Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
รู้จักแรงเทียมครั้งแรกจาก WiTcast นี่แหละครับ ตอนสัมภาษณ์พี่ยอ
ได้ความรุ้ดีคัฟ
พี่ป๋องแป๋งโกนหนวดยังไงบ้างคะ ทำไมมันเกลี้ยงเกลาได้ขนาดนี้
ตอนเรียนฟิสิกส์ม.ปลาย 3 ปี จำไม่ได้เลยครับว่ามีคำว่าแรงเทียมด้วย เหมือนพึ่งเคยได้ยินนี่แหละ 😅
ได้เรียนการชั่งน้ำหนักบนลิฟต์หรือเปล่าครับ ข้อสอบpatออกประจำแรงเทียม เช่น ปล่อยกล่องจากพื้นเอียงถามความเร็วของพื้นเอียง สปริงในลิฟต์ การวัดเพนดูลัมบนรถที่เคลื่อนที่ ถ้าคุณไม่ได้เรียนถือว่าขาดทุนต้องโทษครูที่สอนไม่ดีหรือข้ามการสอนเนื้อหาในส่วนนี้ไป เว้นแต่คุณจะไม่ใช่สายวิทย์
@@TheMoonho รุ่นสอบ Entrance ครับ ไม่เคยเจอคำว่าแรงเทียม แต่คุ้นๆคำว่าแรงเสมือน ซึ่งก็นานมากจนเกือบลืมคำนี้ไปแล้วถ้าไม่มาเจอคำว่าแรงเทียม 😆
@@nvttatrieampanich1592 อ้อครับ เกิดไม่ทันยุคนั้นครับเลยไม่ทราบเขาเรียกอะไรหรือเรียนไหม แต่แอบตกใจกลัวว่าขาดทุนทำข้อสอบไม่ได้เพราะไม่เคยเรียน มันกำหนดอนาคตเลย ที่เรียนพิเศษย้ำประจำเลยคิดว่าไม่เคยแต่ต้องคุ้นบ้างเพราะมันออกสอบติดกันมาช่วงสองสามปีในรุ่นที่ผมสอบล่ะครับ ตอนนี้ไม่ทราบข้อสอบเป็นไงครับ ผมสอบ pat2 pat3 มั้ง ข้อสอบวิชาสามัญก็เคยออกครับ onet ก็มีบางปีแต่ไม่บ่อย มันเลยถูกเน้นย้ำแบบพิเศษใส่ไข่เลย
@@TheMoonhoโห pat onet เลยหรือครับนี่เอ็นทรานซ์รุ่นก่อนสุดท้าย ไม่ทันจริงๆแต่คุ้นๆ ว่ามีแรงเทียม
@@wongtong8735 ครับ สมัยนี้ออกลึก ผมไปค้นจากที่ผมโหลดเก็บไว้มาให้ onetปี60 วิชาสามัญ ธ.ค.59 วิชาสามัญ ธ.ค.58วิชาสามัญ ธ.ค.57Pat3 ต.ค. 52Pat3 มี.ค. 52Pat2 มี.ค. 53Pat3 ต.ค. 59เริ่มเวียนหัวละต้องไล่ดูทีละข้อ เผื่อตัวผมผิดเลยไปลองค้นดูครับว่าออกจริงหรือผมมโนไปเอง ได้ข้อมูลเท่าที่รับุ ผมขอพอแค่นี้นะครับ ต้นไหทไหวละ ห้าๆๆ
สงสัยมานานดูคลิปนี้แล้วเข้าใจเลย❤
1:52 เหมือนเรากำลังทำให้ลูกปิงปองยังอยู่บนไม้ปิงปองที่เราขยับสวนทางของวัตถุ(ลูกปิงปอง)ให้มันอยู่ตรงศูนย์กลางที่เราพยายามให้มันอยู่ศูนย์กลาง น่าจะประมาณนั้นแรงที่กระทำต่อลูกปิงปองคือมือ(จุดเริ่มแรง)และจุดเริ่มต้นของแรงกระทำคืออะไรนั่นก็ขึ้นอยู่กับวัตถุ(วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาคืออนุภาคที่ดึงดูดกันและกันเสมอ)🙏💖🇹🇭☯️☸️🌏🌈♾️🚴♂️🚴♂️🚀🚀🦋🦋
ระยะทางในการเดินและทฤษฎีวิวัฒนาการทั้งเอกภพและสิ่งมีชีวิตยังไงมันก็เคลื่อนที่🚴♂️🦋
อยากให้ไปเล่าให้พี่ฟ่างฟัง
สไตเปอร์ก็ต้องใช้หลักนี้ครับ
อาจารย์ครับ ไอสไตร์บอกว่าพระพุทธเจ้าเห็น คืออะไรครับ
โลกหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราความเร็วเชิงเส้น 1667 กม./ชม. หรือ~463 ม/นาที ณ แนวเส้นศูนย์สูตรหรือแนวเส้นรุ้ง 0 องศา แต่ที่่แนวเส้นรุ้งสูงขึ้นความเร็วเชิงเส้นจะน้อยลงไปเรื่อยๆ
สรุปทั้งหมดทั้งมวล มีแค่ความสัมพันธ์ระหว่างแรงเฉื่อยกับความเร่งแค่นั้น แรงเทียมไม่มีจริงซักนิด เพราะถ้าสืบต้นตอจริงๆ มันก็เกิดจากแรงแค่สองอย่างนี้เท่านั้น ส่วนแรงเทียมที่ว่าดังๆอย่าง อย่างcentifulgel มันก็เกิดจากความเร่งที่มีทิศทางมากกว่า1กระทำต่อวัตถุ จึงเกิดปรากฎการณ์ง่ายๆอย่าง action=reactionแบบเชิงมุม
ถ้าหากเรากระโดดลอยตัวบนอากาศได้นาน 24 ชั่วโมงและโลกในจุดทึ่เรากระโดดขึ้นอยู่ก็หมุนไปหนึ่งรอบครบ 24 ชั่วโมงเราก็ตกลงมาเราก็อยู่ที่เดิมใช่ไหมครับ
กิน(กระ)เทียมแล้วมีแรง..เลยเรัยกแรง(กระ)เทียม😂😂
ผมติดตามทุกEp. ใดๆในโลกล้วนฟิสิกส์ นำเสนอได้น่าสนใจดีครับ
คิดถึงมากเลยครับ จารป๋องแป๋ง เริ่มกลับมาทำคลิปแล้วหรอครับ ผมชอบฟังคลิปในช่องพี่ป๋องแป๋งมากๆๆมากๆๆๆๆ
มีผู้รู้ในคอมเมนต์เยอะมากเลย😁😁😁
ฟังแล้วคิดตาม โครตสนุกครับ
ผมสนใจอยากจะคุยเรื่องงทนกับคุณ
ฟังเพลินมาก แล้วก็มีการตัดต่อคลิปที่ดีขึ้นด้วยค่ะ
อยากฟังเรื่อง coriolis effect เพิ่มครับ
ผมอยากฟังนเ้ำขึ้นนเำลงทำไมถึงดุดน้ำได้
การปั่นผ้า ไม่ใช่แรงหนีศูนย์กลางเหรอครับ
ใช่นะ แต่ตอนที่น้ำหลุดจากผ้าจะเป็นแรงเทียม(ตามนิยามเขานะ)
แรงหนีศูนย์กลางไม่มีจริงไม่ใช่เหรอ มีแต่แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง แรงหนีดังกล่าวเกิดจากกรอบอ้างอิงที่น้ำบนผ้าได้รับจากการหมุน เคสที่ให้เห็นง่ายสุดคือคุณเอากล่องมาซ้อนกันแล้วลากกล่องล่างด้วยความเร่ง กล่องบนจะเคลื่อนที่ถอยหลัง หรือถ้าเรามีกล่องแข็งแล้วนำกล่องอีกใบใส่เข้ามาแล้วลาก ตอนเคลื่อนที่ด้วยความเร่งกล่องทั้งสองจะติกกันไปโดนกล่องอีกใบจะติดกับผนังกล่องที่เป็นกรอบอ้างอิง เมื่อกรอบอ้างอิงหยุดกะทันหัน กล่องในกรอบอ้างอิงจะเคลื่อนไปข้างหน้า แรงหลอกเกิดจากกรอบอ้างอิงทั้งสิ้น
