Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
สำหรับผู้ที่ยังไม่เข้าใจวิธีในการฝึกฝนเจริญสติ ขอแนะนำให้ดูคลิปใน [ส่วนที่ 1]ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.htmlจะรวบรวมประเด็นที่ผู้ฝึกฝนควรรู้ โดยไล่ดูตามลำดับที่จัดเรียงไว้ ก็จะช่วยลำดับความเข้าใจให้ได้มากขึ้นหลวงพ่อเทียนใช้คำว่า "เห็นความคิด ดูความคิด หรือ เห็นจิต ดูจิต" ไม่ได้หมายถึง ให้เราเอาจิตใจไปเฝ้าจ้องว่า เมื่อไหร่จะเกิดความคิด เมื่อไหร่ใจจะเผลอคิด เผลอไปในอารมณ์ต่างๆ หรือ เมื่อเผลอคิดไปแล้ว ก็ไปตามดูความคิด ว่ามันคิดอะไร ไปหาสาเหตุไปหานิยาม ไปหาทางแก้ หรือหลงไปปรุงแต่งเป็นความรู้สึก/อารมณ์ต่างๆ เช่น ไปหงุดหงิด ไปยินดียินร้ายกับมัน ฯลฯ ..ไม่ใช่แบบนั้น!!แต่หลวงพ่อเทียนต้องการสื่อถึง "การเห็นความคิด หรือดูความคิด" โดยไม่หลงเข้าไปในความคิด ไม่หลงไปตามความคิดหรืออารมณ์ ไม่ไปปรุงแต่งต่อเติม ฯลฯเปรียบเหมือนเราเป็นคนดูมัน เห็นมันห่างๆ จากข้างนอก โดยเราไม่ได้เข้าไปคลุกวงในกับมัน ไม่เข้าไปพัวพันกับมันวิธีฝึกฝน ก็เป็นวิธีฝึกเจริญสติ หรือฝึก "ความรู้สึกตัว" ที่ "มือใหม่" ได้ถูกย้ำเตือนบ่อยๆ คือ ฝึกให้มี "ความรู้สึกตัว" กับการเคลื่อนไหวร่างกายในทุกอิริยาบถ และ/หรือ ให้เจตนาสร้างการเคลื่อนไหวร่างกาย (สร้างจังหวะ) แล้วรู้สึกเบาๆ สบายๆ กับกายที่เคลื่อนไหวหรือจะเรียกว่า ให้จิตใจตั้งอยู่กับ "ความรู้สึกตัว" หรือการระลึกรู้ในอาการต่างๆ ของร่างกาย (เช่น กายมีการเคลื่อนไหว มีการหยุดนิ่ง มีการตึง/หย่อน มีการกระทบสัมผัสต่างๆ เป็นต้น)...ไม่ใช่เอาจิตใจไปเฝ้าจ้องเพื่อจะเห็นหรือตามดูความคิด/อารมณ์ต่างๆเมื่อ "รู้สึกตัว" ไปสักพัก จิตใจมันจะเผลอคิดขึ้นมาเองตามธรรมชาติของมันสำหรับผู้ฝึกใหม่ กว่าจะรู้ตัว รู้ทัน หรือระลึกได้ว่า ตัวเองกำลังเผลอคิดอยู่ก็อาจจะเผลอคิดไปแล้วนานหลายนาที แต่เมื่อฝึกฝนมากๆ เข้า สติแข็งแรงขึ้น เราจะรู้ทัน "การเผลอคิด" ได้ไวขึ้น และบ่อยขึ้นเอง เมื่อฝึกจนชำนาญมากๆ อีกหน่อยพอเผลอคิดปุ๊บ เราก็รู้ทันปั๊บ!!เมื่อ "รู้ทัน-รู้ตัว-ระลึกขึ้นมาได้ว่าตัวเองกำลังเผลอคิด กำลังเผลอไปกับอารมณ์ต่างๆ" แล้วควรทำอย่างไรต่อไป? ก็ให้ทิ้งความคิด/อารมณ์ต่างๆ ทันที!! .. เมื่อใดที่รู้ตัวว่าเผลอคิดปุ๊บ ก็ให้ทิ้งความคิดไปทันทีไม่คิดต่อ ไม่ปรุงแต่งต่อเติม ไม่ไหลไปตามความคิด/อารมณ์ต่างๆ ไม่ต้องไปหาความหมาย ไม่ต้องไปหาสาเหตุใดๆ ทั้งสิ้น..ให้ทิ้งความคิด/อารมณ์ต่างๆ ทันที!! ..แล้ว "กลับมารู้สึกตัว"คือการพาใจกลับมาตั้งไว้กับความรู้สึกตัวในการเคลื่อนไหวร่างกายเช่นเดิม!!