่ก็ไม่รู้ว่าควรจะไปรอตรงไหนดี
ตามหลักอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic) แล้ว ค่าการกระจายเนี่ยจะมีค่าแปรผันกับ (m/2พายkT)^3/2 ช่างมันเถอะครับ เอาเป็นว่ายิ่งมวลมากการกระจายก็จะมาก ยิ่งมวลน้อยก็จะกระจายตัวน้อยลง เจอได้บ่อยขึ้น(ความน่าจะเป็นมากขึ้น) ในขณะที่หากร้อนหรืออุณหภูมิสูง ความเร็วก็จะสูง อนุภาคก็จะยิ่งกองรวมกันที่หนึ่งได้มากกว่า เราใช้ค่าเหล่านั้นในการระบุว่าควรจะพบอนุภาคต่างๆที่จุดใดครับ (อารมณ์คล้ายๆทฤษฎีกลุ่มหมอกอิเล็คตรอนเลยครับ สังเกตว่าอันนั้นก็เป็นจุดความน่าจะเป็น ไม่ใช่จำนวนของอิเล็คตรอนนะ เด็กหลายคนเวลาครูสอนชอบงงว่าทำไมอิเล็คตรอนHมีตัวเดียว แต่ในแบบจำลองมันจุดเยอะจัง ก็เพราะมันเป็นเรื่องของ ความน่าจะเป็นยังไงล่ะครับ)
เอาล่ะเมื่อเราทราบค่าที่เกี่ยวเนื่องกันระหว่าง m T v แล้ว เราก็มาตั้งคำถามว่า ถ้าเราอยากทำให้อนุภาคชนกันได้ดีเราควรทำอย่างไร (ประสิทธิภาพของเตาปฏิกรณ์ขึ้นกับสิ่งนี้นี่นาใช่ไหม) เราอยากให้มันชนกันนั้นเราก็ต้องให้มันเจอหน้ากัน ก็คือเราอยากรู้ว่าจุดไหนมันจะไปกองรวมกันเยอะๆนั่นเอง ดังนั้นจาก v แปรผันตามรากที่2ของ T/m เราก็ไปดูที่พลังงาน T ยังไงล่ะ ทีนี้เราก็เปิดดูซิ่ว่า T เท่านี้ ความน่าจะเป็นเท่าไหร่ T เท่านี้ความน่าจะเป็นเท่าไหร่ๆ สรุปคือ ที่ 0.025eV หรือสถานะที่เรียกว่า Themal neutron หรือนิวตรอนร้อน มีค่าการกระจายเหมาะสมกับตัว moderator ของเตาปฏิกรณ์ดีกว่า (ก็มันมากองที่เดียวกัน มารอรถที่เดียวกัน) ในขณะที่พลังงาน 1-20MeV หรือนิวตรอนเร็ว มันไปกองกันอยู่โน่น กว่าจะชนกันก็ต้องไปหา moderator ตัวใหม่ มันจึงเป็นที่มาเกี่ยวกับการลดพลังงาน นิวตรอนเร็วให้ช้าลง เพื่อให้รถกับคนรอมาสอดคล้องตรงกันครับ
รายละเอียดซับซ้อนมากจริงๆ ทั้งหมดนี้เป็นแค่การอธิบายและยกตัวอย่างคร่าวๆ สงสัยหรืออยากโต้แย้งตรงไหนก็พิมพ์ทิ้งไว้ได้นะครับ^^
ขอสั้นๆหน่อยครับอยากรู้แต่อ่านไม่เข้าใจ😵
@@Idk-hg8jr นิวตรอนร้อนเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ในเตาปฏิกรณ์ชนิดนี้ได้ดีกว่านิวตรอนเร็วเพราะมีโอกาสในการชนสูงกว่าตามหลักอุณหพลศาสตร์ ครับ
ครับ
@@RittiponS. แต่นิวตรอนร้อนก็ต้องเร็วมั้ยครับเพราะอุณหภูมิคือความเร็ว ถ้าผมเข้าใจผิดขอโทษนะครับ
@@Idk-hg8jr เร็วครับ แต่เร็วไปจนไม่เหมาะสม เหมือนสาย 8 เร็วแต่เลยป้าย^^
นิดนึงครับ โรงไฟฟ้าแบบใช้ gas คือ ใช้ gas turbine engine ครับ
หลักการทำงานคือส่งแกสไปเผาเอาลมร้อนไปเป่าตัว turbine โดยตรงเลย(เครื่องยนต์แบบเดียวกับเครื่องบินครับ) ปั่นเสร็จแล้วลมร้อนที่ได้จะหมดแรงดันแต่ยังเหลือลมร้อนอยู่ ซึ่งตรงนี้เค้าจะเอาไปต้มไอน้ำต่อ แต่ตัว ไอน้ำที่ได้ก็แล้วแต่ว่าจะไปปั่น steam turbine ต่อหรือเอาไปทำอย่างอื่นครับ
ส่วนโรงไฟฟ้าอื่นๆก็ตามนั้นครับ ส่วนใหญ่คือเอาความร้อนไปต้มน้ำเข้าปั่น turbine ครับ
แตงกิ้วว
@@9arm. อยากให้ทำเรื่อง 9near แฮกคนไทย55ล้านคนหน่อยครับ
@@9arm. น่าจะเล่าเรื่อง เท้าช้าง กับ เจาะเรื่องรังสีอีกหน่อยครับ
หลักการ gas turbine มันคล้ายๆพวก Jet engine หรือเปล่าครับ อันนี้สงสัยจริงๆ
ถั่วต้มคร้าบบบบ eff ดีกว่าแบบเดิม
ไทยมีโรงไฟฟ้านิวเคบียร์ไม่ได้ครับ เพราะเสี่ยงที่จะมีการคอรัปชั่นลดสเปควัสดุหรือการดูแลที่ไม่ได้มาตรฐาน ขนาดแท่งซีเซียมเล็กๆยังปล่อยให้มีการเอาออกไปขายตามร้านขายของเก่าได้แบบไม่มีใครรู้เรื่องตั้งหลายวัน
