เรือดำน้ำ Titan

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 8 лют 2025
  • LIVE เต็มครบๆ (เฉพาะสมาชิก): ua-cam.com/users/li...
    สนับสนุนนายอาร์มง่ายๆ
    Subscribe / Like / Comment
    ซื้อสินค้านายอาร์มสุดเท่: shop.9arm.co
    ระบบสมาชิก: www.youtube.co...
    ซื้อของผ่าน Shopee: shp.ee/qbhc4ez
    อุดหนุนสินค้านายทุน
    Ophtus: / ophtus (โค้ด 9ARM)
    Grainey: / graineysnack
    Keychron Thailand: www.keychronth... (โค้ด 9ARM)
    425degree: 425.ee/3wqRiRH (โค้ด 9ARM)
    Electronic Extreme: exe.in.th/9arm
    BullVPN: www.bullvpn.co... (โค้ด 9ARM ลดรายปี 15%)
    G-BEAT : line.me/R/ti/p... (โค้ด 9ARM)
    #titansubmarine #titanic
    Facebook : / castby9arm
    Twitter : / castby9arm
    IG : / castby9arm

КОМЕНТАРІ • 1,1 тис.

  • @onyourgy4129
    @onyourgy4129 Рік тому +1021

    มันคือความจริง เจมส์ คาเมรอน คือ นักสำรวจทะเลลึก ที่สามารถกำกับหนังได้นิดหน่อย 55555

  • @Drsteel-lq8ly
    @Drsteel-lq8ly Рік тому +367

    เสริมนิดนึงครับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทะลุผ่านน้ำไม่ได้ครับ มันไม่ใช่ทะลุผ่าน H2o ไม่ได้แต่สารละลายในน้ำมันทำให้คลื่นกระเจิง แล้วยิ่งน้ำทะเลมีเกลืออยู่เยอะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดนเกลือดูดจนไม่เหลือ
    แล้วทำไมของตาเจมแกโทรคุยได้ ? เจมแกลากสายเอาครับลากลงไปเลย 4 km
    ป.ล. เรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่ทะลุน้ำทะเลก็เป็นปัญหากับกองทัพเรืออเมริกันเหมือนกัน ถ้าเพนตากอนสั่งยิงนิวเคลีย เรือดำน้ำนิวเคลียจะยิ่งช้าสุด เพราะต้องใช้เวลา 8-12 ช.ม.เพื่อให้เรือดำน้ำได้รับคำสั่งยิง สมมุติสั่งยิงตอนตี 5 กว่าเรือจะโผล่มายิงให้อาจจะเที่ยงวันเลยก็ได้

    • @poowangdee5
      @poowangdee5 Рік тому +27

      อูวววว ถึงว่าแหละ ดูสารคดี(แบบกรอรัวๆ)ก็คิดอยู่ว่าการสื่อสารไร้สายแรงขนาดไหนที่ยิงได้ 11Km

    • @fjkhgihv3826
      @fjkhgihv3826 Рік тому +11

      พอจะมีคลื่นอื่นที่ใช้แทนได้มั้ยครับ หรือไม่มีคลื่นไหนอีกแล้วที่สื่อสารในน้ำได้

    • @op_3452
      @op_3452 Рік тому +6

      ผมว่าแรงดันน้ำใต้ล่างแถบจะเปิดปนะตูรถหรือเปิกจากภายในไม่ได้เแน่นอน เหมือนเราแบกน้ำล้านๆตัน

    • @realityshot4968
      @realityshot4968 Рік тому +14

      @@fjkhgihv3826ปกติใช้คลื่นในย่านVLFครับ หรือไม่ใช้วิธีปล่อยทุ่นลากสายให้ไปรับสัญญานเหนือนำ้

    • @Drsteel-lq8ly
      @Drsteel-lq8ly Рік тому +10

      @@op_3452 เรือดำน้ำนิวเคลียร์ยิง ICBM ได้เมื่ออยู่ใต้น้ำไม่เกิน 3 m ครับไม่ใช่ยิงจากความลึกสูงสุด หลังจากได้รับคำสั่งยิงมันจะลอยลำขึ้นมา

  • @ppautopart2565
    @ppautopart2565 Рік тому +558

    ในมุม Engineer คุณอาร์มทำคลิปได้ดีมากๆครับ หลายๆคนมองข้าม ความแข็งแรงและองค์ประกอบรอบด้านกันประจำ ทำให้เวลาทำอะไร เราก็มักจะพลาดจุดเล็กๆได้หมดครับ RIP กับการผลิตที่ไม่ได้ตรวจสอบให้ดีก่อนใช้งานจริง

  • @evejangja
    @evejangja Рік тому +1071

    ดูข่าวรู้นะว่าเรือไม่ค่อยปลอดภัยแต่ไม่คิดว่าจะมีจุดเสี่ยงหลายจุดขนาดนี้ ที่ควรทดสอบก็ไม่ทดสอบ ถึงจะอ้างเป็น innovations ใหม่ๆ แต่ก็ควรคำนึงถึงความปลอดภัยที่สุดเลย ขอบคุณที่เล่าให้ฟังนะคะ เพิ่งรู้เลยกว่าจะสร้างเรือเพื่อดำลงไปได้เค้าทำกันแบบนี้ ฟังเพลินมากๆ ใดๆ ชอบอุปกรณ์ประกอบมาก ทั้ง G-BEAT ทั้งที่เก็บแผ่นรองเม้าส์ ทรงกระบอกพอดีเหมาะจัดๆ เห็นละอยากได้เลย รออุดหนุนนะคะ 😊

    • @commonboy1315
      @commonboy1315 Рік тому +4

      ฃคำลง

    • @flukrishboy4668
      @flukrishboy4668 Рік тому +27

      ถ้าได้ดู Deep Sea Challenger 2014 จะรู้เลยว่า Titanโคตรอันตรายการสื่อสารผ่านการพูดคุยไม่มีอุปกรณ์ปกป้องกันอัคคีภัยใดๆภายในตัวยานไม่มีอะไรเลยที่จะสามารถทำให้รอดชีวิตได้ถ้าเกิดข้อผิดพลาดขึ้นมาระหว่างการสำรวจ

    • @pusu-v8q
      @pusu-v8q Рік тому

      ua-cam.com/video/vS1_sIwylHU/v-deo.html กว่าจะหาเจอ คลิปที ประกบ ริงกับขอบตัวถัง พ่อแกติดกาว

    • @lcanon4590
      @lcanon4590 Рік тому +8

      คิดนอก กรอบ อาจ shipหายได้คะ
      ไม่ควร ประมาท ใน ทะเล และ อวกาศ

    • @topkunch.1308
      @topkunch.1308 Рік тому

      😮😢🎉🎉

  • @AC-sc7nb
    @AC-sc7nb Рік тому +3454

    อิไททันเวรนี่มันไม่ใช่นวัตกรรมอะไรหรอก มันคือความมักง่ายล้วนๆ

    • @whatthecat3855
      @whatthecat3855 Рік тому

      มักง่ายเพราะ มี CEO หัวควe แบบนั้นไงล่ะครับ อีโก้เยอะจนล้น เขาหวังดีไปไล่เขาออกเฉย

    • @Mirrorqueenb
      @Mirrorqueenb Рік тому +85

      🤣🤣🤣🤣🤣

    • @byobukuruzen
      @byobukuruzen Рік тому

      ตายแบบโง่ๆ

    • @King-sn3y
      @King-sn3y Рік тому +220

      จริง บางคนโยงไปชื่อเรือเฉย 555

    • @alifbillee4869
      @alifbillee4869 Рік тому +487

      มักง่ายเเล้วยังโลภมากอีก สงสารคนที่ไปกับเรือนี่เลยคุณภาพไม่สมราคา

  • @curiosity-channel
    @curiosity-channel Рік тому +237

    กำลังทำข้อมูลเรื่องนี้พอดีเลย
    ว่าจะเน้น engineering เหมือนกัน
    เรื่องข่าวว่าเกิดอะไรขึ้น ที่ไหน ยังไง คนทำไปเยอะละ
    ชอบเนื้อหาแบบนี้ เน้น engineering อธิบายการยืดหดของวัสดุ stress , strain

    • @PemGoodluck
      @PemGoodluck Рік тому +1

      🎮🎮

    • @athitwandee3545
      @athitwandee3545 Рік тому +2

      รอชมครับ

    • @ผัดกะเพราแมว
      @ผัดกะเพราแมว Рік тому +3

      ทำเลยครับอยากเห็นในมุมมองของวิศวกรโครงสร้างบ้างครับ

    • @bsbells.5216
      @bsbells.5216 Рік тому

      ผมชอบคุณมาก เนื้อหาดีมาก ขอบคุณนะครับ ❤❤❤

    • @bbbirddd2
      @bbbirddd2 Рік тому +1

      รอชมครับ 😃

  • @annamorn7794
    @annamorn7794 Рік тому +270

    การดำน้ำแบบใช้แทงค์ กับการดำน้ำแบบ free-dive การหายใจมันคนละแบบกัน ดำน้ำแบบใช้ oxygen tank ปอดคนเราจะหดตัวลง แต่การดำน้ำแบบ free-dive ปอดคนเราจะขยายเพื่อรับอากาศให้ได้มากที่สุดในการดำน้ำต่อ 1 ลมหายใจ ดังน้ันเวลาขึ้นจากน้ำลึกคนที่ใช้ tank จะต้องพักน้ำเป็นช่วงๆเพื่อให้ปอดที่หดตัวขยายช้าๆ ถ้าขึ้นจากน้ำเร็วเกินไปก็จะทำให้ปอดฉีกขาดและนั่นจะทำให้เลือดออกจาทวารทั้ง 7 แต่การดำน้ำแบบ free-dive สามารถขึ้นจากน้ำได้เร็วโดยไม่ต้องกังวลเรื่องปอดจะฉีกขาด เพราะปอดที่ขยายรับอากาศจะหดตัวลงเรื่อยๆทำให้ต้องรีบขึ้นจากน้ำก่อนที่จะหมดลมหายใจคะ ซึ่งใช้เรือดำน้ำก็ไม่ต่างจากการใช้ tank เหมือนคนดำน้ำลึก เพราะคนอยู่ในลำเรือจะต้องอาศัยอากาศจากถัง oxygen ที่มีกาซไนโตรเจนอยู่ เพราะขนาดนักดำน้ำใช้ tank ดำน้ำลึกเวลาขึ้นจากน้ำ ยังต้องมีการพักร่างกายเพื่อให้ในร่างกายขับก๊าซไนโตรเจนออกให้หมดก่อนที่จะดำน้ำลึกอีกตรั้ง น้ำจะมีแรงดันทุกๆ 10 เมตรต่อ 1 บาร์ ถ้ายิ่งดำน้ำที่ลึกมากถึงหลัก 1000 เมตรขึ้นไปก็จะมีแรงดันน้ำหลายบาร์ หรือเทียบเท่ารถบรรทุกขนาด 50 คันทับอยู่บนตัว นี่อาจจะเป็นสาเหตุทำให้เรือ titan ที่ดำลึกเจอแรงดันน้ำที่มีมวลมหาศาลไว้ไม่อยู่ จนทำให้เรือยุบตัวลงและการยุบตัวของเรือมันไปโดนถังอากาศทำให้ถังเกิดการระเบิดขึ้นมา แต่...ถ้าเราคิดในแง่ดีคนที่อยู่ในเรือ titan ก็ไม่ทรมานเพราะเรือมันยุบตัวกระทันหันคนก็เสียไปทั้งๆที่สมองยังไม่รับรู้ ถึงแม้จะน่าเศร้าที่คนเหล่านี้ต้องจากไปอย่างไม่มีวันกลับแต่อย่างน้อยเค้าก็ไม่ทรมานก่อนจากโลกนี้ไปนะคะ
    การลงน้ำลึก ก็ไม่ต่างจากการขึินเครื่องบิน ถ้าหากมีรูหรืออากาศภายนอกเข้ามาก็จะอันตราย อย่างเครื่องบินคนในเครื่องบินก็หลุดออกจากเครื่อง ส่วนเรือดำน้ำถ้ามีอากาศนิดนึง คนในเรือดำน้ำโดนดูดจนเนื้อเละเหมือนเนื้อหมูไก่บดเลย จริงๆมันมีคดีแบบนี้เกิดขึ้นมาแล้วที่คน 4 คนลงน้ำลึกแล้วประตูมันปิดไม่สนิท อากาศจากภายนอกเข้ามา คนที่ใกล้ประตูสุดโดนดูดจากรูเล็กๆเพียงไม่กี่เซน เนิ้อโดนดูดจากรูนั้นกลายเป็นเนื้อบดเลย ส่วนคนอื่นๆพอมีอากาศเข้ามาก็เกิดแรงดันทำให้เลือดออกทาง 7 ทวารและก็ไปในที่สุด ซึ่งอันตรายมากสำหรับการลงน้ำลึก
    สำหรับเจมส์ คาเมรอน เค้าเป็นคนชอบสำรวจท้องทะเลอยู่แล้ว เค้าเคยลงไปลึกกว่าเรือ titanic คะ เค้าไปเจอปลาหลากหลายแปลกๆมากมายในท้องทะเลมาเยอะมากคะ

    • @headpokontv1030
      @headpokontv1030 Рік тому +33

      ผมเคยเรียน free-dive มา มันจะมีวิธีหลอกสมองว่ากำลังจะขาดออกซิเจนอยู่ครับ โดนการหายใจสั้นๆถี่ ประมาณ 4-5 ที แล้วทีสุดท้ายสูดเข้าไปลึกที่สุด จะทำให้เราดำน้ำได้นานขึ้นกว่าปกติครับ ปอดจะขยายตัวแบบที่พี่บอกเลยครับ เพราะ อ.ผมก็อธิบายแบบนี้ครับ 👍👍👍👍👍

    • @revivrevalchn3503
      @revivrevalchn3503 Рік тому +1

      แสดงว่า Nitrogen Narcosis สามารถเกิดขึ้นได้กับเฉพาะแค่คนที่ดำแบบใช้ tank อันนี้ผมเข้าใจถูกไหมครับ

    • @narongudomtang
      @narongudomtang Рік тому +3

      คาเมรอน ยังเจอแรงบีบจนกระจกเริ่มมีอาการไม่ดี

    • @youwag
      @youwag 25 днів тому

  • @สุดจะทนคนหัวฆวย

    CEO Oceon gate นี่มีสกิลในการพูดโน้มน้าวลูกทัวร์ระดับเทพเลย คุณภาพระดับงาน DIY Home made โดยไม่มีการรับรองจะองค์กรใดๆเลย ยังกล้าลงไปกันอีก ค่าทัวร์ก็ไม่ใช่ถูกๆ สงสารแต่เด็ก19ที่ไม่รู้อีโหน่อิเหน่ แต่ต้องมาเสียชีวิตเพราะความมักง่ายของผู้ใหญ่ไม่กี่คน 😢😢

    • @XO0FX
      @XO0FX Рік тому

      ง่ายๆเลย แม่งโลภไม่พอแถมชุ่ยอีก

    • @รู้หรือไม่-ล6ภ
      @รู้หรือไม่-ล6ภ Рік тому +13

      เห็นว่าเขาจะไปแก้รูบิคในที่ๆลึกที่สุดเพื่อทำลายสถิติ

    • @Namhom79
      @Namhom79 Рік тому +18

      คนแบบCEOท่านนี้มีอยู่จริงนะ

    • @Hethom
      @Hethom 10 місяців тому

      .😊

  • @flukrishboy4668
    @flukrishboy4668 Рік тому +30

    เป็นย้อนหลังที่กลับมาดูรอบที่5แล้ว​ เพราะส่วนตัวผมชอบดำน้ำสำรวจประการังเป็นทุนเดิม
    ชอบที่ลุงเจมส์แกพูดว่า ดอนวอนบอกว่า ถ้ามีเสียงดังปั้งแล้วถ้าเรามีเวลาคิดถึงมันแสดงว่าเราไม่เป็นอะไร555+
    ลุงเจมส์ไปสำรวจเรือรบbismarckที่ลึกกว่าTitanicมาแล้วและรอบนั้นแกลงไป3คนในยานดำน้ำลำเดียวซึ่งลงไป2ลำรวมเป็น6คนเขายังกลับขึ้นมาได้เพราะเขายึดมั่นหลักการรักษาความปลอดภัยของตัวเอง

  • @pakapongtohtong3888
    @pakapongtohtong3888 8 місяців тому +12

    เพิ่มเติมนิดนึงครับ
    คือจริงๆอันนี้อ่ะ แท่บไม่มีใครพูด แต่ว่าไอ้โครงสร้าง composite เนี่ย มันมี 2 ส่วนประกอบ
    1. คือเส้นใย (ในกรณีนี้คือ carbon fiber)
    2. คือเนื้อประสาน (ผมไม่แน่ใจว่าใช้อะไร แต่ส่วนใหญ่ใช้ raisin หรือเป็นไปได้ว่าใช้ PEEK)
    คือ carbon fiber เนี่ยมันแข็งแรงจริง แต่มันช่วยรับ แรงดึง tension ได้แท่บจะอย่างเดียว มันเป็นเหมือนเชือกครับ
    แต่ในกรณี submersible เนี่ย มันเป็น compressive load หรือเป็นแรงอัด ซึ่ง carbon fiber มันแท่บช่วยอะไรไม่ได้เลย

  • @kodomolody
    @kodomolody Рік тому +119

    ขอบคุณ 9arm มากๆเลยค่ะ โชคดีที่มาฟังเมื่อ5เดือนก่อน ออกข้อสอบtpat 3เฉย ขอบคุณมากๆนะคะ จาก100น่าจะถูกซัก1ข้อและ

    • @natthathidapin9143
      @natthathidapin9143 Рік тому +4

      เหมือนกันเลย เรามาดูเหมือนกันออกสอบเฉย😂😂

    • @kodomolody
      @kodomolody Рік тому +1

      @@natthathidapin9143 จริง หน้านายอาร์มลอยมา555555555

    • @toxictoxictoxic12334
      @toxictoxictoxic12334 Рік тому +1

      คนออกสอบคงตามข่าวนี้รึป่าวนะ สงสัย😂😆👍

  • @tack1omeg
    @tack1omeg Рік тому +275

    ข้อมูลน่าเชื่อถือสุดละช่องนี้ เน้นความรู้ ความคิดสร้างสรรจริงๆ Keep go on.