เดี๋ยวสักพัก ใจก็อาจจะเผลอคิดไปอีก พอเรารู้ทันว่าใจมันเผลอไปอีก ก็ทิ้งความคิดทันทีแล้ว "กลับมารู้สึกตัว" ทำแบบนี้วนๆ ไปเช่นเดิมฝีกแบบนี้ซ้ำๆ ไปเรื่อยๆ จนเมื่อสติตั้งมั่น แข็งแรง ว่องไวมากขึ้นก็จะพัฒนาไปสู่ "การเห็นความคิด โดยไม่หลงเข้าไปในความคิด"และจะพาไปสู่การปล่อยวางความคิด/อารมณ์ ได้มากขึ้น หรือเมื่อมีอะไรมากระทบกายและใจ ไม่ว่าจะ "เรื่องทุกข์หรือสุข"เราก็จะรับรู้สิ่งเหล่านั้นด้วยจิตใจที่เป็นปกติ เป็นกลางๆ ใจไม่ไหลจมดิ่งไปกับความทุกข์ และไม่หลงลอยไปกับความสุขคลายความยึดมั่นในเรื่องต่างๆ ได้มากขึ้นการปรุงแต่งฟุ้งซ่านจะน้อยลงเรื่อยๆ และทำให้ใจยอมรับในสัจธรรมของชีวิตได้มากขึ้นมีสติปัญญารับมือกับเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตได้ดีขึ้นซึ่งทั้งหลายเหล่านี้ มันจะเป็นไปเองตามกลไกธรรมชาติขอเพียงแค่เพียรฝึกฝนอย่างถูกต้องและต่อเนื่องมากพอเราสามารถหาโอกาสฝึกการเจริญสติ หรือ ฝึก "ความรู้สึกตัว" ให้ผสมผสานกับชีวิตประจำวัน ได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลาคำแนะนำเพิ่มเติม - แนะนำการเจริญสติตามแนวทางหลวงพ่อเทียน โดย พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ua-cam.com/video/GWwIGxicOMA/v-deo.html - หลวงพ่อเทียนสอบอารมณ์ ua-cam.com/video/477997jEPdg/v-deo.html- วิธีเจริญสติง่ายๆ ในชีวิตประจำวัน ua-cam.com/video/qoK88FDoO_E/v-deo.html- หลักการง่ายๆ ภายใน 1 นาที.."กลับมารู้สึกตัว" ua-cam.com/video/df0Nls10qX0/v-deo.html- ดูกายเห็นจิต ดูคิดเห็นธรรม ua-cam.com/video/0F9Uc8gt1gU/v-deo.html- เห็นความคิด-อารมณ์ โดยไม่หลงเข้าไป "อิน" จะทำได้อย่างไร? ua-cam.com/video/NwSKqJFaE6U/v-deo.html- ไฮไลท์ คือ เมื่อหลงไป แล้วกลับมาได้ ua-cam.com/video/oGLkbmKypBg/v-deo.html- เจริญสติไม่ยาก แต่ที่ว่ายาก เพราะอยากได้ดั่งใจ ua-cam.com/video/ocG1E6O-zGo/v-deo.html- สภาพเดิมของจิต คือ รู้ซื่อๆ รู้เฉยๆ ua-cam.com/video/lVAhyfIoeGg/v-deo.html- วิธีง่ายๆ เพื่อดับทุกข์ใจ ua-cam.com/video/yUyob1-DKlk/v-deo.html
สำหรับผู้ที่สนใจฝึกฝนเจริญสติ (สติปัฏฐาน) ตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน 1. การเริ่มต้นฝึกฝนในแนวทางของหลวงพ่อเทียน หากสะดวกหรือสนใจที่จะได้เรียนรู้โดยตรงกับครูอาจารย์ต่างๆ ก็ลอง search หาใน google ว่าสะดวกจะไปที่ไหน หรือลองดูจาก link นี้facebook.com/Sanamnai/photos/a.365802240102946.108142.361998700483300/1319466311403196/?type=3เป็นสถานที่ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ในแนวทางของหลวงพ่อเทียน2. หรือหากจะเริ่มต้นฝึกฝนโดยดูคลิปต่างๆ จาก channel "มือใหม่หลวงพ่อเทียน" ก็ให้เข้าไปที่ [ส่วนที่ 1] ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.htmlซึ่งจะรวบรวมประเด็นต่างๆ ที่มือใหม่ควรจะรู้ เราพยายามจัดเรียงลำดับของคลิปไว้ตามหมายเลข เพื่อลำดับความเข้าใจให้มือใหม่ไม่สับสน ไล่ดูไปเรื่อยๆ ตามลำดับที่เรียงไว้ไม่เกินคลิปหมายเลข 7.8 หรือใกล้เคียงกันนั้น ก็จะเป็นการปูพื้นฐานจนเกือบครบถ้วนแล้วส่วนคลิปหลังจากนั้น ก็เป็นการขยายความบ้าง เป็นส่วนเสริมบ้าง หรือเป็นการตอกย้ำบ้างเพราะฉะนั้น ไม่ได้หมายความว่า "มือใหม่" จะต้องดูคลิปใน [ส่วนที่ 1] จนหมดให้ครบถึงคลิปสุดท้ายแล้วจึงค่อยลงมือเริ่มฝึกฝน ไม่ใช่แบบนั้น!!คือ ดูไปเรื่อยๆ สัก 2-3 คลิป จนเริ่มรู้หลักการคร่าวๆรู้วิธีฝึกคร่าวๆ แล้วก็เริ่มเอาวิธีการไปลงมือฝึกได้เลยแล้วพอว่างๆ ก็ค่อยๆ มาดูคลิปเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เมื่อพอจะเริ่มเข้าใจวิธีฝึก ก็ให้ลงมือฝึกฝนบ่อยๆ หากมีข้อสงสัยอะไร ก็ทิ้งคำถามไว้ที่ใต้คลิปนั้น เราก็จะพยายามหาคำแนะนำของครูอาจารย์มาช่วยคลี่คลายให้3. หรือหากมีเวลาพอสมควร พอที่จะดูคอร์สการบรรยายที่ยาวหน่อยได้ ก็อยากให้ดูการสอนกรรมฐานแบบเข้าใจง่ายใน [ส่วนที่ 2]ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosrqwu1E23iCftSJobZU6sK8.html จะช่วยปูพื้นฐานอย่างละเอียด ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
อะไรคือรู้ซื่อๆคะ
@@annitaraminramin6731 การฝึกสติปัฏฐาน (เจริญสติ) ในแนวทางของหลวงพ่อเทียนนั้น คำว่า "รู้ซื่อๆ" หรือเรียกอีกอย่างว่า "รู้เฉยๆ" คือ สภาวะทางจิตใจของเรา ที่ไม่ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นกับกายหรือใจ ไม่ว่าจะไปเจอเรื่องราว สภาวะใดๆ ในชีวิต เราจะรับรู้สิ่งที่เกิดขึ้นด้วยใจที่เป็นปกติ ด้วยใจที่เป็นกลางๆ ใจไม่ไหลไปปรุงแต่งต่อเติมกับความคิด/ความรู้สึกต่างๆที่เกิดขึ้น ไม่รู้สึกยินดียินร้าย ไม่รู้สึกบวกหรือลบกับสิ่งต่างๆ ที่มากระทบ นี่คือคำอธิบายคร่าวๆ ครับ ซึ่งการจะทำแบบนี้ได้ "ต้องฝึกฝนสติปัฏฐาน" อย่างถูกต้องและมีความเพียรที่เหมาะสม การจะเข้าใจคำว่า "รู้ซื่อๆ" ได้อย่างกระจ่างนั้น อยากจะแนะนำว่า สำหรับมือใหม่ที่ฟังแล้วยังสงสัย หรือไม่เข้าใจวิธีการและหลักการในการฝึกฝน แนะนำให้ดูคลิปใน [ส่วนที่ 1] ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.html จะรวบรวมประเด็นที่ผู้ฝึกฝนควรรู้ โดยไล่ดูตามลำดับที่จัดเรียงไว้ ก็น่าจะช่วยลำดับความเข้าใจให้ได้มากขึ้นครับ
เป็นธรรมทานที่ไม่สามารถประเมินมูลค่าได้ อนุโมทนา สาธุๆๆ
รู้ตัวว่ากำลังโกรธแต่ความโกรธก็ยังไม่ดับ น้ำน้อย ย่อมแพ้ไฟ น้อมขอกราบอนุโมทนาบุญพระเจ้าค่ะพระเจ้าครับสาธุสาธุสาธุ🙏🙏🙏 🙏🙏🙏 🙏🙏🙏
กราบนมัสสการเจ้าค้ากราบขออนุญาติเจ้าค้าขออนุญาติแชร์เจ้าค้า
ด้วยความยินดีค่ะ
พระคนนี้เเจ๋วดีครับ
ดั่งลมพัดมา หนาวก็รู้ปลิวก็รู้ขอสดับครับพระอาจารย์