รู้จักแต่ครูเทียม
แรงเทียม เกิดจากการที่กินกระเทียมเข้าไปมาก แล้วไม่ได้แปรงฟันบ้วนปาก ทำให้เวลาไปคุยกับใครต่างก็ได้กลิ่นกระเทียมจากช่องปากแล้วต่างก็บอกว่า แรงเทียมนะเนี่ย
โบซแบบไครัล คืออะไรครับ
อยากให้อาจารย์อธิบายเรื่องแรงที่ 5 ครับ
สำหรับทางทหารในการคำนวนการยิงปืนใหญ่ มีการใส่ตัวแก้จากการหมุนของโลกอยู่ครับ ถึงจะเป็นเลขหลักทศนิยม แต่ก็มีผลต่อการคำนวนมุมยิงอยู่บ้าง สำหรับปืนใหญ่ที่ยิงหลัก10 กิโลเมตรขึ้นไป
เห็นยูเครน ยิงปืนใหญ่ เขาใช้พิกัด แม่นมาก
@@ประหยัดคหบดีกนกกุล ของไทยไอ้การคำนวนบนกระดาษแล้วใช้ตัวแก้ต่างๆ ทั้งการหมุนของโลก สภาพอากาศ แรงลม อุณหภูมิ ความกดอากาศ ก็ใช้พิกัดเนี่ยแหละครับ ซึ่งอันนี้คือพื้นฐานที่ต้องเรียนกันให้รู้ แต่พอถึงเวลาจริง มีโปรแกรมคำนวนให้ใช้กันปืนใหญ่ซีซาร์จากฝรั่งเศสที่ไปเฉิดฉายที่เขาพระวิหารเมื่อปี54 ก็ป้อนพิกัดยัดได้เลยเหมือนกัน
พี่ครับ เราสามารถสร้าง แรงโน้มถ่วงเทียมจากแรงหนีสูญกลางในทางทฤษฎี และเชิงปฏิบัตได้ไหมครับ
ฟังแล้วสนุกคิดดีค่ะ ดึงฟิสิกมาหาชีวิตประจำวัน 😊
ตอนผมเรียน ม.4 เรียนวิชากลศาสตร์บทแรก จับกลุ่มติวกับเพื่อน วัตถุมวล m อยู่บนรถมวล M เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a ผมจินตนาการไปว่าจะมีแรงผลักวัตถุมวล m ให้ถอยหลังด้วยแรง F=ma แต่เพื่อนแย้งว่าแรงมันต้องไปในทิศทางเดียวกับความเร่งไม่ใช่หรือ? ตอนนั้นผมอธิบายไม่ได้แต่มั่นในใจว่าต้องคำนวณได้ด้วยสูตรนี้ ต่อมาอีก 2 ปี พวกเราเองเรียกกันว่า "แรงของความเฉื่อย" ซึ่งก็ไม่มีในตำราอีกนั่นแล่ะ ต่อมาเวลาผ่านไป 30 ปีคือวันนี้ ผมก็ได้คำตอบแล้วว่าแรงในจินตนาการของผมเรียกว่า "แรงเทียม" และผมชอบคำว่า Psudo-Force นี้มาก เพราะใช้คำว่า Psudo บ่อย, ขอบคุณมากครับ
Coriolis Force ส่งผลต่อ เมฆ ที่ลอยนิ่งๆ บนพื้นโลก หรือไม่ แล้วให้ผล เมฆ เคลื่อนที่อย่างไร
ค่าพายใช้ทำอะไรครับใช้แปลงเลขฐาน 60 เป็นเลยฐาน 10 รึปล่าวช่วยตอบหน่อยครับ อยากเข้าใจ จะได้ไม่ต้องจำ
ขอบคุณมากนะคะ ชอบฟังมากๆๆค่ะ
ไม่เคยได้ยินตอนเรียน รู้แค่ความเฉื่อย
อยากฟังเรื่องเกี่ยวกับกลศาสตร์ของไหล ครับอาจารย์พอดีผมทำงานอยู่ด้านนี้มาหลายปีแล้ว แต่ไม่เคยรู้ที่ไปที่มาจนเป็นสมการแบร์นูลีให้พวกผมได้ใช้กันขอบพระคุณล่วงหน้าครับ
ลงดึกจังครับ
ซ้อนท้ายมอไซ หล่นเองไม่มีใครทำ มีงี้ด้วย ในทฤษฎีฟิสิก
อาจารย์ครับ ในทางกฏหมาย อุบัติเหตุที่เกิดจากแรงเทียม ต้องได้รับโทษไหมครับ
ต้องไปดู ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 59 ครับ
ต้องดูที่คนขับคนขับมีจุดประสงค์ว่าไงคนขับเห็นผลของการกระทำอยู่แล้วถ้าคนขับมีความต้องการที่จะให้เราตกลงจากรถ แล้วจะทำไงล่ะแล้วมีคนมาบอกว่าคนขับไม่ผิดเพราะเกิดจากแรงเทียมต้องโทษคนผู้โดยสารเพราะมีความเฉื่อยเองฟังดูแล้วมันก็แปลกๆ ไม่ค่อยสมเหตุสมผล มันไม่ค่อยเข้า
@@One-c1u ครับจริงๆผมถาม ติดเล่นเองแหละ ผมก็มองว่า รถคันนั้นทั้งผู้โดยสาร และคนขับ ใครก็ตามที่กระทำกับรถคันนั้น ต้องรับผิดชอบผลกระทบที่เกิดกับคนอื่นๆที่อยู่ในรถคันนั้นด้วยกันหมดครับ
แล้วแรงสปริง จัดเป็นแรงแบบไหนครับ?
แรงกระทำในทางอ้อม ( ไม่ใช่โดยตรง ) แต่มันก็ต้องมีต้นกำเนิดแรงที่จะเอามาใช้ประกอบการเคลื่อนที่ให้กับตัวเทียบปฏิกิริยาของแรงกับวัตถุ ซึ่งในที่นี้ก็คือรถที่วิ่ง ซึ่งเป็นผู้สร้างแรงกระทำทางอ้อม เขาเรียกว่าแรงกระทำแปรผันกระทบต่อแรงเฉื่อยของมวล ( แรงเทียมซึ่งไม่ได้ทำการขับเคลื่อนต่อวัตถุนั้นโดยตรง ) แต่มันเป็นแรงที่สื่อสารกันระหว่างวัตถุสองสิ่งที่อยู่บนภาคของการเคลื่อนที่เดียวกันจะด้วยอันไหนเป็นฝ่ายเคลื่อนที่ก็ตามถ้าค่าศักดาของแรงยึดที่เกิดขึ้นของฝ่ายที่ไม่ใช่ฝ่ายเคลื่อนที่นั้นมีมากกว่าจะด้วยเพราะขนาดหรือน้ำหนักของมันก็ตาม ปรากฏการณ์ของแรงเทียมที่เกิดจากอีกฝ่ายก็จะแปรผันไปตามค่าที่ไม่สามารถผันแปรของวัตถุนั้นที่มีทั้งขนาดและน้ำหนักที่ขัดกับปัจจัยของค่าแปรผันของแรงเทียม ซึ่งแรงกระทำของการผลักให้วัตถุเคลื่อนที่ตามการเคลื่อนที่ของมันจะไม่พอเพียงและจะไม่สามารถที่จะทำให้วัตถุนั้นมันเคลื่อนออกไปตามแรงเฉื่อยของมันได้ เช่นเอาผ้าชุบอะไรที่เหนียวมากๆมีแรงยึดเกาะผ้าสูงๆแทนการชุบน้ำแล้วไปเหวี่ยงในเครื่องปั่นแห้ง หรือเอาแท่งเหล็กหนักหลายๆตันไปวางไว้บนรถเมล์แล้วให้วิ่งกระชาก มันจะไม่เกิดผลอะไรถ้าปัจจัยของแรงต้นของการเคลื่อนที่มันมีไม่เพียงพอ
ทฤษฎีสัมพันธภาพ
สนุกมากครับ อาจารย์
ช่วงนี่ผมโดนเล่าเรื่องไสยศาสตร์บอยผมไม่เชื่อแต่กลัวว่าจะมีจริงทำไม??