  • @Nong_Genius
    @Nong_Genius Рік тому +350

    เป็นวิศวกรที่ทำยูทูปได้นิดหน่อยยย
    ขอบคุณสำหรับคลิปค่ะ เข้าใจขึ้นเยอะมากๆ

  • @natthathidapin9143
    @natthathidapin9143 Рік тому +64

    ขอบคุณพี่อาม ที่เล่าเรื่องเรือTitan ออกสอบในTpat3 67 ตอนทำข้อสอบคือหน้าพี่ลอยมากเลยดีใจมากที่มาฟัง

  • @PomPom-jc7dy
    @PomPom-jc7dy Рік тому +313

    รูปทรงเรือมีผลจริงๆ โดยรูปทรงกระบอกจะรับความเค้นในแนวยาวประมาณ 2 เท่าของความเค้นในแนวหน้าตัดของวงกลม ส่งผลให้ความยาวและเส้นผ่านศูนย์กลางเพิ่มขึ้น แต่ความหนาทรงกระบอกลดลง พอเจอแรงดันน้ำขนาดนั้นกระทำกับวัสดุที่เป็น carbon fiber ที่รับแรงกดได้ไม่ดีเท่าแรงดึงแล้ว ไม่แปลกใจเลยที่จะ implode

    • @ศิวกรมิลินทานุช
      @ศิวกรมิลินทานุช Рік тому +11

      คาบอนไฟเบอ ส่วนใหญ่ผลิตส่วนประกอบรถยนต์และอุปกรณ์ทางการทหาร เพราะมันเบาและแข็งแรง ดูแลง่าย

    • @วิกรธนรัตฉัตร
      @วิกรธนรัตฉัตร Рік тому +32

      อย่าโทษวัสดุเลยครับ ต้องโทษคนออกแบบนะครับ ถ้าออกแบบดีพอ ก็จะเลือกวัสดุที่เหมาะสม จะเลือกความหนาที่เหมาะสม

  • @goonheart
    @goonheart Рік тому +74

    เราคิดว่าจริงๆแล้ว สกิลที่สำคัญสุดของทุกอาชีพ ไม่ใช่สกิลหรือความรู้ของสาขานั้นค่ะ แต่คือสกิลความใส่ใจและละเอียด ที่สร้างความแตกต่างระหว่างสำเร็จมากๆและเฟลได้เสมอแม้มีองค์ความรู้หรือสกิลอาชีพนั้นเหมือนกัน - คนมักง่าย รู้เยอะแค่ไหน อาชีพไหนก็ฉิบหายได้ค่ะ 😅

  • @Game_Cycle
    @Game_Cycle Рік тому +28

    เรื่องใช้ acoustic ตรวจจับความเสียหายโครงสร้างแทนการเอาไปตรวจสอบให้ผ่านมาตรฐาน คล้ายๆ เรื่อง Don't Look Up CEO จะใช้กลุ่มโดรนไปเกาะอุกาบาตแล้วซิงค์คลื่นความถี่ให้มันแตกเป็นชิ้นเล็ก พอโดรนเกาะไม่ติด กระเด็นเสียหายเกินครึ่ง CEO รีบแอบออกจากคอนโทรลรูมหนีไปขึ้นจรวดที่เตรียมออกจากโลกไว้ก่อนเลย จากตอนแรกจะยิงทำลายตั้งแต่ยังอยู่ห่าง กลายเป็นปล่อยให้ใกล้โลกเพื่อต้องการแร่ เพราะความโลภสามารถชนะตรรกะ ข้อเท็จจริง วิทยาศาสตร์

  • @pisces28884
    @pisces28884 Рік тому +12

    ฟังเพลินมากค่ะ ขนาดคลิปอย่างยาว ยังฟังได้จนจบ พูดอธิบายได้สนุก เข้าใจง่ายดีค่ะ

  • @One.PieceOfficial
    @One.PieceOfficial Рік тому +70

    สำหรับผมไม่มีความสงสารที่ ceo ตายเลย
    เพราะความมั้นหน้าขี้งกจนทำให้หลายครอบครัวสูญเสีย จะว่าผมไม่ให้เกียรติคนตายก็ว่ามาเหอะ อย่าด่าแรงก็พอ

    • @wowkkwow2124
      @wowkkwow2124 Рік тому +7

      ผมก็คนหนึ่งครับที่ไม่รู้สึกสงสารceoเลย

    • @9poofficial
      @9poofficial Рік тому +1

      @@MenaNuch66 สมาชิก 3,000 ดูคลิปย้อนหลังได้นี่ ตลอดชีพรึว่ารายเดือนครับ ขอบคุณครับ

    • @oniupo
      @oniupo Рік тому +1

      @@9poofficial เห็นคำว่าเดือนหลังราคาไหม

    • @WTH01246
      @WTH01246 Рік тому +2

      ไม่สงสารceoเลยมั่นเกิน สงสารคนในเรือกับเศรษฐีพ่อลูกอะเเบบพ่อบอกอยากไปขอให้ลูกไปด้วย สรุปกลายเป็นทริปสุดท้าย

    • @One.PieceOfficial
      @One.PieceOfficial Рік тому

      @@9poofficial รายเดือนครับ มันเป็นระบบเช่า รายเดือน

  • @teaanjay
    @teaanjay Рік тому +69

    มันคือความประมาทจริงๆเลยค่ะ ซึ่งเป็น common mistake กับ tragedy หลายๆเรื่อง คือคนที่ลงไปก็ไม่ใช่ว่าไม่มีประสบการณ์ทั้งหมด มีทั้งคนที่เคยลงไปหลายสิบรอบทั้งคนที่เคยลงไปในจุดที่ลึกที่สุดของโลก (ในยานลำอื่น) มาแล้ว เขาอาจจะมองว่ามันเป็น innovation ที่ผ่านมายังไม่มีปัญหาอะไรแต่ก็คือระเบิดเวลาดีๆนี่เอง

  • @benjathammasarn8087
    @benjathammasarn8087 Рік тому +4

    ใจนึงก็คิดว่า ดีละที่แม่งตาย ถ้าดันรอดนี้ไม่คิดว่านางจะเคลมละปล่อยปะอะไรอีกไหม แต่ก็แสดงความเสียใจจริงๆ ขอให้สู่สุขติ

  • @MovieYellow69
    @MovieYellow69 Рік тому +39

    8:38 อ่อมิน่าหล่ะ ในหนัง Underwater 2020 ตอนท้ายเรื่องคนที่รอดขึ้นเรือชูชีพกลมๆ เหมือนยานกลมๆ เหมือนการ์ตูนดราก้อนบอลZ และใช้วิธีดีดตัวขึ้นมาเป็นกระสุนพุ่งมาบนผิวน้ำ ความกลมนั่เองเหมาะสุด

    • @shabu_variety9452
      @shabu_variety9452 Рік тому +6

      แปลว่า ยานกลมๆ แบบใน ดราก้อนบอลZ นี่คิดว่า ก็เจ๋งมากนะครับ วาดมาหลายสิบปีแล้ว

    • @รณชัยบรรลือทรัพย์
      @รณชัยบรรลือทรัพย์ Рік тому +7

      @@shabu_variety9452 ตามหลักวิศวกรรมก็ดีกว่าหลายเรื่องล่ะครับ โดยเฉพาะstar wor

  • @VithaviT
    @VithaviT Рік тому +82

    สังเกตนาฬิกากันน้ำจะสลักคำว่า 3 atm, 5 atm, 10 atm, 20 atm หรืออาจจะเป็น bar แล้วแต่รุ่น บางคนสงสัยว่าต้องใส่ดำน้ำที่ต้องเผื่อถึง 20 atm (200 เมตร) เพราะปกติระยะดำ scuba ทั่วไปอยู่ที่ราวๆ 20-30 เมตร ไม่เกิน 40 เมตรแต่ต้องใช้อุปกรณ์ที่ทนแรงดันสูงกว่าเพราะทุกการเคลื่อนไหวใต้น้ำจะมีการเปลี่ยนแปลงของแรงดันเสมอ ดังนั้นอุปกรณ์กันน้ำถ้าใช้งานจริงควรเผื่อการป้องกันให้มากกว่าปกติ 5-20 เท่าโดยประมาณ ซึ่งไม่รู้ว่าเรือเค้าคำนวณมาเผื่อไว้กี่เท่ากัน