กราบสาธุค่ะ
🙏🙏🙏น้อมกราบสาธุ สาธุ สาธุเจ้าค่ะ
กราบอนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุค่ะพระอาจารย์🙏🙏🙏
ฟังฟังพระอาจารย์ เทศนาเรื่องความโกรธและอื่นๆจะคล้ายๆกับพระอาจารย์สุชาติดิฉันฟังแล้วเข้าใจดีมากค่ะแต่ดิฉันฟังพระอาจารย์รูปอื่นไม่ค่อยเข้าใจเป็นเพราะอะไรคะหรือว่าเรา ชอบสายแบบนี้
ก็คาดเดาได้ลำบากค่ะ อาจจะมีหลายสาเหตุค่ะ เช่น- ในคลิปนี้ พระอาจารย์ท่านพูดตามหลักการของ "สติปัฏฐาน"ซึ่งไม่ว่าจะท่านใดๆ หากอ้างอิงตามหลักการเดียวกัน ก็จะมีเนื้อหาหรือแนวทางไปในทางเดียวกันสอดคล้องกัน อะไรประมาณนั้นค่ะหรือ- ครูอาจารย์แต่ละท่าน จะมีวิธีการสอน การใช้คำพูด การยกตัวอย่าง ประสบการณ์ และอื่นๆที่อาจจะเหมือนกันบ้าง หรือต่างกันไปบ้าง ถือเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้เป็นปกติส่วนตัวผู้ฟังเอง จะรู้สึกเข้าใจหรือถูกจริตกับการสอนแบบไหน ก็ขึ้นอยู่กับผู้ฟังแต่ละท่านด้วยค่ะแต่ละท่านก็ต้องพิจารณาว่า แนวทางไหนที่ถูกต้อง แนวทางไหนที่เหมาะสมกับตัวเอง ฯลฯโดยการนำไปฝึกฝน นำไปทดลองเพื่อสัมผัสผลด้วยตนเองค่ะก็คงคล้ายๆ กับการเรียนวิชาทั่วไปในทางโลกครูบางท่านมีวิธีการสอนที่ถูกกับนิสัยของเรา เราฟังแล้วเข้าใจได้ง่ายแต่นักเรียนคนอื่นๆ ก็อาจจะรู้สึกถูกใจกับการสอนของครูคนอื่นมากกว่านักเรียนหรือครูแต่ละคนก็จะมีความต่างกันไปค่ะ เราสนใจแนวทางไหน ก็ลองศึกษาในแนวทางนั้นค่ะส่วนคนอื่นเขาก็อาจจะเหมาะกับแนวทางอื่นๆ ก็ได้ค่ะแต่อย่างไรแล้ว หากเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักสติปัฏฐาน ก็จะพาไปสู่เป้าหมายปลายทางเดียวกันค่ะ
ขอบคุณครับ
กราบสาธุ สาธุ สาธุ ค่ะ
ฝึกดูความโกรธ..ขั้นแรกต้องรู้ก่อนว่า..ความโกรธเกิดขึ้นในหัวเรา..ในสมองเรา..ในจิตเรา..มีไฟเผารนในหัวเรา..จิตเร่าร้อน..ความโกรธส่งกระแสไปที่อวัยวะทุกส่วนของร่างกาย..อวัยวะทุกส่วนทำงานปั่นป่วนไปหมด..เมื่อรู้โทษของความโกรธแบบนี้..จึงเกิดความตั้งใจที่จะกำจัดความโกรธในจิตใจของตนเอง..วิธีการคือฝึกให้เกิดสติเพื่อสำรวจจิตตนเอง..โดยการ..ถามตนเองในใจว่า..เอ๊ะ..ขณะนี้จิตของเราเป็นยังไงนะ..เป็นสุข.หรือเป็นทุกข์.หรือเฉยๆ..แล้ว.นิ่ง.ดูสภาพในจิตว่าเป็นอย่างไร...ขณะเกิดสติ..ในจิตจะเห็นว่าง.หรือรู้สึกเฉยๆ..ฝึกใหม่ๆ.สติเกิดในจิตน้อย..บังคับจิตให้อยู่ในหัวไม่ค่อยได้..ฝึกบ่อยๆ..สติจะมีมากขึ้นและต่อเนื่อง..จิตจะหายโง่..เพราะรู้สิ่งที่อยู่ในจิต..เกิด,.ดับ..เห็นกิเลส.เกิด.ดับ..ความโกรธเกิด..สติเกิดเร็ว..โกรธก็ดับเร็ว..สติเกิดช้า.โกรธก็ดับช้า..จึงต้องฝึกให้เกิดสติให้มีมากๆในจิต..เพือให้มีสุขภาพจิต..ที่เป็นสุขยอดเยี่ยม.ในการเป็นมนุษย์.....ลองทำดู..ถ้าได้ผลดี,..โปรดเผยแพร่ด้วยครับ....
