Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
สุดยอด
ชอบครับ อนุโมทนาด้วยครับ
ขอบคุณที่สุด
สาธุๆๆได้ฟังธรรมะจากฆราวาสก็ดี😊😊
ข้อสังเกตเกี่ยวกับคำว่า“สติ”1 คำแปลของสติคือ“การระลึกรู้”2 ผู้ที่ระลึกรู้คือ“จิตผู้รู้”3 สิ่งที่เราระลึกรู้ได้มีสามประการคือ 3.1รู้วัตถุนอกตัวเรา เมื่อระลึกรู้แล้ว จะรู้จักว่าอะไรเป็นอะไรตามความสำคัญมั่นหมายของสังคม ช่วยให้การดำเนินชีวิตราบรื่น เป็นไปตามความต้องการของเรา(ส่วนใหญ่คือรู้ทางตา) 3.2รู้ตัวเอง เมื่อรู้ตัวเองแล้วจะเกิดความรู้สึกตัว หรือสัมปชัญญะ ซึ่งมีน้อยคนที่จะรู้จักสติรู้ตัวเอง ส่วนใหญ่จะรู้ข้อ3.1 ซึ่งเพียงพอต่อการดำเนินชีวิตแล้ว เมื่อรู้ตัวเองบ่อยๆจิตผู้รู้จะกลับเข้าในตัวเองเป็นรู้ตัวทั่วพร้อมตลอดเวลา จะตั้งใจลืมตัวเองไม่ได้เลย แต่ก็มีเผลอได้บ้าง 3.3รู้ใจหรือรู้หทัยวัตถุ คือจุดศูนย์รวมของอารมณ์ปรุงแต่งความรู้สึกต่างๆ4 คนทั่วไปจะรู้จักข้อ3.1มาตลอดชีวิตจึงไม่สนใจที่จะรู้3.2 และบางทีก็คิดว่าตนเองรู้ข้อ3.2เพราะใช้ตามองตัวเอง แล้วคิดว่าตัวเองรู้เห็นตัวเอง ซึ่งจริงๆแล้วมันไม่ใช่ เพราะการรู้ข้อ3.2ต้องรู้ด้วย“จิตผู้รู้”5 พระท่านสอนให้มีสติ คนทั่วไปก็จะเข้าใจได้เพียงข้อ3.16 หลวงปู่ดูลย์ อตุโลสอนว่า“อย่าส่งจิตออกนอก” แสดงว่า“จิตผู้รู้”ต้องอยู่นอกตัวเรา7หลวงพ่อเทียน จิตตสุโภ สอน“กระพริบตารู้สึกตัว” “ทำความรู้สึกตัว” “เคลื่อนไหวไปมาให้รู้สึก” “ให้ตื่นตัวเอง”คือให้เข้าถึงข้อ3.28เมื่อเข้าถึงข้อ3.2 ข้อ3.3จะตามมา ในระหว่างทางของการเจริญสติ ก็จะเห็นพฤติกรรมของจิตเป็นครั้งคราวแล้วแต่มันจะแสดงให้เห็นมันเป็นไปเอง แล้วแต่ละบุคคล ต่อไปก็ทำได้เพียง รู้ตัวทั่วพร้อมกับรู้ลงที่ใจหทัยวัตถุ(กลางอก) รู้ไปเรื่อยๆ จนจบกิจ羅坤泉เรียบเรียง6มีนาคม2567
อธิบายแจ่มครับผมก็ทำอยู่เหมือนกัน
ชอบฟังมากๆเลยครับ เรียบง่าย แต่ถึงแก่น ขอบคุณมากครับ อยากให้มีคลิปแบบนี้ออกมาเรื่อยๆเลยครับ
พุทธวจน ธรรมจากพระโอษฐิ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นความสุขของโลก ยิ่งเปิดเผยยิ่งรุ่งเรือง เพื่อประโยชน์ เกื้อกูล พุทธบริษัทและความตั้งมั่น แห่งพระสัทธรรม สาธุ สาธุ
ถูกจริต หลายGen. ครับ
สาธุค่ะ
ทุกข์คือมีกายสมุทัยคือมีใจนิโรธคือมีวิญญาณมรรค คือการหลุดได้จากทั้งสามสิ่งข้างต้นนั้น