    • @beeverzaza
      @beeverzaza Рік тому +10

      ขอเสริมนิดนึง นาฬิกาดำน้ำที่มีคำว่า Driver's อยู่บนหน้าปัด จะใช้ iso6425 ในการรับรอง ในมาตรฐานนี้ถ้ารับรองว่า Diver's 200m จะเผื่ออีก25% คือ250m ยังต้องทำงานได้
      ฉะนั้น นาฬิกากันน้ำทั่วไปจะใช้ iso คนละตัวกับ Diver's watch เลยมีให้เห็นบ่อยๆ ที่ว่ากันน้ำ100m แต่ใช้อาบน้ำล้างมือแต่มีน้ำเข้า

    • @everlasting4533
      @everlasting4533 Рік тому +11

      @@beeverzazaที่ใช้อาบน้ำล้างมือแล้วน้ำเข้าไม่ได้เกี่ยวกับมาตรฐานเลยครับ เกี่ยวกับสารเคมีจากสบู่หรือยาสระผม ตอนอาบน้ำแล้วมากกว่า กับการตกกระแทกไม่ก็การเสื่อมสภาพของยางกันน้ำ เพราะโดยทั่วไปแล้วมันออกแบบและทดสอบในสภาพน้ำที่ค่อนข้างสะอาดบางรุ่นก็มีน้ำทะเลแต่ไม่มีน้ำสบู่

  • @pigkung001
    @pigkung001 Рік тому +109

    ขอเสริมครับ ที่บอกว่าเอาตัวขนาดย่อไปเทส แล้วพังที่ 4000 กว่าเมตร นั่นคือถ้าเป็นตัวขนาดจริงมันจะแตกก่อนนั้นอีก
    ถ้าขนาดเพิ่มขึ้น 2 เท่า มันจะต้องรับแรงเพิ่มขึ้นเป็นเอ็กโพเนนเชี่ยล ก็คือ 4 เท่า

    • @pigkung001
      @pigkung001 Рік тому +7

      เหตุผลเดียวกับที่เราจะเห็นโดรนหลายใบพัดตัวเล็กๆมีมากมายหลายรุ่น แต่พอจะขยายสเกลให้ใหญ่ขนาดคนนั่งแล้วแทบไม่มี เพราะวัสดุแบบเดียวกันมันทนรับแรงไม่ไหว ผิดถูกแย้งได้นะฟังเขามาอีกที

    • @rsujijangrai9670
      @rsujijangrai9670 Рік тому

      2 เท่า 4 เท่า expo มึงมาจากไหนก่อน หรือมโนเลขขึ้นมา

    • @pigkung001
      @pigkung001 Рік тому +12

      @@rsujijangrai9670 ลองหาอ่าน Square-cube law ครับ

    • @tuesdayshop
      @tuesdayshop Рік тому

      @@rsujijangrai9670ถ่อยแบบนี้ ครอบครัวเลี้ยงมาแบบไหน

    • @hidefreek6905
      @hidefreek6905 Рік тому +9

      ​@@rsujijangrai9670ไม่รู้วิชาคณิตศาสตร์กับฟิสิกส์ก็อย่ามาพูดไร้สาระครับ
      😂

  • @dippy9181
    @dippy9181 Рік тому +58

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับคุณอาร์ม
    ได้สาระมากเลย
    ผมรู้สึกว่า คนที่ลงไปไม่ผิดเลย
    เขาต้องการผจญภัย ต้องการอะไรที่มันแปลกใหม่ เหมือนเราชอบดารา เราก็อยากไปดูดาราที่เราชอบแม้ว่าจะแพงแค่ไหน
    แต่สำหรับไททัน เป็นความ "มักง่าย" ของบริษัทหนึ่ง ส่วนคนที่ลงไปแค่โชคร้ายครับ

  • @keatkamonthongsin
    @keatkamonthongsin Рік тому +25

    ผมว่าการควบคุมโดนจอยเกมแบบนี้ไม่ปกติครับ ถ้าจอยหมายถึงลักษณะคันโยกทิศทาง ดูของเจมคาเมรอนหรือของกองทัพครับ
    คนละเรื่องเลย ของหลักพันกับของหลักหมื่นหลักแสนที่ออกแบบมาเฉพาะใช้งานคนละแบบ และใช้จอยบลูทูทโชว์เหนือนี่เป็นอะไรที่โคตรประมาท
    อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับความเป็นความตายยังไง base ก็ต้องเป็น mechanic

    • @รณชัยบรรลือทรัพย์
      @รณชัยบรรลือทรัพย์ Рік тому

      เครื่องบินก็ใช้คอมเล็กๆไร้สาย กับจอสัมผัส คุมระบบบินได้ เบาขึ้นเป็นเกือบสิบตันแน่ แต่ทำไมต้องใช้อนาล็อค นู่นนี่นั้น จนเป็นห้องเก็บเลยทีเดียวก็เพราะความปลอดภัยนั่นแหละ

  • @วีรยุทธจงอุปถัมภ์สกุล

    อยากให้มีตอนต่อไปจังครับ เกี่ยวกับรายละเอียดยานดำน้ำลึก ลำอื่นๆ และภาระกิจที่ลงไป

  • @nice9671
    @nice9671 Рік тому +113

    ให้เรานึกถึง ขวดพลาสติกปล่าวที่ปิดฝาไว้แล้วถูกรถเหยียบ เรือไททันก็เจออาการเดียวกัน ฝาหลุดกระเด็นส่วนตัวขวดจะโดนบีบอัดกระจาย

    • @f.b.i.160
      @f.b.i.160 Рік тому +5

      บีบแล้วระเบิดจากข้างใน

    • @jakkrit6910
      @jakkrit6910 Рік тому +12

      ส่วนคนไม่ต้องพูดถึ ง กลายเป็นสปาเก็ตตี้ภายในหนึ่งวิ rest in peace

    • @s.saichanapan8446
      @s.saichanapan8446 Рік тому +5

      @@jakkrit6910 บางข่าวบอกตุยก่อนจะรู้สึกตัวอีก

    • @cellchinnawat7258
      @cellchinnawat7258 Рік тому +8

      ​@@s.saichanapan8446ใช่ครับไม่รู้สึกตัวเเน่นอนตายภายในเสี้ยววิเลยครับ

    • @thanapatpumpoung340
      @thanapatpumpoung340 Рік тому

      ผมว่าพอเรือมัน implose ตอนนั้นคงไม่มี เส้นสปาเก็ตตี้มนุษย์..พุ่งออกมาจาก ตัวเรือ..แบบรถเหยียบขวดน้ำหรอกคับ..เพราะแรงดันน้ำมันเท่ากันทุกจุดมันน่าจะได้แต่ยุบตัวลงไปตรงกลาง..เท่านั้นแหละ..จนกว่าไอ้ที่ยุบเข้าไปจะมีแรงดันต้านแรงดันน้ำได้..ไม่ก็มีน้ำไหลเข้าไปจนเต็มทุกพื้นที่..🤔🤔🤔

  • @พงศธรณ์จันทร์เพ็ญ-อ5ฏ

    คุณสมบัติพื้นฐานวัสดุของวัสดุ CFRP จากงานวิจัยหลายๆครั้งที่เกิดขึ้นมา พบว่า CFRP มีความแข็งแรงมากแต่ไม่ยืดหยุ่น (แข็งแรงแต่ไม่เหนียว) นั่นคือมันจะไม่ครากเหมือนเหล็ก ในกรณีของเหล็กถ้ามันรับแรงมากเกินไปสิ่งแรกที่จะเกิดคือเหล็กเริ่มยืดไปตามแรงที่ถูกกระทำก่อนจะค่อยๆเริ่มวิบัติอย่างสมบูรณ์ แต่พวกตระกูลไฟเบอร์นั่นไม่ใช่ เพราะพวกมันถ้าได้รับแรงกระทำที่มากกว่าตัวมันเองรับได้เมื่อไหร่จะเกิดการวิบัติแบบสมบูรณ์ทันทีทันใด นั่นคือจะพังทลายในพริบตา นอกจากนั้นพวกตระกูลไฟเบอร์เหมาะสมในการรับแรงดึง(รับแรงดึงได้มากกว่าเหล็ก) แต่ไม่เหมาะสมกับการรับแรงอัด ซึ่งถ้าเทียบปอนด์ต่อปอนต์ ระหว่าง ไฟเบอร์ กับ เหล็ก ในการรับแรงอัด เหล็กยังมีความสามารถในการรับแรงอัดได้ดีกว่าตระกูลไฟเบอร์ 20% อัพ (อ้างอิงเอกสารงานวิจัยการเสริมกำลังเสาปูน, compaction and tension test และ อื่นๆ)
    เปรียบเทียบคุณสมบัติวัสดุระหว่าง CFRP และ เหล็ก
    ข้อดี: น้ำหนักเบากว่า แข็งแรงมากกว่า รับแรงดึงได้มากกว่า
    ข้อเสีย: ทนอุณหภูมิได้น้อยกว่า(ทนไฟ) รับแรงอัดได้น้อยกว่า ไม่ยืดหยุ่น(มีน้อยมากจนไม่มีนัยยะสำคัญ) วิบัติทันทีทันใด
    กล่าวโดยสรุปผมคิดว่าการนำ CFRP มาใช้ในการทำโครงยานดำน้ำเพื่อรับแรงอัดใต้น้ำ(สำหรับผม)มันไม่เวิร์ค ถึงแม้จะมีข้อดีหลากหลาย แต่มันไม่เหมาะกับการนำมาใช้ปฏิบัติการใต้น้ำลึกขนาดนี้ เนื่องจากการวิบัติอย่างทันทีทันใดเพราะคุณจะไม่มีโอกาสแก้ไขอะไรได้เลยแม้แต่วินาทีเดียว

  • @patittacharoenwong9474
    @patittacharoenwong9474 Рік тому +7

    เพิ่งมาฟัง รีบกดติดตามอย่างไวเลยค่ะ ฟังสนุก เล่าดีมาก อธิบายเห็นภาพ เราแทบไม่มีความรู้ทางฟิสิกส์เลยยังเข้าใจ เก่งมากๆเลยค่ะ

    • @lucrusssensai3565
      @lucrusssensai3565 Рік тому

      เพิ่งรู้จัก 9arm หรอ555

    • @Volgalist
      @Volgalist Рік тому +7

      @@lucrusssensai3565 แล้วเขาผิดเหรอครับ???