กราบสาธุ. กำลังต้องการคำแนะนำเลยค่ะ
🙏🙏🙏😊
😇😇😇🙏🙏🙏
🪷🪷🪷🪷
สำหรับผู้ที่ยังไม่เข้าใจวิธีในการฝึกฝนเจริญสติ ขอแนะนำให้ดูคลิปใน [ส่วนที่ 1]
ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.html
จะรวบรวมประเด็นที่ผู้ฝึกฝนควรรู้ โดยไล่ดูตามลำดับที่จัดเรียงไว้ ก็จะช่วยลำดับความเข้าใจให้ได้มากขึ้น
หลวงพ่อเทียนใช้คำว่า "เห็นความคิด ดูความคิด หรือ เห็นจิต ดูจิต"
ไม่ได้หมายถึง ให้เราเอาจิตใจไปเฝ้าจ้องว่า เมื่อไหร่จะเกิดความคิด
เมื่อไหร่ใจจะเผลอคิด เผลอไปในอารมณ์ต่างๆ
หรือ เมื่อเผลอคิดไปแล้ว ก็ไปตามดูความคิด ว่ามันคิดอะไร ไปหาสาเหตุ
ไปหานิยาม ไปหาทางแก้ หรือหลงไปปรุงแต่งเป็นความรู้สึก/อารมณ์ต่างๆ
เช่น ไปหงุดหงิด ไปยินดียินร้ายกับมัน ฯลฯ
..ไม่ใช่แบบนั้น!!
แต่หลวงพ่อเทียนต้องการสื่อถึง "การเห็นความคิด หรือดูความคิด"
โดยไม่หลงเข้าไปในความคิด ไม่หลงไปตามความคิดหรืออารมณ์ ไม่ไปปรุงแต่งต่อเติม ฯลฯ
เปรียบเหมือนเราเป็นคนดูมัน เห็นมันห่างๆ จากข้างนอก
โดยเราไม่ได้เข้าไปคลุกวงในกับมัน ไม่เข้าไปพัวพันกับมัน
วิธีฝึกฝน ก็เป็นวิธีฝึกเจริญสติ หรือฝึก "ความรู้สึกตัว" ที่ "มือใหม่" ได้ถูกย้ำเตือนบ่อยๆ
คือ ฝึกให้มี "ความรู้สึกตัว" กับการเคลื่อนไหวร่างกายในทุกอิริยาบถ
และ/หรือ ให้เจตนาสร้างการเคลื่อนไหวร่างกาย (สร้างจังหวะ)
แล้วรู้สึกเบาๆ สบายๆ กับกายที่เคลื่อนไหว
หรือจะเรียกว่า ให้จิตใจตั้งอยู่กับ "ความรู้สึกตัว" หรือการระลึกรู้ในอาการต่างๆ ของร่างกาย
(เช่น กายมีการเคลื่อนไหว มีการหยุดนิ่ง มีการตึง/หย่อน มีการกระทบสัมผัสต่างๆ เป็นต้น)
...ไม่ใช่เอาจิตใจไปเฝ้าจ้องเพื่อจะเห็นหรือตามดูความคิด/อารมณ์ต่างๆ
เมื่อ "รู้สึกตัว" ไปสักพัก จิตใจมันจะเผลอคิดขึ้นมาเองตามธรรมชาติของมัน
สำหรับผู้ฝึกใหม่ กว่าจะรู้ตัว รู้ทัน หรือระลึกได้ว่า ตัวเองกำลังเผลอคิดอยู่
ก็อาจจะเผลอคิดไปแล้วนานหลายนาที
แต่เมื่อฝึกฝนมากๆ เข้า สติแข็งแรงขึ้น
เราจะรู้ทัน "การเผลอคิด" ได้ไวขึ้น และบ่อยขึ้นเอง
เมื่อฝึกจนชำนาญมากๆ อีกหน่อยพอเผลอคิดปุ๊บ เราก็รู้ทันปั๊บ!!
เมื่อ "รู้ทัน-รู้ตัว-ระลึกขึ้นมาได้ว่าตัวเองกำลังเผลอคิด กำลังเผลอไปกับอารมณ์ต่างๆ"
แล้วควรทำอย่างไรต่อไป?
ก็ให้ทิ้งความคิด/อารมณ์ต่างๆ ทันที!!
.. เมื่อใดที่รู้ตัวว่าเผลอคิดปุ๊บ ก็ให้ทิ้งความคิดไปทันที
ไม่คิดต่อ ไม่ปรุงแต่งต่อเติม ไม่ไหลไปตามความคิด/อารมณ์ต่างๆ
ไม่ต้องไปหาความหมาย ไม่ต้องไปหาสาเหตุใดๆ ทั้งสิ้น
..ให้ทิ้งความคิด/อารมณ์ต่างๆ ทันที!! ..แล้ว "กลับมารู้สึกตัว"
คือการพาใจกลับมาตั้งไว้กับความรู้สึกตัวในการเคลื่อนไหวร่างกายเช่นเดิม!!