มีคนรู้จักเรียน ม.เกษตร บางเขน ไหมครับ ลองถามให้หน่อยว่า เด็กมอนั้น เป็นมะเร็งมากกว่ามออื่นมั้ย
44:05 ขอเเก้ครับ ฮ.มันไม่ได้ตกเพราะรังสี เเต่มันตกเพราะใบพัดไปโดนสลิงเครนครับ สังเกตตรงเส้นดำบางๆนั่นเป็นสลิงครับไม่ใช่เส้นขีดที่เห็นในหนังฟิล์ม
สนุกมากค่ะ ขอบคุณที่ทำคลิปดีๆแบบนี้ออกมานะคะ
ขนาดมีเซฟตี้หลายอย่างก็พลาดได้ สมดุลดีแค่ไหนมีมนุษย์เป็นตัวแปรอะไรก็เกิดขึ้นได้จริง ชอบที่คุณอาร์มเล่าเรื่องยากๆ ให้เข้าใจง่าย ฟังในไลฟ์ก็สนุกเป็นคลิปก็กระชับฟังเพลิน สนุกมากเลย ขอบคุณที่เล่าให้ฟังนะคะ 😊
บทเรียนคือ พวกมองข้ามเล็กๆมีแต่ชิบหาย
ไม่ได้เป็นที่ระบบครับ เป็นที่คน
@@Aphiwich-Srisang บบบบบบช
มีปัญหาคือ1เจ้าหน้าที่ที่ขาดความรู้2เตาที่มันสร้างไม่เสร็จ
@@donut8053 เห็นว่า จะกด หรือ ไม่กด ปุ่มนั้น ยังไงก็ระเบิด เเค่ช้าหรือเเล้ว เเต่กดปุ่มนั้น มันไปเร่งปฏิกิริยาให้เร็วขึ้น เลยระเบิดเเล้ว คือเเม่ม เหมือนปุ่มนั้น ไร้ประโยชน์มากๆ มีก็เหมือนไม่มี เเถบทำให้ระเบิดเร็วกว่าเดิมอีก อย่างว่า สร้างจากต้นทุนต่ำ คนอีก ระบบปกครองอีก เห้อ
โคบอลต์ 60 ที่ไทยคืออยู่ใกล้ๆ บ้านนี้เองนะ แถวๆ ท่าน้ำพระประแดง คนที่โดนคือ พนง ร้านรับซื้อของเก่า เขาไปรับซื้อมาแล้วมาชำแหละแยกส่วนจะขายเป็นเศษเหล็ก สรุปกัมตรังสีกระจายเต็มเลย 1-2 วีคต่อมา คนรอบๆ เข้า รพ กันเยอะมาก
อาการ ร้ายแรงมากไหมครับ😨😨
ใช่โคบอลต์จากเครื่องเอ็กซเรย์ใช่ไหมครับ ไม่แน่ใช่ว่ากี่sv
@@paophosang2048 ตัดนิ้วมือทั้งสองข้าง
@@paophosang2048 คนแกะตายภายใน 2 สัปดาห์ คนใกล้เคียงตัดนิ้ว คนท้องใกล้ๆ ร้านทำแท้งเพราะลูกอาจเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว
@@maxrc8789 ใช่ครับ เครื่องเอ็กซเรย์ของ รพ แต่ไม่รู้เขาไปซื้อมาจากไหน เอามาแกะที่ร้าน
อธิบายเพิ่มเสริมเรื่อง Steam Explosion จากมุมเคมีแบบง่ายๆละกันนะคะ
น้ำ=H2O ถ้าเจอพลังงานเยอะพอจะกลายเป็นแก็ส H2 กับ O2 แบบอัดกันเน้นๆ ความดันสูงๆ(สังเกตว่าHกับOเดิมนั่นแหละ)
จุดโชคร้ายคือปฏิกิริยาตรงนี้ดันให้ความร้อนออกเพิ่มจากที่ใส่เข้าไปอีก (มองเป็นพลังงานส่วนเกินจากพันธะเคมีก็ได้)
ตัวแก็ส H2 กับ O2 ดันเป็นเชื้อเพลิงทั้งคู่ อีก แถม O2 ที่ได้ทำเป็นตัวเริ่มต้นของไฟได้อีก
สรุปคือ ความร้อนเพิ่ม+เชื้อเพลิง+ตัวstart ครบองค์เกิดไฟภายใต้ความดันสูงก็บูมสิค่ะ รออะไร
ซวยซ้ำซ้อนคือปฏิกิริยาบูมๆนี้ยังได้น้ำ(H2O)กลับมาอีกนะคะ
วนเข้ากรอบเดิมไปจนกว่าองค์ประกอบบูมๆอันใดอันหนึ่งจะหมดไปค่ะ
ส่วนใหญ่ในแลปหรืออุบัติเหตุเล็กน้อยความดันจะหายไปไว เพราะระเบิดนิดหน่อยก็ปรับเชฟให้กว้างขึ้นได้แล้ว
แต่ในเคสเชอร์โนบิล เราพูดถึงรีแอคเตอร์ที่หนามากความดันยิ่งแรง ความรุนแรงของการระเบิด(ไม่เกี่ยวกับรังสี ความร้อนส่วนอื่นอย่างในคลิป)เลยสูงสุดๆแบบคิดตามก็ขนลุกแล้ว
เท่าที่เคยติดตามมา เห็นรายงานแท่งcontrol rod โดนระเบิดทะลุออกโรงงานไปไกลเลยค่ะ
AZ-5Toptunovไม่ได้กดเเต่เป็นAKIMOV คนทีตุยตอนระเบิดคือshevchekkoกับหัวหน้าวิศวกร ส่วนคนทีตุยส่วนมากจะเป็นเจ้าหน้าทีทีทำงานอยู่ในrector4