  • @wuttipongringtong9793
    @wuttipongringtong9793 Рік тому +546

    เรือที่เจมใช้ลงไปสำรวจนั้นคือ เทคโนโลยีเมื่อหลายสิบปีที่แล้ว แต่ทำไมมันถึงดูแข็งแรงและมีมาตรฐานกว่า เรือไททันปัจจุบันที่เทคโนโลยีมาไกลกว่ายุคนั้นมาก 😩

    • @hicterx6630
      @hicterx6630 Рік тому +384

      อีโก้ของประธานล้วนๆครับ เรือไม่ผ่านการตรวจสอบหอยไรสักอย่าง คิดว่าครั้งแรก ครั้งสอง ครั้งสามผ่าน เลยคิดว่าเรือสมบูรณ์

    • @Yaya-gv2lz
      @Yaya-gv2lz Рік тому +136

      มันฝืนค่ะ มันไม่ยอมตรวจหอยไรสักอย่าง

    • @elpaso3925
      @elpaso3925 Рік тому +55

      เรือดำน้ำ เครื่องบิน มีอายุใช้งานมันครับ กว่าจะมาถึงวันนี้ได้คนสร้าง คนโดยสารตายไปเยอะ แต่มนุษย์ก็ไม่ท้อถอย มนุษย์ไว้ใจเทคโนโลยี่มากขึ้นถึงแม้จะพลาดไม่ได้

    • @OpajOnaJa
      @OpajOnaJa Рік тому +33

      สงสัยรีบเม้นก่อนดูคลิปสินะ

    • @isra7972
      @isra7972 Рік тому +11

      ​@@OpajOnaJaคลิปตั้งชม.นึง นี่ลงยังไม่ถึง40นาที

  • @thepeginner2341
    @thepeginner2341 Рік тому +11

    จริงๆแล้วสำหรับคนที่เป็นวิศวกรเวลาเราจะเขียนโปรแกรมใหม่ หรือออกแบบเครื่องจักรใหม่ ทำขึ้นมาตอนแรกก็มีปัญหาหมดแหละ แต่จุดสำคัญเลยคือการเทส เทสแล้วแก้ไข อีลอนจรวดระเบิดไปเยอะเลย

  • @papleez
    @papleez Рік тому +103

    ชอบคลิปนี้มากๆเลยค่ะ เป็นคลิป 1 ชั่วโมงที่ฟังไม่เบื่อเลยค่ะ

  • @derdahlove4551
    @derdahlove4551 Рік тому +8

    52:35 ลั่นคอมเม้น ยานเบจิต้า สัสๆ ขำจนปอดโยก ขำแบบหายใจไม่ออก 55555555555555

  • @burindhornkongsook1807
    @burindhornkongsook1807 10 місяців тому +5

    นายอาร์ม เป็น ดร. ที่เข้าถึงประชาชนจริงๆ ฟังไปเรื่อยๆ ไม่รู้สึกว่าเป็นเด็กเนิร์ดเลย

  • @noodumleawnyai2317
    @noodumleawnyai2317 Рік тому +8

    เล่าได้สนุก เข้าใจง่าย ไม่น่าเชื่อว่าเล่าเรื่อง Engineering ขอบคุณคะ

  • @in-know-scent
    @in-know-scent Рік тому +17

    พอพูดถึงว่า คนในวงการรู้กันหมด แต่คนภายนอกไม่รู้ และมารู้กันตอนมันเป็นข่าวดัง ผมคิดถึง #SAVEอโยธยา เลย (ขอโฆษณาหน่อย) คือในวงการโบราณคดีก็เพิ่งรู้ ว่ารางรถไฟความเร็วสูงจะสรเางบนรางรถไฟปรกติ ซึ่งตรงนั้นคือนครอโยธยา สำหรับคนที่ไม่ได้ชื่นชอบหรือไม่ได้ศึกษา อโยธยา ไม่ใช่ อยุธยา แต่อยุธยาต่อมาจากอโยธยา เอาเข้าใจง่ายๆคือเหมือน ธนบุรีมารัตนโกสินทร์ ทีนี้เมืองอโยธยาตอนนี้อยู่ใต้ดิน มีการใช้ภาพถ่ายทางอากาศและการสำรวจขุดชั้นดิน พบว่าเมืองอโยธยาอยู่ทิศตะวันออกของอยุธยา ก็คือฝั่งขวา มีแม่น้ำป่าสักกั้นอยู่ และมีข้อสันนิษฐานว่าที่แม่น้ำป่าสักเลียบเกาะอยุธยามันตรงๆไม่โค้งแบบแม่น้ำปรกติ อาจจะเป็นหลักฐานสำคัญว่าเมืองอโยธยาอยู่ตรงนั้นจริงๆ เพราะอาจเป็นการขุดคูน้ำโดยฝีมือมนุษย์
    ออกทะเลละ ประเด็นคือการสร้างรางรถไฟยกระดับสูงขึ้นไปจะต้องขุดดินให้ลึกเพื่อความแข็งแรงอันนี้รู้กันทั่วไป แต่บริเวณที่รางรถไฟพาดผ่าน มันคือผ่าเมืองอโยธยา เหมือนเผ่าวัดพระแก้ว และใต้ดินคือโบราณสถาน โบราณวัตถุสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ประเมินค่าไม่ได้ และเจดีย์วัดใหญ่ชัยมงคลที่อยู่นอกเกาะเมืองก็ห่างจากรางรถไฟความเร็วสูงไม่กี่กิโล มันอาจทำให้เจดีย์จากที่เอียงขึ้นทุกวันอยู่อล้วจะเอียงมากและเร็วขึ้นและพังในรุ่นเรา ความเสียหายทั้งตอนทำและหลังทำมันมหาศาล ทั้งบังเป็นแหล่งมรดกโลก ที่ยูเนสโกบอกว่า คนทั้งโลกต้องช่วยกันรักษาและหวงแหน แต่เรากลับจะทำลายเสียเอง เลยอยากจะออกมากขอให้ #SAVEอโยธยามันแมสเพื่อให้มีแรงกดดันจากประชาชนมเพราะตอนนี้คนที่คัดค้านหรือรณรงค์ให้เปลี่ยนเส้นทาง ไม่ใช่กรมศิลป์ กรมศิลป์ตีมึนตั้งแต่แรก แต่เป็นนักวิชาการอิสระ นี่เคยเป็นนักโบราณคดี เป็นอาจารย์ในมหาลัย และมติชน และคนจากพรรคก้าวไกล และกลุ่ม #SAVEอโยธยา

  • @solo.mama11-7
    @solo.mama11-7 Рік тому +7

    เรือมีจุดศูนย์รวม​ความเค้นเยอะเกินไป รอยต่อระหว่างวัสดุ รอยต่อระหว่างคาบอนไฟเบอร์​ รอยพับขอบฝาปิดที่ใส่สกู (ยิ่งลิสต์​มายิ่งเยอะ สรุป risk จาก material failure โคตรเยอะ)+ fatigue จากรอบก่อนๆหน้านี้ + defect ที่มีแน่นอน (ที่ไม่ได้ตรวจไปอี๊ก)
    เห็นคลิปปิดยานแล้ว อยู่ๆ ก็รู้สึกหายใจไม่ออก 🫠

    • @puzzleparty5792
      @puzzleparty5792 Рік тому +2

      ไม่ว่าออกแบบให้รับแรงแบบ implosion หรือ explosion สนับสนุนทฤษฎีนี้ อีกเสียงครับ

  • @PeeBunnyM
    @PeeBunnyM Рік тому +31

    เสริมให้เผื่อเป็นความรู้ให้น้องๆที่สนใจเรื่อง fatigue นะคับ
    ปกติ cycle ที่อุปกรณ์รับไหว จะได้จากการคำนวณ ไม่ก็ scale เทสคับ เนื่องจากเทส environment จริงจะใช้เงินและเวลาเยอะคับ
    ตรงนี้คนออกแบบจะต้องใช้ความรู้เรื่องแรง, การใช้งานจริง, รวมไปถึงการ scalingคับ
    ถ้าเป็น QA หรือสร้างเครื่องเทสจะต้องมีการใช้ความรู้เรื่อง ความดันและของไหล ในการจำลองแลปเทสครับ
    ฟิสิกส์และวิศวกรรมล้วนๆ
    ในเนื้อหาวิชาวิศวเครื่องกลมี เดาว่าทุกภาคน่าจะได้เรียนคล้ายๆกันแค่คนละ use case
    และคิดว่าถ้าไปขอรับรองมาตรฐานก่อน จะมีตัวเลขยืนยันตรงนี้ครับ แต่ก็นั่นแหละ 😓