สรุปแล้ว แรง G กับ แรงเทียมเหมือนกันใช่มั้ยอาจารย์ เพราะเหมือนว่าแรงเทียมที่อาจารย์พูดมา มันเหมือนเป็นแรง G นะครับ
ใช่ก็ใช่
ใช่แน่เหรอ มันคือการวัดของกรอบที่แตกต่างกันหนิ เช่น ชั่งน้ำหนักในลิฟต์ที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง คนในลิฟต์ไม่รู้ตัวว่าตนเคลื่อนที่ดังนั้นทำให้เกิดการคำนวณที่แตกต่างจากคนบนพื้น ผมยังสงใสว่าคนทำคลิปบอกว่าการยิงปืนใหญ่ข้ามทวีปจะต้องคำนวณเรื่องนี้ไปด้วย ถ้าเราใช้การวัดและการคำนวณโดยกฎของนิวตันบนโลก ไม่ใช่นอกโลก จะคิดแรงหลอกทำไม ?? เว้นแต่เราจะวิเคราะห์จากนอกโลก สงใสมากๆ
มันเหมือนผักกะผลไม้ต่างกันยังไงแหละ ต่างก็ต่างไม่ต่างก็ไม่ต่าง ได้หมด
แรงgไม่ใช่แรงกระทำตรงๆตามนิยามเขา แรงgก็แรงเทียมเลย
@@เทพพยากรณ์-อ8ฟ มีประเด็นเพียงแต่เคสเดียวซึ่งผมลืมนึกไป คือเคสแรงโน้มถ่วงที่วัดไม่ได้เท่ากันในแต่ละแห่งซึ่งเกิดจากการหมุนของโลก ซื่งแรงดึงดูดระหว่างมวลมีค่าเดียวเสมอ(G) แต่แรงโน้มถ่วงในนิยามที่คุณจะกล่าวคือแรงดึงดูดระหว่างมวลที่ตำแหน่งหนึ่งกับแรงจากกรอบอ้างอิง(g) แต่ถ้าเราจะเอาละเอียดขนาดนั้นเลยเหรอ ไม่ได้อยู่วงการทหารจึงไม่ทราบว่ามีผลมากไหม แต่จะคิดแบบนั้นก็ได้
ชอบ ครับ 👍
มันคือแรงปฏิกิริยาไม่ใช่หรือครับ
แรงหนีจุด0กลาง
ผมเข้าใจผิดมาตลอด ว่าน้ำออกจากผ้าเพราะแรงหนีศูนย์กลาง😅
ดังนั้น:. เปลือกโลกก็มีแรงเทียมเมื่อเทียบกับแกนโลก
ติดตามครับ แต่อาจเป็นประโยชน์กับแฟนๆ The standard podcast ด้วยนะครับอาจารย์ แล้วเรื่องนี้ส่งผลกับจรวด ICBM อย่างไรบ้างครับอาจารย์
ชอบที่อาจารย์เปรียบเทียบ มันทำให้เข้าใจมากขึ้น แต่ฟังแล้ว เหมือนจะเข้าใจ😅รู้สึกแรงเทียมมันขัดแย้งกับหลัก"เหตุและผล"ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดแต่เหตุ อยู่ๆมันเกิดขึ้นเอง โดยไม่มี(เหตุ)คู่กรณี ฟังดูแปลกๆ เมื่อหาเหตุไม่ได้ ก็ไม่ต่างอะไรกับไสยศาสตร์ ?
เกิดจากกรอบอ้างอิงหรือเปล่าครับ แรงหลอกหรือแรงเทียมเกิดจากการวัดของคนบนกรอบอ้างอิงที่แตกต่างกัน มอปลายเราเรียนการชั่งน้ำหนักบนลิฟต์ที่ขึ้นด้วยความเร่งมาแล้วครับ หลายคนมองว่าแรงปฎิกิยาที่พื้นเปลี่ยนไปแต่จริงๆคนสองกรอบวัดแรงปฎิกิริยาที่พื้นได้ต่างกัน คนบนพื้นจะเห็นว่าลิฟต์เคลื่นที่ดังนั้นแรงปฎิกิริยาที่พื้นของคนบนพื้นจะแตกต่างกับคนบนลิฟต์ที่ไม่รู้ตัวว่าเคลื่อนที่ แต่เมื่อเอาค่าแรงปฎิกิริยาทั้งสองมาลบกันเราจะได้ว่าแรงจากลิฟต์ที่ทำให้คนทั้งสองวัดแรงปฎิกิริยาที่พื้นได้แตกต่างกัน แรงหลอกเกิดจากคนบนลิฟต์ที่ไม่รู้ตัวว่าเคลื่อนที่ทำให้กฎของนิวตันหรือการคำนวณต่างๆนั้นแตกต่างจากคนที่อยู่บนกรอบพื้น
@@TheMoonho ขออนุญาตแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมจากคุณ@user-by1ue1hf5y ว่า จริงๆแล้วด้านหนึ่งอาจจะมองได้ตามที่คุณ user มองเลย และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันก็มองได้ตามที่อาจารย์มอง ทั้งสองทางไม่ได้ผิดอะไรเนื่องจากเป็นการมองคนละด้านคนละมุม อย่างที่คุณ @TheMoonho ได้แสดงความคิดเห็นตอบกลับคุณ user เอาไว้ แต่ที่เราอยากจะเพิ่มเติมคือ การบอกว่าเป็นแรงเทียม หรืออนุภาคเสมือน หรืออะไรก็ตามที่นักวิทยาศาสตร์หยิบขึ้นมาลอยๆที่ฟังดูแล้วไม่มีที่มาที่ไป แต่ถ้ามองตามที่คุณ themoon ก็จะเห็นได้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างมันมีคำตอบอยู่ในตัวของมันเองอยู่แล้ว ซึ่งนี่คือ กับดักของความรู้และความไม่รู้ที่มีความต่อเนื่องและความไม่ต่อเนื่องระหว่างพลังงานคลาสสิกและพลังงานควอนไตซ์ ที่ด้านหนึ่งนักวิทยาศาสตร์หยิบยกเอาแรงเทียม อนุภาคเสมือนหรืออื่นๆขึ้นมาจากความว่างเปล่าก็เพื่อที่จะสนับสนุนการมีอยู่ของข้อมูลหลัก พูดง่ายๆคือ เอาง่ายและเห็นผลเร็วเข้าว่าโดยไม่จำเป็นต้องไปค้นหาต้นขั้วของแรงเทียมหรืออนุภาคเสมือนเหล่านั้นเมื่อนักวิทยาศาสตร์พูดคนก็จะเชื่อตามนั้นโดยความเชื่อที่ว่านี้ดันมีข้อมูลที่ตามที่คุณ themoon แสดงความคิดเห็นเอาไว้มาสนับสนุนความเชื่อนั้นของนักวิทยาศาสตร์เข้าไปอีกจึงทำให้ทุกคนทุกท่านต่างก็ติดกับดักข้อมูลข้อมูลทั้งสองด้าน นี่คือสาเหตุหลักที่ทำให้ไม่มีใครเข้าถึงพลังงานลบที่มีการซ้อนทับและพัวพันกันอยู่ภายใต้พลังงานบวกอย่างแนบเนียนจนเป็นเนื้อเดียวกันหรืออยู่ภายใต้ข้อมูลทั้งสามด้านหรือที่อาจารย์บอกมันเรียกแรงเทียม ที่คุณ user บอกว่า ไม่ต่างอะไรกับไสยศาสตร์ และตามข้อมูลที่คุณ themoon ตอบกลับ ทั้งสามส่วนนี้ต่างก็อยู่ภายใต้พลังงานบวกที่มีความต่อเนื่อง ที่เมื่อนำทั้งหมดมารวมเข้าด้วยกันก็จะเห็นได้ว่า มันมีคำตอบอยู่ภายในตัวของมันเองอยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่มีใครให้ความสนใจไปค้นคว้าที่มาที่ไปของแรงเทียมหรืออนุภาคเสมือนให้ลึกซึ้งมากขึ้นไปอีก