เดี๋ยวสักพัก ใจก็อาจจะเผลอคิดไปอีก
พอเรารู้ทันว่าใจมันเผลอไปอีก ก็ทิ้งความคิดทันทีแล้ว "กลับมารู้สึกตัว"
ทำแบบนี้วนๆ ไปเช่นเดิม
ฝีกแบบนี้ซ้ำๆ ไปเรื่อยๆ จนเมื่อสติตั้งมั่น แข็งแรง ว่องไวมากขึ้น
ก็จะพัฒนาไปสู่ "การเห็นความคิด โดยไม่หลงเข้าไปในความคิด"
และจะพาไปสู่การปล่อยวางความคิด/อารมณ์ ได้มากขึ้น
หรือเมื่อมีอะไรมากระทบกายและใจ ไม่ว่าจะ "เรื่องทุกข์หรือสุข"
เราก็จะรับรู้สิ่งเหล่านั้นด้วยจิตใจที่เป็นปกติ เป็นกลางๆ
ใจไม่ไหลจมดิ่งไปกับความทุกข์ และไม่หลงลอยไปกับความสุข
คลายความยึดมั่นในเรื่องต่างๆ ได้มากขึ้น
การปรุงแต่งฟุ้งซ่านจะน้อยลงเรื่อยๆ
และทำให้ใจยอมรับในสัจธรรมของชีวิตได้มากขึ้น
มีสติปัญญารับมือกับเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตได้ดีขึ้น
ซึ่งทั้งหลายเหล่านี้ มันจะเป็นไปเองตามกลไกธรรมชาติ
ขอเพียงแค่เพียรฝึกฝนอย่างถูกต้องและต่อเนื่องมากพอ
เราสามารถหาโอกาสฝึกการเจริญสติ หรือ ฝึก "ความรู้สึกตัว"
ให้ผสมผสานกับชีวิตประจำวัน ได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา
คำแนะนำเพิ่มเติม
- แนะนำการเจริญสติตามแนวทางหลวงพ่อเทียน โดย พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ua-cam.com/video/GWwIGxicOMA/v-deo.html
- หลวงพ่อเทียนสอบอารมณ์ ua-cam.com/video/477997jEPdg/v-deo.html
- วิธีเจริญสติง่ายๆ ในชีวิตประจำวัน ua-cam.com/video/qoK88FDoO_E/v-deo.html
- หลักการง่ายๆ ภายใน 1 นาที.."กลับมารู้สึกตัว" ua-cam.com/video/df0Nls10qX0/v-deo.html
- ดูกายเห็นจิต ดูคิดเห็นธรรม ua-cam.com/video/0F9Uc8gt1gU/v-deo.html
- เห็นความคิด-อารมณ์ โดยไม่หลงเข้าไป "อิน" จะทำได้อย่างไร? ua-cam.com/video/NwSKqJFaE6U/v-deo.html
- ไฮไลท์ คือ เมื่อหลงไป แล้วกลับมาได้ ua-cam.com/video/oGLkbmKypBg/v-deo.html
- เจริญสติไม่ยาก แต่ที่ว่ายาก เพราะอยากได้ดั่งใจ ua-cam.com/video/ocG1E6O-zGo/v-deo.html
- สภาพเดิมของจิต คือ รู้ซื่อๆ รู้เฉยๆ ua-cam.com/video/lVAhyfIoeGg/v-deo.html
- วิธีง่ายๆ เพื่อดับทุกข์ใจ ua-cam.com/video/yUyob1-DKlk/v-deo.html
สำหรับผู้ที่สนใจฝึกฝนเจริญสติ (สติปัฏฐาน) ตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน
1. การเริ่มต้นฝึกฝนในแนวทางของหลวงพ่อเทียน
หากสะดวกหรือสนใจที่จะได้เรียนรู้โดยตรงกับครูอาจารย์ต่างๆ
ก็ลอง search หาใน google ว่าสะดวกจะไปที่ไหน หรือลองดูจาก link นี้
facebook.com/Sanamnai/photos/a.365802240102946.108142.361998700483300/1319466311403196/?type=3
เป็นสถานที่ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ในแนวทางของหลวงพ่อเทียน
2. หรือหากจะเริ่มต้นฝึกฝนโดยดูคลิปต่างๆ จาก channel "มือใหม่หลวงพ่อเทียน"
ก็ให้เข้าไปที่ [ส่วนที่ 1] ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.html
ซึ่งจะรวบรวมประเด็นต่างๆ ที่มือใหม่ควรจะรู้
เราพยายามจัดเรียงลำดับของคลิปไว้ตามหมายเลข
เพื่อลำดับความเข้าใจให้มือใหม่ไม่สับสน ไล่ดูไปเรื่อยๆ ตามลำดับที่เรียงไว้
ไม่เกินคลิปหมายเลข 7.8 หรือใกล้เคียงกันนั้น
ก็จะเป็นการปูพื้นฐานจนเกือบครบถ้วนแล้ว
ส่วนคลิปหลังจากนั้น ก็เป็นการขยายความบ้าง
เป็นส่วนเสริมบ้าง หรือเป็นการตอกย้ำบ้าง
เพราะฉะนั้น ไม่ได้หมายความว่า "มือใหม่"
จะต้องดูคลิปใน [ส่วนที่ 1] จนหมดให้ครบถึงคลิปสุดท้าย
แล้วจึงค่อยลงมือเริ่มฝึกฝน ไม่ใช่แบบนั้น!!