    • @eroplaneeee
      @eroplaneeee Рік тому

      ขอบคุณสำหรับความรู้ครับพี่ 🙏

    • @chavalitdeeudomwongsa8418
      @chavalitdeeudomwongsa8418 10 місяців тому

      ใช้กับคน ยังไงก็ต้องเทสจริง
      รถยนต์ยังต้องชนจริงให้ดูเลย

  • @golfbuchido
    @golfbuchido Рік тому +3

    ฟังได้ครึ่งนึงแล้ว เดี๋ยวมาฟังต่อจนจบแน่คับ สุดยอดมากเลยคับ เยี่ยมมากๆครับ

  • @amee993636
    @amee993636 Рік тому +22

    ผมเรียนMaterial Engineering มาไม่ได้บอกว่าตัวเองเก่งนะ แต่พอฟังตั้งแต่การขึ้นโครงCarbon Fibre ก็รู้แล้วว่าชิบหายแน่ๆ คือมันเป็นอะไรที่Basicมากๆแบบเรียนแค่Material Science ยังรู้เลยว่ามันชุ่ยขนาดไหน

    • @K999x
      @K999x Рік тому +11

      CEO แม่งบังคับวิศวกร แน่ๆ เพราะการจะสร้างอะไรสักอย่าง มันก็มีข้อจำกัดที่เงินทุนอยู่ดี

  • @Bo9c2
    @Bo9c2 Рік тому +5

    ฟังเพลิน มีความรู้แบบ อะไรที่เคยไม่เข้าใจ ก็เข้าใจได้ง่ายเฉย อยากให้มาเป็นครูสอนฟิสิกส์อ่ะ น่าจะสอนสนุกมากแน่ๆเลย

  • @swiftlance
    @swiftlance Рік тому +59

    จาก ego ของ ceo แล้วไอ้ meme "จริงพี่ พี่ว่าไงผมก็ง่างั้น" is real

  • @KudoSand
    @KudoSand Рік тому +4

    นายอาร์มอธิบายเรื่องยากๆให้เข้าใจง่ายได้เก่งมากๆ เราเคยอ่านเรื่องพวกนี้ละแต่ก็ไม่เข้าใจอยู่ดี555 ขอบคุณนายอาร์มที่เอามาเล่า

  • @SivanardJongvilai
    @SivanardJongvilai Рік тому +25

    ตอนใน Live ผมพิมพ์ไม่จบ จะบอกว่า Logitech F710 ใช้คลื่นวิทยุ 2.4 นะแบบ เม้าส์คีย์บอร์ดไร้สายเลย แล้วก็ไม่ได้ดีเลยนะกากมาก ผมเคยใช้เมื่อสัก 6-7 ปีที่แล้ว คือหลุดบ่อยมาก แล้วถ่านก็หมดไวมาก ก็แปลกใจว่าทำไมงาน Critical แบบนี้ใช้จอยไร้สาย น่าจะใช้ F310 แบบมีสายน่าจะเหมาะกว่า

  • @NewCBX
    @NewCBX Рік тому +22

    ข้อมูลแน่นๆถูกต้อง ไว้ใจช่องนี้เลยครับ

  • @Sckpur
    @Sckpur 11 місяців тому +1

    40:40 ถ้าผมเป็นผู้บริหารผมก็จะอ้างแบบนี้เหมือนกัน ตอนฟังข้อโต้แย้ง มีความนี้ผุดมา แล้วผู้บริหารดันพูดจริง ๆ

  • @GameSuppawat
    @GameSuppawat Рік тому +4

    เรือที่สร้างมักง่ายรีบทำมั่นใจเกินไปว่าคุณภาพเพราะมีหลายจุดเสียหายมากหลอกลวงแหกตาชัดๆ
    นี่หรอปลอดภัยคุณภาพสุดท้ายจ๋อย..เลยดิ

  • @isteammy
    @isteammy 5 місяців тому +2

    ดูแล้วนึกถึงในหนัง don’t look up อะ ceo มั่นใจจัดว่ายานตัวเองดีมาก คำนวณแล้วเรียบร้อย ไม่ต้องเทสหรอก มีใครเตือนให้เทสก็โมโห หาว่าเขาอวดดี ไล่เขาออก สรุปพังพินาศ ตัยห้ากันหมด🤦🏻‍♀️

  • @mananprat8681
    @mananprat8681 Рік тому +12

    พี่เจมส์​ คาเมรอน​ ลงเรือ​ดำ​น้ำ​ลึก​เป็น​10กิโลเมตร​ เรือ​ของแกน่าจะทนความลึกได้เกิน​กว่า​20กิโลเมตร​ เหลือ​ๆ

  • @Km-III
    @Km-III Рік тому +39

    ไม่ได้เทสอะไรบ้าง ❌
    ได้เทสอะไรบ้าง ✅

  • @daisydreamyy
    @daisydreamyy 11 місяців тому +3

    ผช ที่พูดอะไรก็ดูฉลาดไปหมดเลยยยย ❤

  • @thanchanoksiriphala5333
    @thanchanoksiriphala5333 Рік тому +4

    จากใจเด็กฟิสิกส์ พอมาฟังพี่อธิบายคือเข้าใจง่ายมาก เพราะบางส่วนอยู่ในเนื้อหาที่เรียนมาทั้งนั้น🙏🏻

  • @naphap8073
    @naphap8073 Рік тому +6

    เข้าใจง่ายดีจังค่ะ ขอบคุณที่มาย่อยความรู้ให้ฟัง

  • @Zerostream46825
    @Zerostream46825 Рік тому +4

    ดูความสะดวกสบายในเรือละ คิดว่ารอดูในจอแบบ BBC ถ่ายปลาน้ำลึกก้นทะเลเผลอๆ สนุกกว่า

  • @เป็ดพะโล้-ป2ษ

    บางคนบอกเรือดำน้ำกองทัพก็ใช้จอย คือเขาใช้แค่กับกล้องส่องหันแกนไปมา ไม่ได้ใช้กับcontrol surface คืนยานไททันมันก็ไม่ต่างจากลิฟต์ที่เคลื่อนที่แกนขึ้นลง กับขยับซ้ายขวานิดหน่อย ไม่ต้องใช้ปุ่มควบคุมเยอะ แค่จอยสติ๊กก็พอ แต่ลงไปลึกขนาดนั้น จะใช้จอยเกมเสี่ยงชีวิตจริงดิ ตั๋วไปชมราคาเป็นล้าน

    • @NuckyBullet
      @NuckyBullet Рік тому +6

      จอยมีหลายอันครับ และมีที่ควบคุมหลักตอนไฟดับอีก ต่อให้ไฟดับก็ขึ้นได้ครับ ไม่เกี่ยวจอย

    • @lugi107
      @lugi107 Рік тому +8

      ​​@@NuckyBulletประเด็นที่เขาจะสื่อคือ ความแตกต่างของ การฝากหน้าที่สำคัญไว้กับจอยเกม กับ การฝากชีวิตทั้งชีวิตไว้กับจอยเกมมันมีดเส้นบาง ๆ กั้นอยู่ สิ่งที่มีผลต่อชีวิตควรจริงจังกว่านี้

    • @เสกโลโซ-ฤ9ธ
      @เสกโลโซ-ฤ9ธ Рік тому +1

      @@NuckyBullet หลายอันเเต่ความปลอดภัยไม่มี ในเกมใช้จอยเกิดใหม่ได้ ในชีวิตจริงใช้จอยไม่สามารถเอาคืนมาได้เเบบเกม

  • @FAMERIO
    @FAMERIO Рік тому +3

    พ่อผมโคตรสนใจข่าวนี้เลย
    จุดเสี่ยงเยอะมากเรือดำน้ำนี่ น่าจะจบแล้วมั้ง บ. นี้ทำให้ดีมีมาตรฐานอาจใช้เงินเยอะก็จริงแต่ก็จะหากินได้อีกนาน อันนี้มักง่ายเกิ๊น

  • @bibilydia4234
    @bibilydia4234 Рік тому +23

    ถ้าอาจารย์วิชา material อธิบายสนุกแบบนี้เราคงไม่ดรอป555

  • @sweetcandyplus
    @sweetcandyplus 2 місяці тому +3

    ฟังเพลิน ๆ มาสะดุดหัวทิ่ม ตกกะปิ 28:27 5555555 ปกติ!!!