ซึ่งการจะเข้าถึงที่มาที่ไปของแรงเทียมหรืออนุภาคเสมือนก็เปรียบได้กับการเดินเข้าไปในไสยศาสตร์หรือความไม่รู้ไปสู่ความรู้ที่อยู่อีกด้านหนึ่งหรือก็คือการค้นพบพลังงานลบที่สามารถให้คำตอบที่ครอบวงจรและน่าเชื่อถือมากกว่าการหยิบยกขึ้นมาลอยๆที่ด้านหนึ่งอาจมองดูเหมือนจะเติมเต็มข้อมูลหลักได้ แต่จริงๆแล้วก็ยังไม่มีใครรู้ที่มาที่ไปที่แน่นอนอยู่ดี ง่ายและเร็วไม่ได้ดีเสมอไป ยากและช้าก็ไม่ได้แย่เสมอไป ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนมีสองด้านคือ ด้านที่มีความต่อเนื่องและไม่มีความต่อเนื่อง และด้านที่ไม่มีความต่อเนื่องและมีความต่อเนื่อง ทั้งสองส่วนนี้เป็นการแสดงคุณสมบัติระหว่างอนุภาคและคลื่นที่ด้านที่อยู่ภายใต้พลังงานบวกที่มีนักฟิสิกส์ออกมาบอกว่า จะไม่แสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกัน แต่อีกด้านหนึ่งที่อยู่ภายใต้พลังงานลบ (ที่เราค้นพบ) จะมีการแสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกัน ที่ต่อมาเราก็ไปพบข่าวที่บอกว่า นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า เวลามีการเดินและถอยหลังพร้อมกันกัน
@@CasperWee ขออนุญาติถาม พลังงานลบนิยามจากอะไร พลังงานบวกนิยามจากอะไร พลังงานลบทำให้วัตถุเคลื่อนไปในทิศทางใดของความเร่ง หรือพลังงานลบถูกนิยามโดยอย่างอื่น ยกตัวอย่างพลังงานลบมาให้ดูหน่อย ถ้าบอกว่าแรงเทียมเกิดมาลอยๆหรือไม่มีที่มาที่ไปจงอธิบายว่าวัตถุที่อยู่บนกรอบอ้างอิงที่ความเร็วคงที่ทำไมจึงไม่ได้รับแรงเทียม เงื่อนไขและที่มาของแรงเทียมน่าจะชัดเจนว่าจะได้รับหรือเกิดขึ้นต่อเมื่อมีกรอบอ้างอิงที่มีความเร่งหนิ หรือแรงเทียมสามารถเกิดจากกรอบอ้างอิงอื่นๆได้ ดังนั้นถ้าเราจะติต่างเอาว่าแรงเทียมมันเกิดขึ้นมาจากกรอบอ้างอิงก็ถูกละหนิ หรือมีการนิยามแรงเทียมเอาไว้ในรูปแบบอื่นๆด้วย ยกตัวอย่างแรงเทียมที่เกิดในรูปแบบอื่นๆมาหน่อยครับ
@@TheMoonho ถ้าหากมองตามกายภาพภายนอกของความเร่งและความเฉื่อยแล้วคุณจะเห็นว่าสองอย่างนี้อยู่ในกรอบอ้างอิงที่แตกต่างกัน หรือเป็นเหรียญคนละเหรียญกันที่เป็นไปตามทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ พิจารณาเฉพาะข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องกับแรง (ความเร่ง) และทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไป ขยายขอบเขตการพิจารณารวมถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรง (ความเร่ง) ของไอน์สไตน์ แต่ถ้าหากมองตามกฎพื้นฐานของฟิสิกส์ที่เรียกว่า CPT Symmetry หรือหลักการสมมาตรของประจุ อนุภาค และเวลา ที่จะต้องมีคู่ตรงข้ามอยู่เสมอ จะเห็นได้ว่าเราสามารถมองว่าความเร่งและความเฉื่อยเป็นเหมือนเหรียญคนละเหรียญหรือเป็นสองด้านของเหรียญเดียวกันก็ได้แล้วแต่คนจะมอง แต่หลักการเติมเต็มบอกว่า การมองว่าเป็นอนุภาคหรือคลื่นอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่สามารถทำให้ระบบความรู้ความเข้าใจของคนเราเกิดมีความสมบูรณ์ได้ เราจำเป็นต้องมองให้เห็นทั้งสองทางคือ ทั้งความเร่งและความเฉื่อย และทั้งความเร่งที่มีความเฉื่อยอยู่ หรือความเฉื่อยที่มีความเร่งอยู่ และมองให้เห็นความเป็นอนุภาค-คลื่น หรือคลื่น-อนุภาคที่ซ่อนอยู่ภายใต้ความเร่งและความเฉื่อย ที่มันจะบอกคุณโดยตัวของมันเองว่าขณะนี้มันกำลังแสดงคุณสมบัติด้านใดและกำลังไปในทิศทางใด เป็นพลังงานลบหรือพลังงานบวก แต่คุณจำเป็นต้องรู้รหัสที่จะเข้าถึงการแสดงคุณสมบัติเหล่านั้น หรือทางที่ง่ายกว่าก็คือเข้าทาง โปรตอนกับปฏิโปรตอน (บวกลบ) อิเล็กตรอนกับโพซิตรอน (ลบบวก)ยกตัวอย่างพลังงานลบมาให้ดูหน่อย จริงๆแล้วในคำถามนี้จะมีทั้งพลังงานลบและพลังงานบวกอยู่สองส่วนในตัวคำถามเองคือ มีทั้งพลังงานลบและพลังงานบวกเท่าๆกันและไม่เท่ากัน แล้วคนที่ให้คำตอบกับคุณได้ดีที่สุดว่าคุณกำลังอยู่ในพลังงานบวกหรือพลังงานลบในตอนนี้ก็คือตัวคุณเอง แต่ที่แน่ๆคือคุณไม่ได้อยู่ภายใต้พลังงานลบและพลังงานบวกที่มีเท่ากัน แต่คุณอยู่ด้านที่ไม่เท่า ซึ่งทำให้คุณเกิดมีคำถาม และเกรงว่าคำตอบของเราจะพาคุณเข้าสู่โลกควอนตัมที่มีความยุ่งเหยิง มากกว่าที่จะพาคุณกลับเข้าสู่โลกคลาสสิก ต้องขออภัยมาณ.ที่นี้ด้วย
@@CasperWee ไม่เห็นภาพอยู่ดี และไม่เข้าใจ พลังงานด้านลบไม่แน่ใจว่าที่กล่าวคืออะไร ความเฉื่อยที่กล่าวคือมวลหรือความเร่ง ยิ่งอ่านยิ่งทำผมสับสน มวลจะอยู่คนละกรอบกับความเร่งเหรอ แล้วจะมาคิดด้วยกันทำไมถ้ามวลไม่เข้ามาในกรอบของความเร่ง ไม่มีวิธีการอธิบายที่ง่ายและสั้นกว่านี้แล้วเหรอครับ ในกลศาสตร์คลาสสิกพลังงานมีค่าเป็นลบคือวัตถุจะเคลื่อนที่สวนทางกับความเร่ง ในทางควอนตัมผมไม่ได้แม่นมากจึงไม่ขอเข้าไปยุ่ง แต่ถ้าการอธิบายแรงหลอกรวมถึงพลังงานถูกนิยามในคลาสสิกกับควอนตัมแตกต่างกันผมคงแย้งไม่ได้ แต่คำถามคงมีอยู่ว่าทำไมไม่นิยามศัพท์ใหม่ หรือมีการพิสูจน์แล้วว่าคลาสสิกที่ใช้คือส่วนหนึ่งเท่านั้นซึ่งเกิดคำถามว่าวัตถุในคลาสสิกทำไมไม่ประพฤติตัวแบบในควอนตัม