คือ ดูไปเรื่อยๆ สัก 2-3 คลิป จนเริ่มรู้หลักการคร่าวๆ
รู้วิธีฝึกคร่าวๆ แล้วก็เริ่มเอาวิธีการไปลงมือฝึกได้เลย
แล้วพอว่างๆ ก็ค่อยๆ มาดูคลิปเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ
เมื่อพอจะเริ่มเข้าใจวิธีฝึก ก็ให้ลงมือฝึกฝนบ่อยๆ
หากมีข้อสงสัยอะไร ก็ทิ้งคำถามไว้ที่ใต้คลิปนั้น
เราก็จะพยายามหาคำแนะนำของครูอาจารย์มาช่วยคลี่คลายให้
3. หรือหากมีเวลาพอสมควร พอที่จะดูคอร์สการบรรยายที่ยาวหน่อยได้
ก็อยากให้ดูการสอนกรรมฐานแบบเข้าใจง่ายใน [ส่วนที่ 2]
ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosrqwu1E23iCftSJobZU6sK8.html
จะช่วยปูพื้นฐานอย่างละเอียด ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
อะไรคือรู้ซื่อๆคะ
@@annitaraminramin6731 การฝึกสติปัฏฐาน (เจริญสติ) ในแนวทางของหลวงพ่อเทียนนั้น คำว่า "รู้ซื่อๆ" หรือเรียกอีกอย่างว่า "รู้เฉยๆ" คือ สภาวะทางจิตใจของเรา ที่ไม่ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นกับกายหรือใจ ไม่ว่าจะไปเจอเรื่องราว สภาวะใดๆ ในชีวิต เราจะรับรู้สิ่งที่เกิดขึ้นด้วยใจที่เป็นปกติ ด้วยใจที่เป็นกลางๆ ใจไม่ไหลไปปรุงแต่งต่อเติมกับความคิด/ความรู้สึกต่างๆที่เกิดขึ้น ไม่รู้สึกยินดียินร้าย ไม่รู้สึกบวกหรือลบกับสิ่งต่างๆ ที่มากระทบ นี่คือคำอธิบายคร่าวๆ ครับ ซึ่งการจะทำแบบนี้ได้ "ต้องฝึกฝนสติปัฏฐาน" อย่างถูกต้องและมีความเพียรที่เหมาะสม การจะเข้าใจคำว่า "รู้ซื่อๆ" ได้อย่างกระจ่างนั้น อยากจะแนะนำว่า สำหรับมือใหม่ที่ฟังแล้วยังสงสัย หรือไม่เข้าใจวิธีการและหลักการในการฝึกฝน แนะนำให้ดูคลิปใน [ส่วนที่ 1] ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.html จะรวบรวมประเด็นที่ผู้ฝึกฝนควรรู้ โดยไล่ดูตามลำดับที่จัดเรียงไว้ ก็น่าจะช่วยลำดับความเข้าใจให้ได้มากขึ้น
ครับ
เป็นธรรมทานที่ไม่สามารถประเมินมูลค่าได้ อนุโมทนา สาธุๆๆ
รู้ตัวว่ากำลังโกรธแต่ความโกรธก็ยังไม่ดับ น้ำน้อย ย่อมแพ้ไฟ น้อมขอกราบอนุโมทนาบุญพระเจ้าค่ะพระเจ้าครับสาธุสาธุสาธุ🙏🙏🙏 🙏🙏🙏 🙏🙏🙏
กราบนมัสสการเจ้าค้า
กราบขออนุญาติเจ้าค้า
ขออนุญาติแชร์เจ้าค้า
ด้วยความยินดีค่ะ
พระคนนี้เเจ๋วดีครับ
ดั่งลมพัดมา หนาวก็รู้ปลิวก็รู้
ขอสดับครับพระอาจารย์
กราบสาธุค่ะ
🙏🙏🙏น้อมกราบสาธุ สาธุ สาธุเจ้าค่ะ
กราบอนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุค่ะพระอาจารย์🙏🙏🙏
ฟังฟังพระอาจารย์ เทศนาเรื่องความโกรธและอื่นๆจะคล้ายๆกับพระอาจารย์สุชาติดิฉันฟังแล้วเข้าใจดีมากค่ะแต่ดิฉันฟังพระอาจารย์รูปอื่นไม่ค่อยเข้าใจเป็นเพราะอะไรคะหรือว่าเรา ชอบสายแบบนี้