@@Ww2war-nn3udในตามความเป็นจริงในห้องมีคนถึง17คน แต่ในหนังให้เห้นแค่คนสำคัญเช่น อนาโตลี ไดตลอฟ Oc(officer chief) อคีมอฟ หัวหน้ากะ ทอปทูนอฟ operator เครื่องreacotor(ผู้อาวุโส) บอรีช สเตอร์ลีอาชุค ปั้มน้ำกับกังหันลมส่วน อิกอร์ คีเชนบอมมีหน้าที่เหมือนกันกับ บอรีส แต่ความเป็นจริงคือ ตามคำสัมภาษณ์คนที่อยู่ในห้อง ควบคุมตอนนั้น เขาบอกว่า ทอปทูนอฟเป็นคนกดปุ่ม จากการเห็นสิ่งที่เริ่มผิดปกติ อคิมอฟ นั้นอยู่ห่างไกลจาก แผงควบคุมมาก อยู่แถวๆแผนงควบคุมปั้มสูบลม แต่ อคิมอฟก็เหมือนจะเป็นคนตะโกนหรือะไรสักอย่างที่ทำให้ทิอปทูปนอฟเป็นคนกดปุ่ม
คุณอธิบายเก่งมากเลยครับ
ซีรีย์คือดีงามจริง ทุกวันนี้ยังติดท๊อปในดวงใจมาก มันถ่ายทอดความน่ากลัวของกัมมันตภาพรังสีได้โคตรน่ากลัว
มันเป็นซีรี่ hbo รึป่าวครับ
@@anulakk9819 ใช่แล้วครับ
มันชื่อเรื่องอะไรหรอครับ
@@Chinomoru คุณอาร์มก็พูดไว้อยู่นะคะ 0:25 วิแรกเลยค่ะ
@@lucusina8895 ขอบคุณครับ
ความจริงก็คือความจริง....
มันยังอยู่ตรงนั้นเสมอและตลอดกาล
ภาพจำคนทั่วไปกับนิวเคลียร์ มองว่าเป็นสิ่งไม่ดี น่าเสียดายจริงๆ ทั้งที่มันก็เป็นพลังงานที่ดีและมีประสิทธิภาพมากๆ การระเบิดของเชโนบิล กับ ฟุกุชิมะ ไดอิจิ ทำให้ภาพลักษณ์ของนิวเคลียร์เปลี่ยนไปตลอดการ 😢
100% ของ Nuclear incident เกิดจาก Humen Error ระบบไม่เคยผิดพลาดเลย
มันช่วยไม่ได้จริงๆในตอนนั้น
ในไทยก็มีเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แต่ขนาดเล็ก จุดประสงค์แค่เอาไว้ฉายรังสีของสารต่างๆ ใช้มาตั้งนานแล้ว แสดงว่าประโยชน์มีมากมาย แต่โทษก็มหัน ถ้าระบบการจัดการผิดพลาด
@@นานๆทีเที่ยว ทุกวันนี้เตาปฏิกรณ์ที่บางเขนผลิตสารกัมมันตภาพรังสีไม่เพียงพอต่อการใช้ภายในประเทศ จะสร้างใหม่ก็ประท้วงกัน
สมัยมาร์คเป็นนายก เคยเอาเรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เข้าสภา ถ้าผ่านในยุคนั้น เราจะมีใช้ตอนปี 2570 แต่สภาปัดตก ทุกคนค้านหมด อยากรู้เรื่องตอนนั้นไปฟังจอห์น วิญญู คลิปเก่า ๆ สมัยนั้นเล่าให้ฟังก็ได้ครับ
คลิปหน้าเล่า เรื่อง 9near หน่อยครับ
อยากฟังเหมือนกันครับ
++ ครับ
กำลังกลัวเลยครับ😢
+1
เฉลยตอนจบคลิป 9Near คือกูเอง
เป็นคนที่เก่งมากและฉลาดอธิบายมาก เข้าใจง่าย ผมฟังจนจบคลิปอ่ะ
หลักการการทำงานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อย่างเบสิค คือ การรักษาสมดุลของพลังงาน
ตั่งแต่ผมติดตามพี่ทำไห้ผมทันโลก รอบรู้มากขึ้น ในหลายๆด้านเลยครับ ฟังไม่เคยเบื่อเลย ค่ากาแฟพี่รู้สึกว่ามันคุ้มเหลือเกิน ❤
ชอบซีรีย์เรื่องนี้มากค่ะะ ดูซ้ำไป5-6 รอบแล้วๆพยายามเข้าใจแต่ก็ไม่เก็ทเท่าไหร่พอมาดูช่องนี้คือบรรลุธรรมมากกก เข้าใจทุกกระบวนการที่ตัวละครพยายามเล่าเรื่องออกมาแล้ว
ผมนึกว่าจะมี ผมคนเดียวที่วนซ้ำขนาดนี้
ผม7รอบ มากกว่าครับ
นายอาร์มอธิบายได้ดีมากเลยครับ เคยทำเรื่องเหตุการณ์นี้เป็นหัวข้อสัมมนา เล่าเหตุการณ์แบบนาทีต่อนาที แต่รายละเอียดเชิงลึกยังไม่เท่านายอาร์มเลยครับ (สาเหตุการเกิด xenon poisoning)
ส่วนนี้ก็จริงครับ แต่ส่วนใหญ่มาจากพนักงานในห้องครับเพราะ หน้าที่พวกเขาคือแค่ดูแลสิ่งที่กะเช้าทำ แต่กบายเป็นว่างานมาตกที่พวกเขาแทนด้วยความไม่รู้จึงได้ดูแค่คู่มือไปที่ระขั้นนั้นแหละครับ มันจึงทำให้เตาเช้าลง(ซีน้อน135 ดูดการทำประฏิกิรยาจึงทำให้พบังงานตก การวางยาพิษเตา)ตามจริงสามารถปิดเตาได้เลยแต่ว่าตอนนั้นเหมือนจะมีปัญหาอะไรสักอย่างพวกเขาจึงทำต่อจนเกิดหายนะ
ฮ ร่วงตอนท้ายไม่ได้เกิดจากรังสีตามในซีรีย์ ในคลิบเกิดจากหลังเหตุการณ์ระเบิด5เดือน และที่ร่วงเพราะเกิดจากความผิดพลาดนักบิน ใบพัดไปเกี่ยวสายเคเบิ้ล
