Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
สนุกทุกคลิครับ
น่าสนใจครับ เพราะชุมชนมุสลิมก็อยู่ด้านในเส้นทางที่ผ่านทางเข้าวัดเข้าไปถึงวัดนางกุย
ชอบรายการที่มีคุณค่าแบบนี้ ได้เที่ยวชมวัดเก่าๆแถมได้ชมได้รู้ประวัติศาสตร์อีก เป็นรายการที่ดูซ้ำดูแล้วดูอีก ขอบคุณอาจารย์ทั้งสองที่ ทำรายการดีๆแบบนี้ขึ้นมา
ตำหนักสมเด็จพระพระโฆษาจารย์ มีความคล้ายกับศาลาการเปรียญของวัดเชิงท่ามากๆเลยค่ะ
อาคารหลังนี้สวยมาก
ขอบคุณครับที่ให้ความรู้ที่ดีมาก วิเคราะห์ได้มีเหตุผลดีครับอาจารย์ชอบมากครับ
พระบรมสารีริกธาตุ ในพระปรางค์ มีประวัติ บันทึก ไหม หรือ ไม่รู้ ครับ ...
พี่ครับ วาสี มาจากคำว่า วาส แปลว่า ที่อยู่ อรัญวาสี มาจาก อรัญ (ป่า) กับ วาสี (อยู่) คือ พวกอยู่ป่า ส่วน คามวาสี คือ คาม (บ้าน) กับ วาสี (อยู่) คือ พระพวกที่อยู่ในหมู่บ้านชุมชน ไม่ใช่ คามวะ หรือ สีทีแปลว่า แก้ว ส่วน พนรัต มาจาก พน (ป่า) กับ รัต (รัก, ยินดี) แปลว่า รักที่จะอยู่ป่า, ยินดีอยู่ป่า รัตนโกสินทร์ถึงมาแปลงว่าวันรัต ที่เขียนพนรัตน์หรือวันรัตน์นี่เขียนผิดครับ
ขอบคุณที่ชี้แนะครับ ขออภัยสำหรับความผิดพลาดคลาดเคลื่อน
วัดนี้ผมได้มีโอกาส เดินระบบไฟฟ้า เห็นของเดิมได้งดงามมากครับ คนสมัยก่อน ระเอียดเรื่องงานช่างมากครับ
ตำหนักพระพุทธโฆษาจารย์ ปัจจุบันมีภาพถ่ายโบราณ ค้นหาใน fb ก็เจอ ไม้ที่ยื่นมา พบว่ามีพาไลล้อมเป็นหมู่กุฎิขนาดใหญ่ ซ้ายขวาลักษณะตำหนักเลยทีเดียวครับ
ชอบรายการนี้มากครับ ทำให้ได้ความรู้ใหม่ๆที่เกิดจากการวิเคราะห์ด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ทางด้านศิลปกรรมแห่งยุคสมัย และได้ความเพลิดเพลินทางด้านสถานที่ท่องเที่ยวอันทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ชาติไทย ขอบคุณท่านผู้จัดมากครับ
ชอบมากเลยครับ
อ้าว! งี้สำนักดาบพุทไธสวรรย์ผในเรื่องบุพเพสันนิวาสทำไงอะ อินไปแล้วด้วย
หรือ วัดนี้อาจจะแค่มารวมตัวกันฝึกซ้อมดาบ แต่ไม่ได้เปิดเป็นสำนักดาบ ก็เป็นไปได้ครับ
ได้ความรู้เพิ่มเติมเยอะเลยครับ
สันนิษฐานไปเรื่อย ย้อนแย้งความเชื่อตามประวัติศาสตร์ไปหมด โดยอ้างอิงศิลปแบบนี้เพิ่งมีแค่สมัยนี้ไม่มีทางเก่าไปกว่านี้ได้ คลิปวัดใหญ่ชัยมงคลก็บอกว่าวัดนี้ไม่มีเรื่องราวเกี่ยวกับพระนเรศวรเพราะว่าเก่าไม่ถึง อะไรๆก็บอกแค่เก่าแค่เปอร์เซียสมัยพระนารายณ์ วัดในอยุธยาสมัยอยุธยาตอนต้นถึงอยุธยาตอนกลางนี่มันไม่มีเลยหรือไม่ได้สร้างเลยหรืครับถึงได้มีแต่วัดในสมัยแต่พระนารายณ์ กูว่ามั่วมากกว่า
ลองไปศึกษาดูครับ