การรู้ตัวทั่วพร้อมนั้น คือการสมานการทำงานกันระหว่าง ทุกข์กับสมุทัย สมุทัยรู้ถึงความมีอยู่จริงของกายแห่งทุกข์ แต่ในขณะเดียวกันก็รู้ถึงความไม่มีอยู่ของทุกข์ในตัวของมันเองไปด้วยพร้อมๆกัน ในขั้นนี้ยังแค่ประคับประคองเท่านั้น
นิโรธคือ ขั้นทองของวิญญาณสมาบัติ
แต่ทำในโลกนี้ไม่สำเร็จหรอก ที่ทำได้ในโลกนี้ก็แค่ฝึกปรือไว้เจอของจริงในภพแห่งวิญญาณเท่านั้น
ความรู้สึกตัวทั่วพร้อมตัวนี้แหละของแท้
สาธุครับ พี่ต้อย วันนี้วันดีเหมาะสม ที่จะสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องครับ
❤❤สวัสดีค่ะพี่ต้อย❤❤❤
สวัสดีค่ะพี่ต้อย เป็นคนหนึ่งที่ชอบฟังธรรม คติสอนใจจากพระอาจารย์ทั้งหลายใน UA-cam เหมือนกันค่ะ ทำให้เข้าใจง่าย ช่วยสอนให้เราใช้ชีวิตแบบไม่ ประมาท ค่ะ
ท่านอาจารย์ ธรรมบทนี้ ใช้กลั่ยเกลี่ยที่สงครามฮามาส อิสราเอลได้คลอง แต่ควรประเมินที่เหตุจำแนก จุดแต่ละภาค ที่เหตุ ที่ผ่านตรองเสียว่าเพราะเหตุของกรรมทำปัจจุบันให้ได้ดีชนี้/สงสารที่ผู้เขาได้ลำบากเพราะกรรมสงคราม ทั้ง ๒ ฝ่ายและอีกหลายที่ได้เผชิญผลเสีย ของสงครามในครานี้
สุดยอด
ชอบครับ อนุโมทนาด้วยครับ
ขอบคุณที่สุด
สาธุๆๆได้ฟังธรรมะจากฆราวาสก็ดี😊😊
ข้อสังเกตเกี่ยวกับคำว่า“สติ”
1 คำแปลของสติคือ“การระลึกรู้”
2 ผู้ที่ระลึกรู้คือ“จิตผู้รู้”
3 สิ่งที่เราระลึกรู้ได้มีสามประการคือ
3.1รู้วัตถุนอกตัวเรา เมื่อระลึกรู้แล้ว จะรู้จักว่าอะไรเป็นอะไรตามความสำคัญมั่นหมายของสังคม ช่วยให้การดำเนินชีวิตราบรื่น เป็นไปตามความต้องการของเรา(ส่วนใหญ่คือรู้ทางตา)
3.2รู้ตัวเอง เมื่อรู้ตัวเองแล้วจะเกิดความรู้สึกตัว หรือสัมปชัญญะ ซึ่งมีน้อยคนที่จะรู้จักสติรู้ตัวเอง ส่วนใหญ่จะรู้ข้อ3.1 ซึ่งเพียงพอต่อการดำเนินชีวิตแล้ว เมื่อรู้ตัวเองบ่อยๆจิตผู้รู้จะกลับเข้าในตัวเองเป็นรู้ตัวทั่วพร้อมตลอดเวลา จะตั้งใจลืมตัวเองไม่ได้เลย แต่ก็มีเผลอได้บ้าง
3.3รู้ใจหรือรู้หทัยวัตถุ คือจุดศูนย์รวมของอารมณ์ปรุงแต่งความรู้สึกต่างๆ
4 คนทั่วไปจะรู้จักข้อ3.1มาตลอดชีวิตจึงไม่สนใจที่จะรู้3.2 และบางทีก็คิดว่าตนเองรู้ข้อ3.2เพราะใช้ตามองตัวเอง แล้วคิดว่าตัวเองรู้เห็นตัวเอง ซึ่งจริงๆแล้วมันไม่ใช่ เพราะการรู้ข้อ3.2ต้องรู้ด้วย“จิตผู้รู้”