ไปดูข้อมูลได้จากคลิบที่เอามานั่นแหละ
จริงครับ ในคลิปเห็นด้านบนไม่หมด แต่ตอนใบพัดแตกจะเห็นได้ว่าสายเคเบิ้ลนี่ขนาดกระจุย
เห็นว่าที่มันโดนเพราะมันคุมเครื่องลำบากครับ ระบบมันรวนจนมันลอยเท่งเต้ง จนดึงคันหลบก็ลำบาก จนโดนสายเคเบิ้ลเอง (จริงๆในซีรี่ส์ก็สายขาดนะ เหมือนจริงแหละครับ)
ผมก้ว่าอยุ่ทำไมมันย้อนแย้ง แค่รังสีทำให้เครื่องบินตก
@@1US11 ถ้าจะทำให้สมเหตุสมผล ต้อง เกิดจากรังสี ทำให้ ระบบบนเครื่องรวน แล้ว ควบคุมไม่ได้ เลยไปเกี่ยว สลิง ร่วง อันนี้ดูจะเป็นไปได้
44:03 อันนั้นใบพัดฮอมันชนสายครับพี่อาร์ม5555555555555
แชทเตือนแล้วกูก็ไม่เชื่อ
กัมตรังสีมันสามารถรบกวนการทำงานของเครื่องจักรได้ครับ
เคยฟังเรื่องนี้มาเป็นล้านรอบ แต่ไม่เคยฟังมุมลึกๆแบบนี้เลย ดีใจนะที่กดมาดู ทั้งๆที่ก็ฟังจากหลายเจ้าแล้ว
จริง ฟังมาหลายที่ รู้ว่าต่ำและสูงไว ไม่รู้ว่าจริงๆมันเป็นยังไงแน่ มาฟังนายอามเหมือนเรื่องใหม่เลย
“ของราคาถูก” ประโยคนี่คือสิ่งที่ปรากฏในซีรี่ย์และในเหตุการณ์จริงตอนขึ้นศาลเลย
ที่เลือกใช้แบบ Positive เพียงเพราะว่าราคาถูกแค่นั้นเลย
ได้มีโอกาสดูซีรีย์เรื่องนีเพราะอาจารย์เปิดในห้องค่ะ ต้องกลับไปดูต่อที่บ้านเลย ชอบมาก ความละเอียดของเนื้อหาและข้อคิดที่ได้จากเรื่องนี้ ดีมากค่ะ
นาทีที่#19:30-#19:56 ผมว่ายังไงกำลังไฟก็ไม่เพียงพอที่จะปั้มน้ำตามที่เครื่องต้องการได้ครับ อาจจะทำให้เครื่องปั้มเกิดความเสียหายจากกำลังไฟไม่พอกับแรงดันน้ำของปั้ม อีกอย่าง แหล่งกำเนิดไฟที่ปั้มน้ำใช้งานใช้จากแหล่งไหน ผมเชื่อว่าไม่ได้ใช้ไฟจากนิวเคลียร์แน่นอน เขาจะต้องใช้แหล่งไฟที่ได้จากที่อื่นเพื่อลดการเกิดปัญหาซ้ำซ้อนและไฟ้ฟ้าดับหรือปัญหาไฟฟ้าไม่เพียงพอ
ใช้กังหันนั้นแหละครับ เพราะว่า เครื่องไฟฟ้าสำรองดีเซล พลังกว่าจะมาแบบ100% ต้องรอประมาณ1นาทีครึ่งเขาถึงใช้กังหันใบพัดที่ปั่นอยู่ในความเร็วต่อรอบผมก็ไม่แน่ใจ300^10 ประมาณ5พันรอบต่วินาที เขาจึงใช้ส่วนตรงนี้ในการผลิตกระแสไฟฉูกเฉินเพื่ออุดช่องว่าง1นาที แต่ก็ไม่เป็นผล
โดมที่ครอบใหม่สร้างมารองรับอีก100ปีครับ ถ้าครบแล้วก็ต้องสร้างโดมใหม่มาครอบอีกที55
กลัวรัสเซียจะถล่มเสียก่อน ตัวประกันชั้นดีเลย
@@นานๆทีเที่ยว ผมว่าแม้แต่รัสเซียก็คงไม่เสี่ยงอะครับ พรีเพียตมันไม่ได้ไกลจากทั้งเบรารุส (เบี้ยรัสเซีย) และรัสเซียขนาดน้้น รั่วไหลขึ้นมาทีเดือดร้อนกันหมดเปล่าๆ
@@นานๆทีเที่ยว กระจอก
ต้องซ่อมแซมอยุ่เรื่อย เสียงบไม่รุ้จบ แค่นี้ยูเครนก้หมดไปหลายหมื่นล้านดอลละ
@@1US11 อเมริกาออกหมดเลยโครตแพงอะ
อธิบายได้เข้าใจง่ายมากเลย👍🏻
ตัวของเฮลิคอปเตอร์ที่ตก (Mi 8) อันนั้นถ้าจำไม่ผิดจะเป็นการที่ตัวใบพัดไปโดนสลิงที่เครนนะครับ
จริงๆแอบงงปุ่ม AZ5 คือถ้ามองเป็นปุ่มฉุกเฉินในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ทำไมsetระบบให้แท่ง control rod ที่มี graphite อยู่ข้างล่าง ทิ่มลงทั้งหมดไม่ว่าอยู่ในระดับไหนอะ เพราะเหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดได้ใน positive void coef. มันคือปฏิกิริยาสูงเกินไปอะ ทิ่ม graphite ลงมาก็ยิ่งหนักสิ หรือเขาไม่คิดว่ามันจะทิ่มลงมา 200 อันทีเดียว