  • @ollolol7879
    @ollolol7879 Рік тому +11

    ถ้าสมมุติเป็นเศรษฐีไทย แล้วกู้ภัยขึ้นมาได้สำเร็จ พระสมเด็จ ราคาขึ้นเท่าตัวแน่นอน 5555

  • @zodaiasis
    @zodaiasis Рік тому +1

    Thanks!

  • @aumwarriaum4226
    @aumwarriaum4226 Рік тому +23

    กลายเป็นช่องในดวงใจไปแล้ว วันนึงอย่างต่ำนี่ผมต้องได้ดูหรือไม่ก็เปิดฟังอย่างน้อยครึ่งชมถือว่าได้เพิ่มประสบการณ์ชีวิตมากเลยครับโครตดีครับลูกพี่นาย

  • @pocketmoney1053
    @pocketmoney1053 Рік тому +9

    ขอเสริมเกี่ยวกับพวก fiber นิดนึงครับ
    ถ้าผิดพลาดอะไรขออภัยนะครับถ้าเข้าใจผิด
    วัสดุจะมีสิ่งที่เรียกว่า ductility(ความเหนียว) ,toughness(ความทนทาน)
    วัสดุที่เป็น fiber ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมี 2 ตัวนี้ครับเวลาวัสดุพัง(เลยจุด yield) จะพังทันทีโดยไม่มีสัญญาณเตือน

  • @รณชัยบรรลือทรัพย์

    เอาจริง ไม่ค่อยเข้าใจว่าทำไมต้องเอาพวกวัศดุ คาร์บอนไฟเบอร์(ที่เด่นเรื่องความเบา)มาทำเรือดำน้ำ ในเมือเหล็กก็ถูกกว่าแข็งแรงกว่า หลายคนบอกแกประหยัดงบ
    แต่จริงๆต้องบอกเพิ่มงบโดยไม่จำเป็น จริงๆก็อย่างว่าแหละ มีหลายอย่างที่ขัดแย้งกันในแบบเรือลำนี้ จะว่ามักง่ายก็ไม่ใช่เพราะลงทุนไปมากนะ น่าจะสรุปว่าเอาแรงบัลดาลใจไปนำหลักวิศวกรรมมากกว่าล่ะนะ

    • @K999x
      @K999x Рік тому +1

      เหล็ก ข้อดีแข็ง ข้อเสียหนัก
      คาบอน เบา แต่ ไม่แข็งแรง
      ไทเทเนี่ยม เเข็ง เบากว่าเหล็ก แต่โคตรแพง

  • @furinaメpininfarina
    @furinaメpininfarina Рік тому +19

    9arm being goated as always.

  • @stepbruv8780
    @stepbruv8780 Рік тому +57

    เรือดำน้ำ DIY ชัดๆ

  • @AlishaKHK
    @AlishaKHK Рік тому +5

    ชอบเสียงพี่มากค่ะ เพลิน ชอบฟังเวลานอน กล่อมหลับ 🤤

  • @aekprodunglamai6192
    @aekprodunglamai6192 Рік тому +8

    เจมส์ เก่งหลายด้านมากครับ ทั้งศาสตร์ และศิลป์

  • @piangs3421
    @piangs3421 Рік тому +3

    นั่งพูดเฉยๆชั่วโมงกว่า ลงคลิป 2 อาทิตย์ คนดูล้านกว่าๆ สุดยอดจริงๆค่ะคุณอาร์ม👍🏻

  • @4seasonsKAGA
    @4seasonsKAGA 4 місяці тому +1

    ท่านอาร์มคะ พอดีตอนนี้ทางศาลกำลังไต่สวนเรื่องนี้ มีคลิปการให้การในศาล มีข้อมูลน่าตกใจหลายเรื่องเลย😢
    รอท่านอาร์มช่วยสรุปเรื่องราวเรื่องนี้อย่างใจจดใจจ่อนะคะะะะะะ🎉

  • @DARKKILLFAILDKF
    @DARKKILLFAILDKF Рік тому +4

    อธิบายเข้าใจง่ายมากครับ ฟังเพลินครับ

  • @moyonzaa
    @moyonzaa Рік тому +10

    สุดยอดเลยค่ะ คอนเท้นคุณภาพ เข้าใจง่าย ฟังสนุก ไม่ต้องไปหาของฝรั่งดู ชอบๆ

  • @apinanlosuwan1186
    @apinanlosuwan1186 Рік тому +2

    นี่มันคอนเทนต์ทองคำ นายอาร์มเล่าพร้อมตาเป็นประกายมาก

  • @shortdejfilm976
    @shortdejfilm976 Рік тому +3

    ตาเจมส์แกหลงไหลทะเลและจนแกเริ่มศึกษาวิทยาศาสตร์ทางทะเล ผกก ที่สำรวจทะเลเก่ง กำกับภาพยนตร์ได้นิดหน่อยเท่านั้นเอง 5555

  • @Tiwsorb
    @Tiwsorb Рік тому +3

    ติดตามทุกคลิป ฟังเพลินมากครับ ได้ทั้งความรู้และความบันเทิง

  • @muchchaz9357
    @muchchaz9357 Рік тому +1

    การเสียรูปเเบบ Plastic ให้นึกถึงยาง เวลาดึงหากไม่เกินจุดวิบัติยางจะกลับมาคืนสภาพเดิม 35:18 เป็นพฤติกรรมเชิงเส้น (Linear)

  • @หนมน้าาาา
    @หนมน้าาาา Місяць тому

    36:08 มีแชทคิดเหมือนผมด้วย กระป๋อง จีบีท มันพอดีกับคลิปนี้มากๆ5555❤😅

  • @iMF25M
    @iMF25M Рік тому +42

    เหมือนใน Underwater มีฉากที่นักดำน้ำใส่ชุดดำน้ำแบบพิเศษ มีลอยร้าวนิดเดียว พอเปิดประตู !!! ตูมเลย แต่ของจริงไวจนไม่รู้สึกตัว

  • @PGM991
    @PGM991 Рік тому +1

    คนนอกที่ไม่มีความรู้อาจจะเหยียด ๆ ไปเลย แต่จอยเกมเดี๋ยวนี้แหละ โคตรจะล้ำหน้าเลย
    Motion sensor, Gyro sensor, Pressure Sensor, แกนอนาล็อกที่ตอบสนองได้ครบ 180° แทนที่จะแค่ 8 ทิศ

  • @aoffydosy1530
    @aoffydosy1530 Рік тому +13

    โซนาร์จะมีปัญหาอย่างนึงคือ ถ้ามันไปโดนพวกสัตว์ที่ต้องใช้คลื่นนี้นำทางอย่างวาฬที่ดำได้ลึกระดับเดียวกัน มีโอกาสที่จะเรียกความสนใจวาฬแล้วจะพามันมาชนเรือดำน้ำเสียหายได้ ดังนั้นถ้าจะยิงต้องยิงให้แม่น ไมงั้นจะกระจายไปกระทบกับวาฬนี่แหละ ซึ่งก็มีราคาแพงสุดๆ

  • @The.Corvinus
    @The.Corvinus Рік тому +2

    ผมว่าถ้าอยากพาคนลงไปเยอะ น่าจะทำเป็นห้องโดยสารของใครของมันแล้วเอามา group รวมกันก็น่าจะ work กว่าการทำห้องโดยสารใหญ่ๆอันเดียวแบบไททันอ่ะ

  • @เส้นทางสายเหมียว

    ตอนยังไม่ได้รู้รายละเอียดก็คิดว่าน่ากลัวแล้ว... พอคุณอาร์มมาขยายเพิ่มนี่ขนลุกมากเลยค่ะ...
    รอดมาได้ยังไงถึงรอบนี้... ไม่มีเทสความปลอดภัยอะไรก่อนดำเลย...
    เคยดู สารดี หรือหนัง เรื่อง Deepsea Challenge ของลุงเจมส์กว่าแกจะดำจริง ทุกระบบในยานแกเทสตั้งหลายรอบ จำลองสถานการณ์ทุกอย่างเท่าที่จะจำลองได้ แล้วพอสายสื่อสารได้ยินไม่ชัดแกก็หยุดทดสอบแล้วมาแก้ อันไหนพังลุงแกสั่งรื้อแก้ใหม่จนมั่นใจว่าลงไหวแกถึงไป... แถมตอนดำลงไปคือมีคู่มือประกอบด้วย ว่าความลึกขนาดนี้ต้องทำอะไรบ้าง... ตอนดูบอกเลยว่าตอนดูคือลุ้นสุดๆ กว่าจะไปถึงพื้นมหาสมุทร
    จัดกลับมาที่ยานไททันแทบไม่เคยเทสอะไรเลยก่อนดำจริง... เน้นตามคำนวณในกระดาษไม่เน้นทดสอบ คู่มืออะไรก็ไม่มี อุปกรณ์เซฟตี้ไม่ต้องพูดถึง... ไม่แปลกใจเลยที่จะเกิดโศกนาฏกรรมแบบนี้...
    ป.ล. ลุงเจมส์แกเป็นนักสำรวจทะเลน้ำลึกที่มีงานอดิเรกเป็นผู้กำกับ เพราะเคยอ่านมาว่าแกทำหนังจบเรื่องนึงแกก็หายไปสำรวจหลายปีก่อนจะกลับมากำกับหนังอีกทีค่ะ... 😂😂