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับจารย์
นึกว่าโดน the stand ซื้อตัวไปแล้ว
ลงคลิปอาทิตละครังได้ไหมครับ ❤
ไหนๆอาจารย์มาเรื่องแรงเทียมแล้ว อยากให้อาจารย์ขยายความฉาก Docking ของ Interstellar หน่อยครับปล.เป็นฉากที่ผมชอบที่สุดในหนังเรื่องนี้ครับ 😁😁😁
❤❤❤❤
งง
อยาก donate ครับ ❤
เหมือนแรงเฉื่อย
👍
🎉
เม้นแรกครับ
วิท ป.3 ป่าวจาน
รู้จักแรงเทียมครั้งแรกจาก WiTcast นี่แหละครับ ตอนสัมภาษณ์พี่ยอ
ได้ความรุ้ดีคัฟ
พี่ป๋องแป๋งโกนหนวดยังไงบ้างคะ ทำไมมันเกลี้ยงเกลาได้ขนาดนี้
ตอนเรียนฟิสิกส์ม.ปลาย 3 ปี จำไม่ได้เลยครับว่ามีคำว่าแรงเทียมด้วย เหมือนพึ่งเคยได้ยินนี่แหละ 😅
ได้เรียนการชั่งน้ำหนักบนลิฟต์หรือเปล่าครับ ข้อสอบpatออกประจำแรงเทียม เช่น ปล่อยกล่องจากพื้นเอียงถามความเร็วของพื้นเอียง สปริงในลิฟต์ การวัดเพนดูลัมบนรถที่เคลื่อนที่ ถ้าคุณไม่ได้เรียนถือว่าขาดทุนต้องโทษครูที่สอนไม่ดีหรือข้ามการสอนเนื้อหาในส่วนนี้ไป เว้นแต่คุณจะไม่ใช่สายวิทย์
@@TheMoonho รุ่นสอบ Entrance ครับ ไม่เคยเจอคำว่าแรงเทียม แต่คุ้นๆคำว่าแรงเสมือน ซึ่งก็นานมากจนเกือบลืมคำนี้ไปแล้วถ้าไม่มาเจอคำว่าแรงเทียม 😆
@@nvttatrieampanich1592 อ้อครับ เกิดไม่ทันยุคนั้นครับเลยไม่ทราบเขาเรียกอะไรหรือเรียนไหม แต่แอบตกใจกลัวว่าขาดทุนทำข้อสอบไม่ได้เพราะไม่เคยเรียน มันกำหนดอนาคตเลย ที่เรียนพิเศษย้ำประจำเลยคิดว่าไม่เคยแต่ต้องคุ้นบ้างเพราะมันออกสอบติดกันมาช่วงสองสามปีในรุ่นที่ผมสอบล่ะครับ ตอนนี้ไม่ทราบข้อสอบเป็นไงครับ ผมสอบ pat2 pat3 มั้ง ข้อสอบวิชาสามัญก็เคยออกครับ onet ก็มีบางปีแต่ไม่บ่อย มันเลยถูกเน้นย้ำแบบพิเศษใส่ไข่เลย
@@TheMoonhoโห pat onet เลยหรือครับ
นี่เอ็นทรานซ์รุ่นก่อนสุดท้าย ไม่ทันจริงๆ
แต่คุ้นๆ ว่ามีแรงเทียม
@@wongtong8735 ครับ สมัยนี้ออกลึก ผมไปค้นจากที่ผมโหลดเก็บไว้มาให้
onetปี60
วิชาสามัญ ธ.ค.59
วิชาสามัญ ธ.ค.58
วิชาสามัญ ธ.ค.57
Pat3 ต.ค. 52
Pat3 มี.ค. 52
Pat2 มี.ค. 53
Pat3 ต.ค. 59
เริ่มเวียนหัวละต้องไล่ดูทีละข้อ เผื่อตัวผมผิดเลยไปลองค้นดูครับว่าออกจริงหรือผมมโนไปเอง ได้ข้อมูลเท่าที่รับุ ผมขอพอแค่นี้นะครับ ต้นไหทไหวละ ห้าๆๆ
สงสัยมานานดูคลิปนี้แล้วเข้าใจเลย❤
1:52 เหมือนเรากำลังทำให้ลูกปิงปองยังอยู่บนไม้ปิงปองที่เราขยับสวนทางของวัตถุ(ลูกปิงปอง)ให้มันอยู่ตรงศูนย์กลางที่เราพยายามให้มันอยู่ศูนย์กลาง น่าจะประมาณนั้นแรงที่กระทำต่อลูกปิงปองคือมือ(จุดเริ่มแรง)และจุดเริ่มต้นของแรงกระทำคืออะไรนั่นก็ขึ้นอยู่กับวัตถุ(วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาคืออนุภาคที่ดึงดูดกันและกันเสมอ)🙏💖🇹🇭☯️☸️🌏🌈♾️🚴♂️🚴♂️🚀🚀🦋🦋
ระยะทางในการเดินและทฤษฎีวิวัฒนาการทั้งเอกภพและสิ่งมีชีวิตยังไงมันก็เคลื่อนที่🚴♂️🦋
อยากให้ไปเล่าให้พี่ฟ่างฟัง
สไตเปอร์ก็ต้องใช้หลักนี้ครับ
อาจารย์ครับ ไอสไตร์บอกว่าพระพุทธเจ้าเห็น คืออะไรครับ
โลกหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราความเร็วเชิงเส้น 1667 กม./ชม. หรือ~463 ม/นาที ณ แนวเส้นศูนย์สูตรหรือแนวเส้นรุ้ง 0 องศา แต่ที่่แนวเส้นรุ้งสูงขึ้นความเร็วเชิงเส้นจะน้อยลงไปเรื่อยๆ
สรุปทั้งหมดทั้งมวล มีแค่ความสัมพันธ์ระหว่างแรงเฉื่อยกับความเร่งแค่นั้น แรงเทียมไม่มีจริงซักนิด เพราะถ้าสืบต้นตอจริงๆ มันก็เกิดจากแรงแค่สองอย่างนี้เท่านั้น ส่วนแรงเทียมที่ว่าดังๆอย่าง อย่างcentifulgel มันก็เกิดจากความเร่งที่มีทิศทางมากกว่า1กระทำต่อวัตถุ จึงเกิดปรากฎการณ์ง่ายๆอย่าง action=reactionแบบเชิงมุม
ถ้าหากเรากระโดดลอยตัวบนอากาศได้นาน 24 ชั่วโมงและโลกในจุดทึ่เรากระโดดขึ้นอยู่ก็หมุนไปหนึ่งรอบครบ 24 ชั่วโมงเราก็ตกลงมาเราก็อยู่ที่เดิมใช่ไหมครับ
กิน(กระ)เทียมแล้วมีแรง..เลยเรัยกแรง(กระ)เทียม😂😂
ผมติดตามทุกEp. ใดๆในโลกล้วนฟิสิกส์
นำเสนอได้น่าสนใจดีครับ
คิดถึงมากเลยครับ จารป๋องแป๋ง เริ่มกลับมาทำคลิปแล้วหรอครับ ผมชอบฟังคลิปในช่องพี่ป๋องแป๋งมากๆๆมากๆๆๆๆ
มีผู้รู้ในคอมเมนต์เยอะมากเลย😁😁😁
ฟังแล้วคิดตาม โครตสนุกครับ
ผมสนใจอยากจะคุยเรื่องงทนกับคุณ
ฟังเพลินมาก แล้วก็มีการตัดต่อคลิปที่ดีขึ้นด้วยค่ะ
อยากฟังเรื่อง coriolis effect เพิ่มครับ
ผมอยากฟังนเ้ำขึ้นนเำลงทำไมถึงดุดน้ำได้
การปั่นผ้า ไม่ใช่แรงหนีศูนย์กลางเหรอครับ
ใช่นะ แต่ตอนที่น้ำหลุดจากผ้าจะเป็นแรงเทียม(ตามนิยามเขานะ)
แรงหนีศูนย์กลางไม่มีจริงไม่ใช่เหรอ มีแต่แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง แรงหนีดังกล่าวเกิดจากกรอบอ้างอิงที่น้ำบนผ้าได้รับจากการหมุน เคสที่ให้เห็นง่ายสุดคือคุณเอากล่องมาซ้อนกันแล้วลากกล่องล่างด้วยความเร่ง กล่องบนจะเคลื่อนที่ถอยหลัง หรือถ้าเรามีกล่องแข็งแล้วนำกล่องอีกใบใส่เข้ามาแล้วลาก ตอนเคลื่อนที่ด้วยความเร่งกล่องทั้งสองจะติกกันไปโดนกล่องอีกใบจะติดกับผนังกล่องที่เป็นกรอบอ้างอิง เมื่อกรอบอ้างอิงหยุดกะทันหัน กล่องในกรอบอ้างอิงจะเคลื่อนไปข้างหน้า แรงหลอกเกิดจากกรอบอ้างอิงทั้งสิ้น