ตอนนั้นเกิดแรงดันที่ใต้เตาครับ แท่ง โบรอนที่อยูาด้านบนที่คอยซับนิวตรอนไม่สามารถบงมาได้ มันจึงเกิดเป็นข่องว่างในเตาครับเพราะเกิด แรงดันมาก ตัวแรงดันเลยพยายามดันตัวแท่ง rod ฉุกเฉิน ปรากฏว่าสิ่งแรกที่ลงมาตอนกดปุ่มคือแกนไฟต์ที่คอยเนี่ยวนิวตรอนแต่ตอนนี้ เตาร้อนมากเกิดจากไม่มีน้ำหล่อเย็นแตัวแกร์ไฟต์มันจึงกลายเป็นประจุบวกทันที มันทำให้เกิดความร้อนเพราะการเร่งประฏิกิริยาน้ำทั้งหมดในเตากลายเป็นไอ***
ใช่ครับ ถ้ากดแล้ว rod โบรอนจะหย่อนลงมาทั้งหมด เลยครับ😁 ขอเสริมนะครับในคริปบอกว่า พวกเขาไม่รู้จำนวนที่เอาแท่งโบรอนออก ตามจริงมันมีบอกอยู่นะครับจะเห็นตัวแผง MTK-1 ถ้าในหนังจะเป็นจอตัวเรืองแสงเยอะๆกลมๆใหญ่ๆสองด้านของ selsyns ตัวนั้นแหละครับที่คอยบอกจำนวนแท่งต่างๆ ในตัวเครื่อง
ช่วงนี้สมัคร HBO เลยได้ดูชิโนบิล สนุกมากเลย ฟังจากนายอาร์มมาก่อนรอบนึงแล้ว มาฟังอีกรอบเข้าใจขึ้นเยอะเลย
ทำไมอาจารย์หรือครู ตอนผมเรียนไม่สอนให้เข้าใจแบบพี่บ้าง ผมฟังพี เรียนรู้อะไรจากหลายๆคลิปได้เยอะกว่าที่เรียนในชีวิตทีผ่านมาอีก
ไม่ใช่ไม่ตั้งใจเรียนนะ แต่ สอนไม่เข้าใจ ทำให้หมดอารมณ์อยากเรียนรู้ต่อ
แต่พอมาเรียนรู้กับพี่ ความรู้ได้หลายๆๆด้านเลยครับ ขอบคุณพี่มากๆครับ😂😂😂😂😂😂😂
จริงครับ อาจารย์สอนไม่ละเอียด แถมสอนมั่วด้วย
ก็คือมันระเบิดเพราะ ความซวยหลายๆ อย่างบังเอิญเกิดขึ้นพร้อมกัน ทั้งเมืองที่ขอให้ทำไว้ที่ 1500 ทั้งคนคุมที่เลื่อนมาเป็นกะดึกแทนที่จะเลื่อนวัน ทั้งคนดึงแท่งที่ดึงออกหมด ทั้งปุ่มฉุกเฉินที่ดันออกแบบให้มีแกร์ไฟต์อยู่ข้างล่าง เลยบึ้ม เป็นโกโก้ครั้ช์
จริงๆแอบหวังให้นายเอม เป็นคนเล่าเรื่องนี้ แต่ไม่เป็นไรครับ ชอบๆพี่น้องคู่นี้
มุมมองในด้านผลกระทบจากรังสี แบบในชีวิตจริงๆ ที่เกิดกับตัวเรานะครับ
โดยปกติแล้วรังสีจะมีการแผร่รังสีตลอดเวลาครับ หรือมีการปลดปล่อย activity ตลอดเวลา ครับ
ถ้าถามว่า ‘มันเกิดผลยังไงกับเรา’ คือรังสีมันมีความไวกับน้ำมากๆ เมื่อมันเจอน้ำม้นจะทำให้เกิด radical หรือ free radical ครับ ที่เราเรียกกันว่าอนุมูลอิสระ โดยปรกติในร่างกายเรามีการเกิด อนุมูลอิสระ และมีการกำจัดอยู่แล้ว แต่ในร่างกายเรามีน้ำ 80% ดังนั้นเมื่อรังสีโดนเราหรือเราได้รับ รังสี แน่นอนครับมันจะเกิดปฏิกิริยากับน้ำก่อนเรียกว่า ปฏิกิริยา hydrolysis ทำให้เกิดความเสียหายของเชลล์ในร่างกาย แต่ความน่ากลัวมันอยู่ที่ ชนิดของรังสีครับ ถ้ารังสี ชนิด low LET มันจะน่ากลัวกว่าครับคือเราจะไม่สามารถรับรู้ได้ว่าเราได้รับรังสีเลยและบางครั้งไม่สามารถตรวจได้ว่าเราได้รับรังสีอต่มันจะไปแสดงผลในรุ่นลูกหลานเลย แต่ถ้า เป็น ชนิด Hight LET มันจะเกิดผลทันที รับรู้ได้ว่าเราได้รับรังสี แต่ก็ใช่ว่าจะไม่น่ากลัว ความน่ากลัวขึ้นกับปริมาณที่ได้รับรังสีครับ เพื่อนสามารถอ่านเปเปอร์เพิ่มเติมได้มีเยอะมากๆ
รังสีในเบอร์โนบิล เท่าที่ผมดูๆ มาจะเป็นรังสีแกมม่าซะส่วนใหญ่ที่วิ่งมะลุผ่านเข้าไปทำลายเซลล์ แต่ขอบคุณครับผมเข้าใจมากขึ้นเลย🙏🏻😀
ตอนเรียน อ.Powerplant ก็สอนคล้ายๆ แบบนี้ เรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ มันสะอาดและปลอดภัย แต่ถ้าถามว่าให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มาตั้งอยู่หลังบ้านอาจารย์ได้ป่าว
อาจารย์ก็บอกว่า ผมก็ไม่เอาเหมือนกัน 5555555
เอาโรงไฟฟฟ้าแบบไหนมาตั้งหลังบ้านผมก็ไม่เอาเหมือนกัน 5555
ตัวระบบมันปลอดภัยแหละครับแต่ผู้ควบคุมดูแลระบบ อาจหละหลวม ซึ่งที่ปทท. ก็รู้กันๆยุ ลงแต่ชื่อตัวไม่มากตรวจเยอะแยะ.