  • @sudaratsumalee534
    @sudaratsumalee534 Рік тому +1

    เก่งค่ะ อธิบายเรื่องยากๆให้กลายเป็นเรื่องง่ายๆ

  • @suthonlimchawalit9257
    @suthonlimchawalit9257 Рік тому +3

    ฟังคุณได้ข้อมูลมากกว่าใคร

  • @Panazzo666
    @Panazzo666 Рік тому +1

    ได้ความรู้มากครับสำหรับคนไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับเอนจิเนียริ่ง ❤ ขอบคุณท่านรัฐมนตรีDE

  • @calophy
    @calophy Рік тому +26

    เม้นแรกจะมีทุกยุคทุกสมัย และจะสืบทอดไปอีกพันปี 😂

    • @cheeseburgerapocalypse2604
      @cheeseburgerapocalypse2604 Рік тому +21

      คนเราชอบอะไรที่เป็นครั้งแรกคนแรกครับ ยกเว้นตอนพรีเซ้นท์งาน

    • @Hayden_97
      @Hayden_97 Рік тому +5

      มันเป็นความภาคภูมิใจนะ

    • @m3tixq
      @m3tixq Рік тому +2

      @@cheeseburgerapocalypse2604คนเราจะชอบพรีเซ้นท์งานทันที ถ้าเราเป็นแค่คนเปลี่ยนสไลด์ให้เพื่อน

  • @MO1104-x5i
    @MO1104-x5i 8 місяців тому +1

    ผมนี่ชอบการพูดของพี่เหลือเกิ้นน ติดตามาเลย

  • @shi9014
    @shi9014 Рік тому +4

    logitech ยังออกมาบอกเองเลยว่าจากจอยทั้งหมดบนโลกนี้มึงเลือกใช้จอยกูที่เป็นจอย mid end ใช้สำหรับเล่นเกม แต่พีล่อไปใช้ขับเรือดำน้ำลึก โคตรผิดวัตถุประสงค์

  • @privatepopae6822
    @privatepopae6822 Рік тому

    สงสารคนที่ไปกับเรือมาก เอาชีวิตไปทิ้งแท้ๆเลย

  • @lilacplayspace
    @lilacplayspace Рік тому +4

    รอนายอาร์มทำคอนเท้นนี้เลย เล่าสนุกมากกระจ่างเลยค่ะ กู๊ดดดดดด

  • @สว่างตากระจ่างใส

    1. มันเล็กไป
    2. มันควรใหญ่กว่านี้ และมีความหนากว่านี้ เป็นรูปจานเหมือนยานอวกาศ มีระบบ พลังงานผลิตไฟฟ้า เป็นแกนกลางตรงกลาง มันจะทำให้คนโดยสาร มีที่สำหรับ นั่ง สบายๆ รอบ แกนกลางตัวขับเคลื่อน สามารถ เห็นภายนอก ผ่านกล้องและ เลนส์กระจก ที่หนามาก
    3. ความใหญ่ ที่สามารถที่จะ มีทางเดิน โดยรอบ และมีเครื่องปรับอากาศ เครื่องผลิตอากาศ
    4. การออกแบบรูปทรง หัวแหลม ขอบกลม จะทำให้แรงกดกระจายออกไป ด้วยแรงกดจากด้านบนและด้านข้าง ส่วนด้านล่างเป็นแรงดูด
    5. ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าที่ทรงประสิทธิภาพ ทั้งตัวเล็กและตัวใหญ่ที่อยู่โดยรอบเพื่อควบคุมทิศทาง ใต้ฐานยาน
    6. โดมปลายแหลม กับฐานยาง ทำให้ได้สมดุล ส่วนโดนดูด และส่วนที่ลอยขึ้น ทำให้ได้ทิศทางด้านบนกับด้านล่างชัดเจน ในการ ทรงตัวของยาน
    7. มันจึงเป็นยานลำใหญ่ที่ไปจากฝั่งได้เลย ถึงใต้ทะเลลึก
    8. มีความหนา ที่ หนา มากกว่า รถถังหุ้มเกราะ
    9. และ ยางที่มีความหนาเหนียวแน่น

    • @hiiruto1ssr661
      @hiiruto1ssr661 10 місяців тому +2

      อันนี้คือรู้เรื่องการสร้างใช่มั้ยครับผมแค่อยากรู้ว่ารู้ได้ไง

  • @somboonjaroensuksai3902
    @somboonjaroensuksai3902 8 місяців тому +3

    ความหายนะของไททานิคกับไทรทั่น เหมือนกันอย่างหนึ่งคือมั่นใจในเทคโนโลยีการสร้างมากจนเป็นความเชื่อว่าไม่มีข้อผิดพลาด

    • @SurachaiKodarsa
      @SurachaiKodarsa 8 місяців тому +1

      พวกคนที่เก่งมากๆ มันไม่ค่อยฟังใครหรอกครับ เลยชิบหายขนาดนี้

  • @MeddlerOx69
    @MeddlerOx69 11 місяців тому

    เป็น negative finding ให้กับนักวิจัยคนถัด ๆ ไปได้นำไปประกอบการพัฒนา เรากำลังจะไปดาวอังคาร ไปดวงจันทร์ของดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ต่างเคยผิดพลาดล้มเหลวมาก่อนทั้งสิ้น

  • @youareme12
    @youareme12 Рік тому +1

    พี่เจมส์คือคนที่เชี่ยวชาญจริงๆ

  • @nuhp9353
    @nuhp9353 Рік тому +8

    ไปดูมาแล้ว สาระคดี ของพี่เจมส์ เขาทดสอบเยอะมาก เขาไม่ไว้ใจ ห้องทดลองเลย พี่เจมส์เล่นเอาไปทดสอบจริงเลย เปลี่ยนที่ไป เรื่อยๆ ทุกที่ ที่เปลี่ยน ก็จะลึกขึ้นเรื่อยๆ รอบ2คือลุ้นมาก สัญญาณวิทยุสื่อสาน ขาดหายไปแต่เขายังลงเรื่อยๆ จนมีเสียงดัง ใบพัดเจอแรงดันน้ำทำเสียหาย โคตรสนุกแล้วก็ลุ้นมาก ไปหาดูกันนะพวกมึง Deep Challenger มีพากย์ไทยด้วยมึง

  • @powju113
    @powju113 Рік тому +1

    หายคาใจ หาอ่านอยู่ตั้งนาน อันนี้ถ่องแท้มากๆ❤

  • @AuntieSunny
    @AuntieSunny Рік тому +7

    7:37 ภาษาไทยอาจจะเรียกกันว่า 'ยานดำน้ำ' ก็เป็นได้

  • @theradejsumanus6422
    @theradejsumanus6422 Рік тому +1

    ไอเรื่องโมดูลคอนโทรลคิดว่าถ้าจะใช้เป็นเกียร์คอนโทรลน่าจะเหมาะสุดแล้วสำหรับยานพาหหนะที่เคลื่อนไหวในทิศทางอิสระยกตัวอย่างกับพวกอากาศยานเกือบทุกชนิด เพราะการบังคับผ่านเกียร์คอนโทรลสามารถตอบสนองการทำงานได้ไวสุดในบรรดาคันบังคับทุกรูปแบบ และระบบซับซ้อนน้อยกว่าทำให้ความเสี่ยงการเกิดปันหาจากคันบังคับน้อยลงด้วย

  • @jujooby
    @jujooby Рік тому +2

    ตอนหน้าอยากให้พูดเรื่องบันไดเลื่อนจังค่ะในเชิงวิศวกรรม ดูข่าวแล้วหดหู่ ที่เมืองนอกเขามีเคสแบบนี้ไหม

  • @แมวน้ําน่ารัก-ฒ4ส

    สงสัยว่าทำไมตอนแรกที่ลงไปเรือถึงไม่ระเบิดคะ ลูกทัวร์รอบนั้น มีแต้มบุญสูงมากๆ

    • @วิกรธนรัตฉัตร
      @วิกรธนรัตฉัตร Рік тому +2

      ตอนเเรกที่ลงไปวัสดุยังไม่มีความล้าสะสมครับ ตัวเรือถูกออกแบบให้มี sf 2.25 แปลว่าสามารถทนรับแรงดันที่ 4000 เมตรได้ครับ เพียงเเต่เมื่อใช้ซ้ำหลายๆครั้งวัสดุจะเกิดการเสียหายสะสมครับ

    • @วิกรธนรัตฉัตร
      @วิกรธนรัตฉัตร Рік тому +2

      ต้องโทษคนออกแบบครับ จริงๆวิศวกร สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้าอยู่แล้วว่าสามารถใช้ซ้ำได้กี่รอบเพื่อให้ยังอยุ่ในความปลอดภัยครับ

    • @แมวน้ําน่ารัก-ฒ4ส
      @แมวน้ําน่ารัก-ฒ4ส Рік тому +1

      ​@@วิกรธนรัตฉัตรเห็นด้วยค่ะ ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