ก็คาดเดาได้ลำบากค่ะ อาจจะมีหลายสาเหตุค่ะ
เช่น
- ในคลิปนี้ พระอาจารย์ท่านพูดตามหลักการของ "สติปัฏฐาน"
ซึ่งไม่ว่าจะท่านใดๆ หากอ้างอิงตามหลักการเดียวกัน ก็จะมีเนื้อหาหรือแนวทางไปในทางเดียวกัน
สอดคล้องกัน อะไรประมาณนั้นค่ะ
หรือ
- ครูอาจารย์แต่ละท่าน จะมีวิธีการสอน การใช้คำพูด การยกตัวอย่าง ประสบการณ์ และอื่นๆ
ที่อาจจะเหมือนกันบ้าง หรือต่างกันไปบ้าง ถือเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้เป็นปกติ
ส่วนตัวผู้ฟังเอง จะรู้สึกเข้าใจหรือถูกจริตกับการสอนแบบไหน
ก็ขึ้นอยู่กับผู้ฟังแต่ละท่านด้วยค่ะ
แต่ละท่านก็ต้องพิจารณาว่า แนวทางไหนที่ถูกต้อง
แนวทางไหนที่เหมาะสมกับตัวเอง ฯลฯ
โดยการนำไปฝึกฝน นำไปทดลองเพื่อสัมผัสผลด้วยตนเองค่ะ
ก็คงคล้ายๆ กับการเรียนวิชาทั่วไปในทางโลก
ครูบางท่านมีวิธีการสอนที่ถูกกับนิสัยของเรา เราฟังแล้วเข้าใจได้ง่าย
แต่นักเรียนคนอื่นๆ ก็อาจจะรู้สึกถูกใจกับการสอนของครูคนอื่นมากกว่า
นักเรียนหรือครูแต่ละคนก็จะมีความต่างกันไปค่ะ
เราสนใจแนวทางไหน ก็ลองศึกษาในแนวทางนั้นค่ะ
ส่วนคนอื่นเขาก็อาจจะเหมาะกับแนวทางอื่นๆ ก็ได้ค่ะ
แต่อย่างไรแล้ว หากเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักสติปัฏฐาน
ก็จะพาไปสู่เป้าหมายปลายทางเดียวกันค่ะ
ขอบคุณครับ
กราบสาธุ สาธุ สาธุ ค่ะ
ฝึกดูความโกรธ..ขั้นแรกต้องรู้ก่อนว่า..ความโกรธเกิดขึ้นในหัวเรา..ในสมองเรา..ในจิตเรา..มีไฟเผารนในหัวเรา..จิตเร่าร้อน..ความโกรธส่งกระแสไปที่อวัยวะทุกส่วนของร่างกาย..อวัยวะทุกส่วนทำงานปั่นป่วนไปหมด..เมื่อรู้โทษของความโกรธแบบนี้..จึงเกิดความตั้งใจที่จะกำจัดความโกรธในจิตใจของตนเอง..วิธีการคือฝึกให้เกิดสติเพื่อสำรวจจิตตนเอง..โดยการ..ถามตนเองในใจว่า..เอ๊ะ..ขณะนี้จิตของเราเป็นยังไงนะ..เป็นสุข.หรือเป็นทุกข์.หรือเฉยๆ..แล้ว.นิ่ง.ดูสภาพในจิตว่าเป็นอย่างไร...ขณะเกิดสติ..ในจิตจะเห็นว่าง.หรือรู้สึกเฉยๆ..ฝึกใหม่ๆ.สติเกิดในจิตน้อย..บังคับจิตให้อยู่ในหัวไม่ค่อยได้..ฝึกบ่อยๆ..สติจะมีมากขึ้นและต่อเนื่อง..จิตจะหายโง่..เพราะรู้สิ่งที่อยู่ในจิต..เกิด,.ดับ..เห็นกิเลส.เกิด.ดับ..ความโกรธเกิด..สติเกิดเร็ว..โกรธก็ดับเร็ว..สติเกิดช้า.โกรธก็ดับช้า..จึงต้องฝึกให้เกิดสติให้มีมากๆในจิต..เพือให้มีสุขภาพจิต..ที่เป็นสุขยอดเยี่ยม.ในการเป็นมนุษย์.....ลองทำดู..ถ้าได้ผลดี,..โปรดเผยแพร่ด้วยครับ...
.
กราบสาธุ. กำลังต้องการคำแนะนำเลยค่ะ
🙏🙏🙏😊
😇😇😇🙏🙏🙏
🪷🪷🪷🪷