มันก็เหมือนเห็ดพิษนั่นแหละครับ สีมันสวย แต่กินเข้าไปก็เสี่ยงตายได้เลย😆
ตัวกระบวนการปั่นไฟมันสะอาดไร้มลพิษเเละปลอดภัยต่อสิ่งเเวดล้อมนั้นแหละคับถูกเเล้วยกเว้นถ้ามันระเบิดอันนั้นก็อีกเรื่องนึง
พึ่งได้มีโอกาสมาฟังพี่ 9arm คลิปแรก อธิบายดีมากเลยครับ ขนาดคนไม่รู้เรื่องพวกนี้อย่างผมยังพอมองภาพตามออกได้
เพราอย่างนี้แหละครับการเตรียมความพร้อม และการซ้อมเตรียมรับมือเหตุการณ์ต่างๆถึงได้สำคัญ เพราะในขณะที่กำลังทำการซ้อมอยู่ยังเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้นได้เลย
ฟังวนรอบที่ 10 ไม่ใช่ไม่เข้าใจ แต่ชอบเรื่องนี้ เพราะเคยไปเจอหนังสือพิมเก่า ลงหน้า 1 เรื่องนี้ เอาไปถามคุณตาตอนเด็กๆ ตาพูดประมาณให้เราเข้าใจง่ายๆแบบเด็กๆ แกบอกมันคือบ่อน้ำเน่าระบิดที่คนโดนแล้วจะป่วย กลิ่นจะติดตัวไปหลายปี พอโตมา ลองหาสาเหตุ อ่านแต่ไม่เข้าใจ ไปดูสปอยซีรี่ แล้วมาดูพี่อามคือ แตกฉานสุดๆ
ขอเสริมหน่อยครับ ในคลิปที่ ฮอ.ตก มันตกเพราะมันบินไปเกี่ยวกับสายสลิงเครน ครับ
รอท่านรัฐมนตรี 9arm แถลงเรื่อง 9near
ตอนนี้ 9arm เป็นทุกสาขาให้คุณแล้วว😂
44:03 จริงๆแล้วคอปเตอร์ไปชนเส้นลวดสลิงที่ขึงไว้นะครับ ไม่ใช่โดนรังสีละลายเครื่อง
ฟัง 9arm อธิบายการระเบิดนิวเคลียร์
ฟังแล้วเข้าใจ ❌️
ฟังแล้วตาลอย ✅️
เรื่องเกี่ยวกับเคมีคือสมองไม่ทำงานจริงๆ เดี๋ยวจะกลับไปฟังใหม่นะคะ 😅😅
คันเร่งกับเบรกที่พี่พูดถึงคือ control rod ครับซึ่งมีหน้าที่จับนิวตรอนส่วนเกินเพื่อให้ปฏิกิริยาคงที่และปลอดภัยมันจะเป็นยังนั้นถ้าใช้โบรอนแต่กลับใช้แกร์ไฟร์ที่ให้ผลตรงกันข้าม
ส่วนXenonจะเกิดจากการที่ลดกำลังการผลิตครึ่งหนึ่ง
ภาพตอนสุดท้ายนึกภาพนี่สุดๆเลย👍 ก่อนนี้นึกถึงรังสีที่ส่งผลกระทบหนักๆก็หลอมละลายระดับเซลล์ ไม่นึกมาก่อนเหมือนกันถ้ามันเข้มข้นมากๆ มันหลอมละลายระดับโมเลกุลเลย 43:55
อาจารย์ผมจะสอนเรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์วันนี้ เลยให้มาดูคลิปนายอาร์มก่อนเข้าเรียนครับ เป็นประโยชน์มากๆ
ฟังแล้วสนุก อธิบายได้เข้าใจง่ายมาก
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ไม่ใช่สิ่งไม่ดี หากต้องการๆดูแลจัดการที่ดี…ที่ดีมากๆ
คำถามคือระบบการจัดการทั้งภาครัฐและเอกชน ความรู้ความสามารถ และMindsetของคนที่จะมาเกี่ยวข้องทั้งระดับผู้ปฏิบัติการและ”ผู้บริหาร”หรือ”ผู้กำกับ” เราดีจริงไหม?