5 พระท่านสอนให้มีสติ คนทั่วไปก็จะเข้าใจได้เพียงข้อ3.1
6 หลวงปู่ดูลย์ อตุโลสอนว่า“อย่าส่งจิตออกนอก” แสดงว่า“จิตผู้รู้”ต้องอยู่นอกตัวเรา
7หลวงพ่อเทียน จิตตสุโภ สอน“กระพริบตารู้สึกตัว” “ทำความรู้สึกตัว” “เคลื่อนไหวไปมาให้รู้สึก” “ให้ตื่นตัวเอง”คือให้เข้าถึงข้อ3.2
8เมื่อเข้าถึงข้อ3.2 ข้อ3.3จะตามมา ในระหว่างทางของการเจริญสติ ก็จะเห็นพฤติกรรมของจิตเป็นครั้งคราวแล้วแต่มันจะแสดงให้เห็นมันเป็นไปเอง แล้วแต่ละบุคคล ต่อไปก็ทำได้เพียง รู้ตัวทั่วพร้อมกับรู้ลงที่ใจหทัยวัตถุ(กลางอก) รู้ไปเรื่อยๆ จนจบกิจ
羅坤泉เรียบเรียง
6มีนาคม2567
อธิบายแจ่มครับผมก็ทำอยู่เหมือนกัน
ชอบฟังมากๆเลยครับ เรียบง่าย แต่ถึงแก่น ขอบคุณมากครับ อยากให้มีคลิปแบบนี้ออกมาเรื่อยๆเลยครับ
พุทธวจน ธรรมจากพระโอษฐิ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เป็นความสุขของโลก
ยิ่งเปิดเผยยิ่งรุ่งเรือง
เพื่อประโยชน์ เกื้อกูล
พุทธบริษัทและความตั้งมั่น
แห่งพระสัทธรรม สาธุ สาธุ
ถูกจริต หลายGen. ครับ
สาธุค่ะ
ทุกข์คือมีกาย
สมุทัยคือมีใจ
นิโรธคือมีวิญญาณ
มรรค คือการหลุดได้จากทั้งสามสิ่งข้างต้นนั้น
การรู้ตัวทั่วพร้อมนั้น คือการสมานการทำงานกันระหว่าง ทุกข์กับสมุทัย สมุทัยรู้ถึงความมีอยู่จริงของกายแห่งทุกข์ แต่ในขณะเดียวกันก็รู้ถึงความไม่มีอยู่ของทุกข์ในตัวของมันเองไปด้วยพร้อมๆกัน ในขั้นนี้ยังแค่ประคับประคองเท่านั้น
นิโรธคือ ขั้นทองของวิญญาณสมาบัติ
แต่ทำในโลกนี้ไม่สำเร็จหรอก ที่ทำได้ในโลกนี้ก็แค่ฝึกปรือไว้เจอของจริงในภพแห่งวิญญาณเท่านั้น
ความรู้สึกตัวทั่วพร้อมตัวนี้แหละของแท้
สาธุครับ พี่ต้อย วันนี้วันดีเหมาะสม ที่จะสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องครับ
❤❤สวัสดีค่ะพี่ต้อย❤❤❤
สวัสดีค่ะพี่ต้อย เป็นคนหนึ่งที่ชอบฟังธรรม คติสอนใจจากพระอาจารย์ทั้งหลายใน UA-cam เหมือนกันค่ะ ทำให้เข้าใจง่าย ช่วยสอนให้เราใช้ชีวิตแบบไม่ ประมาท ค่ะ
ท่านอาจารย์ ธรรมบทนี้ ใช้กลั่ยเกลี่ยที่สงครามฮามาส อิสราเอลได้คลอง แต่ควรประเมินที่เหตุจำแนก จุดแต่ละภาค ที่เหตุ ที่ผ่านตรองเสียว่าเพราะเหตุของกรรมทำปัจจุบันให้ได้ดีชนี้/สงสารที่ผู้เขาได้ลำบากเพราะกรรมสงคราม ทั้ง ๒ ฝ่ายและอีกหลายที่ได้เผชิญผลเสีย ของสงครามในครานี้
สาธุค่ะ