รู้จักแต่ครูเทียม
แรงเทียม เกิดจากการที่กินกระเทียมเข้าไปมาก แล้วไม่ได้แปรงฟันบ้วนปาก ทำให้เวลาไปคุยกับใครต่างก็ได้กลิ่นกระเทียมจากช่องปากแล้วต่างก็บอกว่า แรงเทียมนะเนี่ย
โบซแบบไครัล คืออะไรครับ
อยากให้อาจารย์อธิบายเรื่องแรงที่ 5 ครับ
สำหรับทางทหารในการคำนวนการยิงปืนใหญ่ มีการใส่ตัวแก้จากการหมุนของโลกอยู่ครับ ถึงจะเป็นเลขหลักทศนิยม แต่ก็มีผลต่อการคำนวนมุมยิงอยู่บ้าง สำหรับปืนใหญ่ที่ยิงหลัก10 กิโลเมตรขึ้นไป
เห็นยูเครน ยิงปืนใหญ่ เขาใช้พิกัด แม่นมาก
@@ประหยัดคหบดีกนกกุล ของไทยไอ้การคำนวนบนกระดาษแล้วใช้ตัวแก้ต่างๆ ทั้งการหมุนของโลก สภาพอากาศ แรงลม อุณหภูมิ ความกดอากาศ ก็ใช้พิกัดเนี่ยแหละครับ ซึ่งอันนี้คือพื้นฐานที่ต้องเรียนกันให้รู้ แต่พอถึงเวลาจริง มีโปรแกรมคำนวนให้ใช้กัน
ปืนใหญ่ซีซาร์จากฝรั่งเศสที่ไปเฉิดฉายที่เขาพระวิหารเมื่อปี54 ก็ป้อนพิกัดยัดได้เลยเหมือนกัน
พี่ครับ เราสามารถสร้าง แรงโน้มถ่วงเทียมจากแรงหนีสูญกลางในทางทฤษฎี และเชิงปฏิบัตได้ไหมครับ
ฟังแล้วสนุกคิดดีค่ะ ดึงฟิสิกมาหาชีวิตประจำวัน 😊
ตอนผมเรียน ม.4 เรียนวิชากลศาสตร์บทแรก จับกลุ่มติวกับเพื่อน วัตถุมวล m อยู่บนรถมวล M เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a ผมจินตนาการไปว่าจะมีแรงผลักวัตถุมวล m ให้ถอยหลังด้วยแรง F=ma แต่เพื่อนแย้งว่าแรงมันต้องไปในทิศทางเดียวกับความเร่งไม่ใช่หรือ? ตอนนั้นผมอธิบายไม่ได้แต่มั่นในใจว่าต้องคำนวณได้ด้วยสูตรนี้ ต่อมาอีก 2 ปี พวกเราเองเรียกกันว่า "แรงของความเฉื่อย" ซึ่งก็ไม่มีในตำราอีกนั่นแล่ะ ต่อมาเวลาผ่านไป 30 ปีคือวันนี้ ผมก็ได้คำตอบแล้วว่าแรงในจินตนาการของผมเรียกว่า "แรงเทียม" และผมชอบคำว่า Psudo-Force นี้มาก เพราะใช้คำว่า Psudo บ่อย, ขอบคุณมากครับ
Coriolis Force ส่งผลต่อ เมฆ ที่ลอยนิ่งๆ บนพื้นโลก หรือไม่ แล้วให้ผล เมฆ เคลื่อนที่อย่างไร
ค่าพายใช้ทำอะไรครับ
ใช้แปลงเลขฐาน 60 เป็นเลยฐาน 10 รึปล่าว
ช่วยตอบหน่อยครับ อยากเข้าใจ จะได้ไม่ต้องจำ
ขอบคุณมากนะคะ ชอบฟังมากๆๆค่ะ
ไม่เคยได้ยินตอนเรียน รู้แค่ความเฉื่อย
อยากฟังเรื่องเกี่ยวกับกลศาสตร์ของไหล ครับอาจารย์
พอดีผมทำงานอยู่ด้านนี้มาหลายปีแล้ว แต่ไม่เคยรู้ที่ไปที่มาจนเป็นสมการแบร์นูลีให้พวกผมได้ใช้กัน
ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ
ลงดึกจังครับ
ซ้อนท้ายมอไซ หล่นเองไม่มีใครทำ มีงี้ด้วย ในทฤษฎีฟิสิก
อาจารย์ครับ ในทางกฏหมาย อุบัติเหตุที่เกิดจากแรงเทียม ต้องได้รับโทษไหมครับ
ต้องไปดู ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 59 ครับ
ต้องดูที่คนขับ
คนขับมีจุดประสงค์ว่าไง
คนขับเห็นผลของการกระทำอยู่แล้ว
ถ้าคนขับมีความต้องการที่จะให้เราตกลงจากรถ แล้วจะทำไงล่ะ
แล้วมีคนมาบอกว่าคนขับไม่ผิด
เพราะเกิดจากแรงเทียม
ต้องโทษคนผู้โดยสารเพราะมีความเฉื่อยเอง
ฟังดูแล้วมันก็แปลกๆ ไม่ค่อยสมเหตุสมผล มันไม่ค่อยเข้า
@@One-c1u ครับจริงๆผมถาม ติดเล่นเองแหละ ผมก็มองว่า รถคันนั้นทั้งผู้โดยสาร และคนขับ ใครก็ตามที่กระทำกับรถคันนั้น ต้องรับผิดชอบผลกระทบที่เกิดกับคนอื่นๆที่อยู่ในรถคันนั้นด้วยกันหมดครับ
แล้วแรงสปริง จัดเป็นแรงแบบไหนครับ?
แรงกระทำในทางอ้อม ( ไม่ใช่โดยตรง ) แต่มันก็ต้องมีต้นกำเนิดแรงที่จะเอามาใช้ประกอบการเคลื่อนที่ให้กับตัวเทียบปฏิกิริยาของแรงกับวัตถุ ซึ่งในที่นี้ก็คือรถที่วิ่ง ซึ่งเป็นผู้สร้างแรงกระทำทางอ้อม เขาเรียกว่าแรงกระทำแปรผันกระทบต่อแรงเฉื่อยของมวล ( แรงเทียมซึ่งไม่ได้ทำการขับเคลื่อนต่อวัตถุนั้นโดยตรง ) แต่มันเป็นแรงที่สื่อสารกันระหว่างวัตถุสองสิ่งที่อยู่บนภาคของการเคลื่อนที่เดียวกันจะด้วยอันไหนเป็นฝ่ายเคลื่อนที่ก็ตามถ้าค่าศักดาของแรงยึดที่เกิดขึ้นของฝ่ายที่ไม่ใช่ฝ่ายเคลื่อนที่นั้นมีมากกว่าจะด้วยเพราะขนาดหรือน้ำหนักของมันก็ตาม ปรากฏการณ์ของแรงเทียมที่เกิดจากอีกฝ่ายก็จะแปรผันไปตามค่าที่ไม่สามารถผันแปรของวัตถุนั้นที่มีทั้งขนาดและน้ำหนักที่ขัดกับปัจจัยของค่าแปรผันของแรงเทียม ซึ่งแรงกระทำของการผลักให้วัตถุเคลื่อนที่ตามการเคลื่อนที่ของมันจะไม่พอเพียงและจะไม่สามารถที่จะทำให้วัตถุนั้นมันเคลื่อนออกไปตามแรงเฉื่อยของมันได้ เช่นเอาผ้าชุบอะไรที่เหนียวมากๆมีแรงยึดเกาะผ้าสูงๆแทนการชุบน้ำแล้วไปเหวี่ยงในเครื่องปั่นแห้ง หรือเอาแท่งเหล็กหนักหลายๆตันไปวางไว้บนรถเมล์แล้วให้วิ่งกระชาก มันจะไม่เกิดผลอะไรถ้าปัจจัยของแรงต้นของการเคลื่อนที่มันมีไม่เพียงพอ
ทฤษฎีสัมพันธภาพ
สนุกมากครับ อาจารย์
ช่วงนี่ผมโดนเล่าเรื่องไสยศาสตร์บอยผมไม่เชื่อแต่กลัวว่าจะมีจริงทำไม??