ถูกต้องครับ100%
chernobyl ของ HBO คือหนึ่งในซีรีส์ที่อยากแนะนำให้ทุกคนดู มันมีแค่ไม่กี่ตอนแต่ทรงพลังทุกตอน มันนำเสนอได้สมจริง ไม่บีบคั้น ขณะเดียวกันก็สนุกอย่างเหลือเชื่อ ยกให้เป็นหนึ่งในซีรีส์ที่ดีตลอดกาลอีกหนึ่งเรื่อง แคสติ้ง การแสดง โปรดักชั่นคือสุดทุกทาง โดยเฉพาะบทคือดีแบบสุด ต่อให้เรารู้อยู่แล้วว่าเกิดอะไรกับที่โรงไฟฟ้าแห่งนี้แต่ซีรีส์นำเสนอได้แบบลุ้น สนุกทุกตอน โดยเฉพาะฉากในศาลคือตำนานมาก ใครไม่เข้าใจโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ RBMK ทำงานยังไง และมันระเบิดได้ยังไงๆ (จริงๆ ก็ตามในคลิปแหล่ะ)
เหนืออื่นใด ซีรีส์เรื่องนี้มันหลอกให้คนดูรู้สึกว่าปัจเจคคือสิ่งที่ทำให้เกิดการระเบิด แต่ท้ายที่สุดซีรีส์มันนำเสนอได้เฉียบคมว่า "ระบบที่ห่วยแตก" ต่างหากที่จุดระเบิดนี้ขึ้น
แต่ให้สร้างในไทย ผมว่าคนไทยน่าจะต้อเตรียมใจได้เลย ไหนจะทัจริตก่อสร้างคุณภาพอาจไม่ได้ แถม จนท.จะมีความรับผิดชอบขนาดนั้นไหม แค่คิดก็สยองแล้ว ข่าวล่าสุดวัตถุมีสารกัมมันตรังสียังหลุดไปได้ง่ายๆ อย่าเลยประเทศไทยอย่าหาทำ 😅
ผมดูตอนไลฟ์ทันก่อนเข้าเรื่องขำเลยมีคนโดเนทแล้วเขียนไว้สิริก็อ่าน "สตาตระแปปนะคับ แตแตแตแตแตแตแตแต" ยาวประมาน1นาที
โรงงานไฟฟ้าพลังงานแกส ธรรมชาติ ปัานโดยจุดระเบิดปั่นใบพัดโดยตรง แบบเครื่องยนต์ไอพ่น ครับ
แบบใช้ ใช้น้ำ กัน เครื่องยนลูกสูบ ก็มีครับ
ป้ำน้ำดับเพราะการทดลอง(ตั้งใจปิด) หรือเพราะไฟฟ้าหาย(ตอนเครื่องดับ)ครับ ไม่เห็นพูดถึงว่าทำไม่น้ำมันถึงไม่เติม5555
28:13 ช็อตนี้อย่างชอบ
เฮลิคอปเตอร์นี่ เกิดจากการชนกับ เครน/สลิง ไม่ใช่หรอครับ
นั่นนะสิ งง เหมือนกันครับ
ยอดเยี่ยมครับ แต่อดคิดว่าไหนๆก็ไม่มีที่วัด ทำไมไม่ล็อคไว้เลย 16 แท่ง?
ในคลิป นาทีที่ 44 ที่ว่าฮอตก
รังสีอาจมีส่วนแต่ถ้าดูดีๆเหมือน ใบพัดเครื่องจะไปโดนสลิงของเครนมากกว่านะ เครื่องถึงตก...
ถ้าบ้านผมนะ ใช้ลูกลอยคัฟ😄เตาปะติกรไม่ร้อน เพราะน้ำจะเติมตลอด ก็อกน้ำก็รั่วปั้มทำงานตลอด😁😁😁น้ำหมุนเวียนตลอด1นาทีคัฟ😄😄
12:00 กดถูกใจตรง ประโยคนี้เลยครับ
ชอบพี่เล่าเรื่องมากเลยค่ะ ทำเรื่องยากๆให้กลายเป็นเรื่องเข้าใจง่าย สุดยอดมากๆ ส่วนตัวชอบวิชาเคมีมาก แต่ทิ้งมานาน พอมาฟังพี่เล่าแล้วคิดถึงวิชานี้เลย
ผมดูมาหลายที่ของคนไทยนะ 9arm อธิบายได้ละเอียดแบบเข้าใจง่ายมากครับ ขอบคุณครับ
แผลจากการโดนรังสี ทำไมถึงเน่าเละน่ากลัว เพราะรังสีแกรมม่าถูกฉายผ่านเซล์ผ่าน DNA ทำให้ DNA ถูกทำลาย เมื่อ DNA ถูกทำลายเซล์นั้นก็ไม่สามารถทำงานได้อีกต่อไปเพราะ DNA เมื่อเหมือนระบบสั่งการทำงานของเซลล์ เมื่อเซลล์ไม่สามารถแบ่งเซล์หรือลำเลียงสารต่างๆได้ ก็เน่าไป
ไมเคิล ฟาราเดย์ : ยังต้มน้ำอยู่อีกหรอ
นักวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน : ตลอดไป
เป็นคนที่ อธิบายอะไร ได้เข้าใจง่ายมาก ชอบมากเลยครับ
อธิบายได้เข้าใจ ง่ายมากๆ
จากข่าวซีเซียมมารู้สึกว่าอะไรอยู่ที่ไทยแม่งก็อันตรายหมด ต่อให้ global prove แล้วว่ามันปลอดภัย เพราะมันจะปลอดภัยได้ต่อเมื่อทำตาม protocol
ลองไปหาอ่านข้อมูลดูจากคนที่ทำงานคลุกคลีกับสารพวกนี้กับโรงงานแนวนี้ดูครับ แกบอกสื่อปั่นข่าวจนมันดูรุนแรงเกินความเป็นจริงในกรณีนี้นะ ไม่ประเมินความรุนแรงมันต่ำเกินไปก็ดีอยู่หรอกแต่รายละเอียดยังไม่ชัวร์ทำคนตื่นตูมหมด
เรือดำน้ำพลังนิวเคลียร์ หลักการเหมือนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ มั้ยครับ
เหมือนกันครับ
น้องหมาในนั้น DNA เปลี่ยนไปแล้วครับ แตกต่างจากหมาทั่วไป
เชื่อมั้ยว่าดูสารคดีมาตั้งนาน ดูนายอามครึ่งคลิปถึงบางอ้อ 5555
จริงเข้าใจง่ายมาก
ถ้าเป็นเหตุการ์แบบคู่ขนานละครับ วินาทีนั้นควรจะทำอะไร(ตอนความร้อนขึ้นสูงมากๆ)? และถ้าไม่กดปุ่มมันจะเกิดอะไรต่อครับ ?
เสริมนิดหนึ่งฮะ เครื่องบินไม่ได้ตกเพราะรังสีนะครับเพื่อนๆ แต่ตกเพราะเสียการควบคุมและชนเข้ากับสายเคเบิลของเครน เนื่องจากระบบอิเล็กทรอนิกส์มีปัญหาจากรังสีครับ
คลิปในหนังจะเห็นรอกของเครนตกลงพื้น ส่วนคลิปจริงจะเป็นอีกมุมกล้องจะเห็นว่าสายสลิงขาดตอนใบพัดไปโดนครับ
ขอบคุณครับ! ฟังเพลินดี😊 ช่วยแนะนำคนไทยรุ่นเก่าๆให้เข้าใจบ้าง
ตอนนี้ทางการทำได้แค่สร้างโดมมาครอบเอาไว้แล้วต้องรออีก 9,000 ปี
44:00 ใบพัดขาดกระจุย หาง งอเลย น่าจะโดนหลอมละลายในพริบตา โหดสาด
ฟังแล้วฟังอีก😊❤😊
พี่สิงฆ์วรรณสิงฆ์แกก็เคยไปนะครับ ลองเสริชหาดูได้น่าจะไปตอนปี2016นะถ้าจำไม่ผิด
เป็นซีรี่ย์ที่ดีจริงๆ แนะนำให้ดู เป็นซีรี่ย์ฝรั่ง 1 เรื่องที่ควรเก็บมากๆ
โซน เอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศไหน มีประเทศไหนใช้บ้างมั้ยครับ
ไม่มีแต่เคยมี และกำลังจะกลับมาใช้อีก คือฟิลิปปินส์
ดูสด แล้วไปดูซีรีย์ แล้วกลับมาดูอีกทีเข้าใจขึ้นเยอะเลยค่ะ ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณที่ทำคลิปด้วยภาษาและรูปภาพที่เข้าใจง่าย การอธิบายน่าติดตาม ขึ้นมานะคะ จะติดตามดูทุกคลิปเลยค่ะ
44:00 ดูแล้วใบพัด ฮ. ไปโดนสลิงป่ะครับ
ชอบมากครับผมจบม.3ยังฟังเข้าใจทั้งๆที่ภาษาอังกฤษไม่ได้เลยสุดยอดครับจารย์
สรุปได้เข้าใจง่ายมากครับ จากที่พยายามหาคลิปที่อธิบายเรื่องนี้ มากระจ้างกับคลิปนี้
43:59 เท่าที่สังเกต จังหวะเฮลิคอปเตอร์ตก เหมือนไปเกี่ยวโดนสายที่ห้อยลงมาเลยครับ สายขาดกลับเครื่องตกพร้อมๆ กัน
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มันสะอาดและปลอดภัยถ้ามันไม่ระเบิด แต่ถ้ามันระเบิดมันจะอันตรายที่สุด
โรงไฟฟ้าชีวมวลประมานนี้ครับเอาแกลบเผาต้มน้ำ เอาไอน้ำปั่นใบพัดเทอร์ไบน์ ปััญหาที่เจอก็ปัญหาไทยๆเลยครับ กินกันอร่อย
น้องอาร์มมีช่องใหม่ จากช่อง Aimmuno หรือเปล่าคะ
อันนั้นน้องชายผมครับ
ผมไม่เข้าใจตรงที่เวลาดึงคอนโทรลหลอดออกหมดแล้ว แสดงว่าแกไปก็ต้องเดินดึงออกไปด้วย ทำไมในถังยังเกิดปฏิกิริยาอยู่อีกในเมื่อแกไฟท์มันมีไว้เพื่อทำให้ปฏิกิริยามันเกิดขึ้นเพราะว่าอะตอมมันวิ่งเร็วเกินไปถ้าไม่มีแกรไฟต์ในถังมันต้องไม่เกิดปฏิกิริยาหรือเปล่าอันนี้ผมงง
ปฏิกิริยาเกิดได้เองครับ graphite เป็นแค่ตัวเร่ง
น้ำคือทุกสิ่งทุกอย่างของเรา มันคือสิ่งที่ปูพื้นฐานให้เรามีวันนี้ แต่มันอยู่ใกล้ตัวเราเกินไปจนเรามองข้ามคุณค่าของมัน
เราเกิดจากน้ำ ตายไปก็หลอมเหลวกลายเป็นน้ำ
แพนหาง ใบพัดละลายภายในไม่กี่วินาที 44:03 ถ้าส่องคงไม่ใช่หัวขาดหรอกครับ แต่เป็นหัวไหม้ นึกถึงตอนเฮียนิโคลัสเคจแปลงร่างเป็นghost riderเลย ไฟลุกฟลึ๊บ😆😆
เอ่อ ภาพสุดท้าย ไทยใช้ลม โซลาร์เซลล ต่อไป
เชื่อมั้ยถ้าพี่เป็นครูสอนผมคงตั้งใจเรียนไปนานแล้ว😂😂😂 สนุกมากครับไดัความรู้เยอะเลย
ขอบคุณนายอาร์มมากค่ะ ตอนเราดูสารคดีไม่เข้าใจเลย เข้าใจแค่ส่วนของเรื่องการเมือง เพิ่งมาเข้าใจส่วนของ technical ก็วันนี้แหละค่ะ กราบบบบว่าที่5555555
ฟังแล้ว โรงไฟฟ้าน่าจะใช้หลักการควบคุม PID control ใช่มั้ยครับ
Thanks
อยากฟังคุณอาร์มเล่าเรื่องนี้มาตลอด ขอบคุณที่เล่าให้ฟังนะคะ❤️
Thank you very much for the information.👍🏻👍🏻👍🏻👌
สะดุ้งอีกรอบว่างๆ น้องจะไปเล่นเกมด้วยนะคับทุกท่าน