สรุปแล้ว แรง G กับ แรงเทียมเหมือนกันใช่มั้ยอาจารย์ เพราะเหมือนว่าแรงเทียมที่อาจารย์พูดมา มันเหมือนเป็นแรง G นะครับ
ใช่ก็ใช่
ใช่แน่เหรอ มันคือการวัดของกรอบที่แตกต่างกันหนิ เช่น ชั่งน้ำหนักในลิฟต์ที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง คนในลิฟต์ไม่รู้ตัวว่าตนเคลื่อนที่ดังนั้นทำให้เกิดการคำนวณที่แตกต่างจากคนบนพื้น ผมยังสงใสว่าคนทำคลิปบอกว่าการยิงปืนใหญ่ข้ามทวีปจะต้องคำนวณเรื่องนี้ไปด้วย ถ้าเราใช้การวัดและการคำนวณโดยกฎของนิวตันบนโลก ไม่ใช่นอกโลก จะคิดแรงหลอกทำไม ?? เว้นแต่เราจะวิเคราะห์จากนอกโลก สงใสมากๆ
มันเหมือนผักกะผลไม้ต่างกันยังไงแหละ ต่างก็ต่างไม่ต่างก็ไม่ต่าง ได้หมด
แรงgไม่ใช่แรงกระทำตรงๆตามนิยามเขา แรงgก็แรงเทียมเลย
@@เทพพยากรณ์-อ8ฟ มีประเด็นเพียงแต่เคสเดียวซึ่งผมลืมนึกไป คือเคสแรงโน้มถ่วงที่วัดไม่ได้เท่ากันในแต่ละแห่งซึ่งเกิดจากการหมุนของโลก ซื่งแรงดึงดูดระหว่างมวลมีค่าเดียวเสมอ(G) แต่แรงโน้มถ่วงในนิยามที่คุณจะกล่าวคือแรงดึงดูดระหว่างมวลที่ตำแหน่งหนึ่งกับแรงจากกรอบอ้างอิง(g) แต่ถ้าเราจะเอาละเอียดขนาดนั้นเลยเหรอ ไม่ได้อยู่วงการทหารจึงไม่ทราบว่ามีผลมากไหม แต่จะคิดแบบนั้นก็ได้
ชอบ ครับ 👍
มันคือแรงปฏิกิริยาไม่ใช่หรือครับ
แรงหนีจุด0กลาง
ผมเข้าใจผิดมาตลอด ว่าน้ำออกจากผ้าเพราะแรงหนีศูนย์กลาง😅
ดังนั้น:. เปลือกโลกก็มีแรงเทียมเมื่อเทียบกับแกนโลก
ติดตามครับ แต่อาจเป็นประโยชน์กับแฟนๆ The standard podcast ด้วยนะครับอาจารย์ แล้วเรื่องนี้ส่งผลกับจรวด ICBM อย่างไรบ้างครับอาจารย์
ชอบที่อาจารย์เปรียบเทียบ มันทำให้เข้าใจมากขึ้น แต่ฟังแล้ว เหมือนจะเข้าใจ😅
รู้สึกแรงเทียมมันขัดแย้งกับหลัก"เหตุและผล"ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดแต่เหตุ อยู่ๆมันเกิดขึ้นเอง โดยไม่มี(เหตุ)คู่กรณี ฟังดูแปลกๆ เมื่อหาเหตุไม่ได้ ก็ไม่ต่างอะไรกับไสยศาสตร์ ?
เกิดจากกรอบอ้างอิงหรือเปล่าครับ แรงหลอกหรือแรงเทียมเกิดจากการวัดของคนบนกรอบอ้างอิงที่แตกต่างกัน มอปลายเราเรียนการชั่งน้ำหนักบนลิฟต์ที่ขึ้นด้วยความเร่งมาแล้วครับ หลายคนมองว่าแรงปฎิกิยาที่พื้นเปลี่ยนไปแต่จริงๆคนสองกรอบวัดแรงปฎิกิริยาที่พื้นได้ต่างกัน คนบนพื้นจะเห็นว่าลิฟต์เคลื่นที่ดังนั้นแรงปฎิกิริยาที่พื้นของคนบนพื้นจะแตกต่างกับคนบนลิฟต์ที่ไม่รู้ตัวว่าเคลื่อนที่ แต่เมื่อเอาค่าแรงปฎิกิริยาทั้งสองมาลบกันเราจะได้ว่าแรงจากลิฟต์ที่ทำให้คนทั้งสองวัดแรงปฎิกิริยาที่พื้นได้แตกต่างกัน แรงหลอกเกิดจากคนบนลิฟต์ที่ไม่รู้ตัวว่าเคลื่อนที่ทำให้กฎของนิวตันหรือการคำนวณต่างๆนั้นแตกต่างจากคนที่อยู่บนกรอบพื้น
@@TheMoonho ขออนุญาตแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมจากคุณ
@user-by1ue1hf5y ว่า จริงๆแล้วด้านหนึ่งอาจจะมองได้ตามที่คุณ user มองเลย และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันก็มองได้ตามที่อาจารย์มอง ทั้งสองทางไม่ได้ผิดอะไรเนื่องจากเป็นการมองคนละด้านคนละมุม อย่างที่คุณ @TheMoonho ได้แสดงความคิดเห็นตอบกลับคุณ user เอาไว้ แต่ที่เราอยากจะเพิ่มเติมคือ การบอกว่าเป็นแรงเทียม หรืออนุภาคเสมือน หรืออะไรก็ตามที่นักวิทยาศาสตร์หยิบขึ้นมาลอยๆที่ฟังดูแล้วไม่มีที่มาที่ไป แต่ถ้ามองตามที่คุณ themoon ก็จะเห็นได้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างมันมีคำตอบอยู่ในตัวของมันเองอยู่แล้ว ซึ่งนี่คือ กับดักของความรู้และความไม่รู้ที่มีความต่อเนื่องและความไม่ต่อเนื่องระหว่างพลังงานคลาสสิกและพลังงานควอนไตซ์ ที่ด้านหนึ่งนักวิทยาศาสตร์หยิบยกเอาแรงเทียม อนุภาคเสมือนหรืออื่นๆขึ้นมาจากความว่างเปล่าก็เพื่อที่จะสนับสนุนการมีอยู่ของข้อมูลหลัก พูดง่ายๆคือ เอาง่ายและเห็นผลเร็วเข้าว่าโดยไม่จำเป็นต้องไปค้นหาต้นขั้วของแรงเทียมหรืออนุภาคเสมือนเหล่านั้นเมื่อนักวิทยาศาสตร์พูดคนก็จะเชื่อตามนั้นโดยความเชื่อที่ว่านี้ดันมีข้อมูลที่ตามที่คุณ themoon แสดงความคิดเห็นเอาไว้มาสนับสนุนความเชื่อนั้นของนักวิทยาศาสตร์เข้าไปอีกจึงทำให้ทุกคนทุกท่านต่างก็ติดกับดักข้อมูลข้อมูลทั้งสองด้าน นี่คือสาเหตุหลักที่ทำให้ไม่มีใครเข้าถึงพลังงานลบที่มีการซ้อนทับและพัวพันกันอยู่ภายใต้พลังงานบวกอย่างแนบเนียนจนเป็นเนื้อเดียวกันหรืออยู่ภายใต้ข้อมูลทั้งสามด้านหรือที่อาจารย์บอกมันเรียกแรงเทียม ที่คุณ user บอกว่า ไม่ต่างอะไรกับไสยศาสตร์ และตามข้อมูลที่คุณ themoon ตอบกลับ ทั้งสามส่วนนี้ต่างก็อยู่ภายใต้พลังงานบวกที่มีความต่อเนื่อง ที่เมื่อนำทั้งหมดมารวมเข้าด้วยกันก็จะเห็นได้ว่า มันมีคำตอบอยู่ภายในตัวของมันเองอยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่มีใครให้ความสนใจไปค้นคว้าที่มาที่ไปของแรงเทียมหรืออนุภาคเสมือนให้ลึกซึ้งมากขึ้นไปอีก ซึ่งการจะเข้าถึงที่มาที่ไปของแรงเทียมหรืออนุภาคเสมือนก็เปรียบได้กับการเดินเข้าไปในไสยศาสตร์หรือความไม่รู้ไปสู่ความรู้ที่อยู่อีกด้านหนึ่งหรือก็คือการค้นพบพลังงานลบที่สามารถให้คำตอบที่ครอบวงจรและน่าเชื่อถือมากกว่าการหยิบยกขึ้นมาลอยๆที่ด้านหนึ่งอาจมองดูเหมือนจะเติมเต็มข้อมูลหลักได้ แต่จริงๆแล้วก็ยังไม่มีใครรู้ที่มาที่ไปที่แน่นอนอยู่ดี ง่ายและเร็วไม่ได้ดีเสมอไป ยากและช้าก็ไม่ได้แย่เสมอไป ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนมีสองด้านคือ ด้านที่มีความต่อเนื่องและไม่มีความต่อเนื่อง และด้านที่ไม่มีความต่อเนื่องและมีความต่อเนื่อง ทั้งสองส่วนนี้เป็นการแสดงคุณสมบัติระหว่างอนุภาคและคลื่นที่ด้านที่อยู่ภายใต้พลังงานบวกที่มีนักฟิสิกส์ออกมาบอกว่า จะไม่แสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกัน แต่อีกด้านหนึ่งที่อยู่ภายใต้พลังงานลบ (ที่เราค้นพบ) จะมีการแสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกัน ที่ต่อมาเราก็ไปพบข่าวที่บอกว่า นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า เวลามีการเดินและถอยหลังพร้อมกันกัน
@@CasperWee ขออนุญาติถาม พลังงานลบนิยามจากอะไร พลังงานบวกนิยามจากอะไร พลังงานลบทำให้วัตถุเคลื่อนไปในทิศทางใดของความเร่ง หรือพลังงานลบถูกนิยามโดยอย่างอื่น ยกตัวอย่างพลังงานลบมาให้ดูหน่อย ถ้าบอกว่าแรงเทียมเกิดมาลอยๆหรือไม่มีที่มาที่ไปจงอธิบายว่าวัตถุที่อยู่บนกรอบอ้างอิงที่ความเร็วคงที่ทำไมจึงไม่ได้รับแรงเทียม เงื่อนไขและที่มาของแรงเทียมน่าจะชัดเจนว่าจะได้รับหรือเกิดขึ้นต่อเมื่อมีกรอบอ้างอิงที่มีความเร่งหนิ หรือแรงเทียมสามารถเกิดจากกรอบอ้างอิงอื่นๆได้ ดังนั้นถ้าเราจะติต่างเอาว่าแรงเทียมมันเกิดขึ้นมาจากกรอบอ้างอิงก็ถูกละหนิ หรือมีการนิยามแรงเทียมเอาไว้ในรูปแบบอื่นๆด้วย ยกตัวอย่างแรงเทียมที่เกิดในรูปแบบอื่นๆมาหน่อยครับ
@@TheMoonho
ถ้าหากมองตามกายภาพภายนอกของความเร่งและความเฉื่อยแล้วคุณจะเห็นว่าสองอย่างนี้อยู่ในกรอบอ้างอิงที่แตกต่างกัน หรือเป็นเหรียญคนละเหรียญกันที่เป็นไปตามทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ พิจารณาเฉพาะข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องกับแรง (ความเร่ง) และทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไป ขยายขอบเขตการพิจารณารวมถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรง (ความเร่ง) ของไอน์สไตน์ แต่ถ้าหากมองตามกฎพื้นฐานของฟิสิกส์ที่เรียกว่า CPT Symmetry หรือหลักการสมมาตรของประจุ อนุภาค และเวลา ที่จะต้องมีคู่ตรงข้ามอยู่เสมอ จะเห็นได้ว่าเราสามารถมองว่าความเร่งและความเฉื่อยเป็นเหมือนเหรียญคนละเหรียญหรือเป็นสองด้านของเหรียญเดียวกันก็ได้แล้วแต่คนจะมอง แต่หลักการเติมเต็มบอกว่า การมองว่าเป็นอนุภาคหรือคลื่นอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่สามารถทำให้ระบบความรู้ความเข้าใจของคนเราเกิดมีความสมบูรณ์ได้ เราจำเป็นต้องมองให้เห็นทั้งสองทางคือ ทั้งความเร่งและความเฉื่อย และทั้งความเร่งที่มีความเฉื่อยอยู่ หรือความเฉื่อยที่มีความเร่งอยู่ และมองให้เห็นความเป็นอนุภาค-คลื่น หรือคลื่น-อนุภาคที่ซ่อนอยู่ภายใต้ความเร่งและความเฉื่อย ที่มันจะบอกคุณโดยตัวของมันเองว่าขณะนี้มันกำลังแสดงคุณสมบัติด้านใดและกำลังไปในทิศทางใด เป็นพลังงานลบหรือพลังงานบวก แต่คุณจำเป็นต้องรู้รหัสที่จะเข้าถึงการแสดงคุณสมบัติเหล่านั้น หรือทางที่ง่ายกว่าก็คือเข้าทาง โปรตอนกับปฏิโปรตอน (บวกลบ) อิเล็กตรอนกับโพซิตรอน (ลบบวก)
ยกตัวอย่างพลังงานลบมาให้ดูหน่อย จริงๆแล้วในคำถามนี้จะมีทั้งพลังงานลบและพลังงานบวกอยู่สองส่วนในตัวคำถามเองคือ มีทั้งพลังงานลบและพลังงานบวกเท่าๆกันและไม่เท่ากัน แล้วคนที่ให้คำตอบกับคุณได้ดีที่สุดว่าคุณกำลังอยู่ในพลังงานบวกหรือพลังงานลบในตอนนี้ก็คือตัวคุณเอง แต่ที่แน่ๆคือคุณไม่ได้อยู่ภายใต้พลังงานลบและพลังงานบวกที่มีเท่ากัน แต่คุณอยู่ด้านที่ไม่เท่า ซึ่งทำให้คุณเกิดมีคำถาม และเกรงว่าคำตอบของเราจะพาคุณเข้าสู่โลกควอนตัมที่มีความยุ่งเหยิง มากกว่าที่จะพาคุณกลับเข้าสู่โลกคลาสสิก ต้องขออภัยมาณ.ที่นี้ด้วย
@@CasperWee ไม่เห็นภาพอยู่ดี และไม่เข้าใจ พลังงานด้านลบไม่แน่ใจว่าที่กล่าวคืออะไร ความเฉื่อยที่กล่าวคือมวลหรือความเร่ง ยิ่งอ่านยิ่งทำผมสับสน มวลจะอยู่คนละกรอบกับความเร่งเหรอ แล้วจะมาคิดด้วยกันทำไมถ้ามวลไม่เข้ามาในกรอบของความเร่ง ไม่มีวิธีการอธิบายที่ง่ายและสั้นกว่านี้แล้วเหรอครับ ในกลศาสตร์คลาสสิกพลังงานมีค่าเป็นลบคือวัตถุจะเคลื่อนที่สวนทางกับความเร่ง ในทางควอนตัมผมไม่ได้แม่นมากจึงไม่ขอเข้าไปยุ่ง แต่ถ้าการอธิบายแรงหลอกรวมถึงพลังงานถูกนิยามในคลาสสิกกับควอนตัมแตกต่างกันผมคงแย้งไม่ได้ แต่คำถามคงมีอยู่ว่าทำไมไม่นิยามศัพท์ใหม่ หรือมีการพิสูจน์แล้วว่าคลาสสิกที่ใช้คือส่วนหนึ่งเท่านั้นซึ่งเกิดคำถามว่าวัตถุในคลาสสิกทำไมไม่ประพฤติตัวแบบในควอนตัม
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับจารย์
นึกว่าโดน the stand ซื้อตัวไปแล้ว
ลงคลิปอาทิตละครังได้ไหมครับ ❤
ไหนๆอาจารย์มาเรื่องแรงเทียมแล้ว อยากให้อาจารย์ขยายความฉาก Docking ของ Interstellar หน่อยครับ
ปล.เป็นฉากที่ผมชอบที่สุดในหนังเรื่องนี้ครับ 😁😁😁
❤❤❤❤
งง
อยาก donate ครับ ❤
เหมือนแรงเฉื่อย
👍
🎉
เม้นแรกครับ
วิท ป.3 ป่าวจาน