สิ่งหนึ่งที่อาจารย์ 2 ท่านนี้เคยพูด แต่ไม่พูดถึงเลย คือ การสำรวจทางโบราณคดีวิธีอื่นๆ เช่น-การตรวจสอบอายุของอิฐ-การขุดสำรวจชั้นดินฐานรากและอื่นๆท่านทั้ง 2 ก็เคยกล่าวเอาไว้ว่า วัดส่วนใหญ่ในปัจจุบัน มีการถูกบูรณะ สิ่งที่ตาเห็น ย่อมไม่ถึงยุค ทว่าก็แปลกใจที่ไม่พูดถึงหลักฐานการสำรวจเชิงวิชาการของกรมศิลปากร และบางกรณีที่ยกหลักฐานการปรากฏในชั้นต้นในเอกสารต่างชาติ จะละเว้นการพูดความเป็นไปได้ว่า สถานที่ดังกล่าวต้องมีมาก่อนถึงจะมีการพูดถึงได้ อาจจะไม่ได้มีความตั้งชักนำให้คิดอย่างที่รู้สึกว่า อะไรๆก็สมัยพระนารายลงมา แต่สัมผัสได้ถึงการนำเสนอหัวข้อ โบราณสถานมีการบูรณะ อย่างเน้นย้ำมากไป ประมาณนั้นนะครับสิ่งที่ อาจารย์ ทั้ง 2 ท่านขาดคือ การเสนออย่างรอบด้าน และ ปล่อยพื้นที่ปลายเปิด ให้ผู้สนใจไปลองค้นหาครับขอบคุณครับ
สรุปได้ไหมครับว่าวัดนี้ไม่เก่าถึงขนาดสมัยพระเจ้าอู่ทอง อย่างมากสุดน่าจะสร้างในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
สงสัยว่าทำไมถึงนิยมวาดภาพพระพุทธบาทคะ
โดยทั่วไปจะนิยมวาดภาพจากพุทธประวัติเป็นหลัก แต่การวาดภาพเรื่องราวอื่นก็นิยมไม่แพ้กัน เรื่องของพระพุทธบาทที่วัดแห่งนี้ น่าจะเชื่อมโยงกับการเข้ามาของสมณทูตลังกาสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เพื่อมาขอให้อยุธยาส่งสมณทูตไปฟื้นฟูศาสนาพุทธที่ลังกา
ใช่ หมอดูไหมครับ คุนเดวิด
อยุธยาปลายก็มีจีน
สันนิษฐานเรื่อยเปื่อย ไม่มีใครรู้หรอกว่าของเดิมมันเป็นเช่นไร ทุกอย่าง มันต้องมีการซ่อมเสริมเติมแต่ง บ้านเมืองก็ต้องมีเจริญขึ้นทุกอย่างก็ต้องมีการเปลี่ยนแปลง อะไรก็สันนิษฐานว่าเกิดจากยุคเปอร์เซีย ลองคิดดูว่าก่อนเปอร์เซียเข้ามามันก็ต้องมีวัดบ้านเมืองอยุธยาเดิมอยู่แล้ว
เนื้อหาผิดแปลกจากความเชื่อคนรุ่นเก่าไปหมด คิดว่าไม่น่าติดตาม
ใช่ครับ ถึงว่ายอดวิวน้อย นักวิชาการ เค้าจะวินิจฉัยรายละเอียดรอบด้าน
สนุกทุกคลิครับ
น่าสนใจครับ เพราะชุมชนมุสลิมก็อยู่ด้านในเส้นทางที่ผ่านทางเข้าวัดเข้าไปถึงวัดนางกุย
ชอบรายการที่มีคุณค่าแบบนี้ ได้เที่ยวชมวัดเก่าๆแถมได้ชมได้รู้ประวัติศาสตร์อีก เป็นรายการที่ดูซ้ำดูแล้วดูอีก ขอบคุณอาจารย์ทั้งสองที่ ทำรายการดีๆแบบนี้ขึ้นมา
ตำหนักสมเด็จพระพระโฆษาจารย์ มีความคล้ายกับศาลาการเปรียญของวัดเชิงท่ามากๆเลยค่ะ
อาคารหลังนี้สวยมาก
ขอบคุณครับที่ให้ความรู้ที่ดีมาก วิเคราะห์ได้มีเหตุผลดีครับอาจารย์ชอบมากครับ
พระบรมสารีริกธาตุ ในพระปรางค์ มีประวัติ บันทึก ไหม หรือ ไม่รู้ ครับ ...
พี่ครับ วาสี มาจากคำว่า วาส แปลว่า ที่อยู่ อรัญวาสี มาจาก อรัญ (ป่า) กับ วาสี (อยู่) คือ พวกอยู่ป่า ส่วน คามวาสี คือ คาม (บ้าน) กับ วาสี (อยู่) คือ พระพวกที่อยู่ในหมู่บ้านชุมชน ไม่ใช่ คามวะ หรือ สีทีแปลว่า แก้ว ส่วน พนรัต มาจาก พน (ป่า) กับ รัต (รัก, ยินดี) แปลว่า รักที่จะอยู่ป่า, ยินดีอยู่ป่า รัตนโกสินทร์ถึงมาแปลงว่าวันรัต ที่เขียนพนรัตน์หรือวันรัตน์นี่เขียนผิดครับ
ขอบคุณที่ชี้แนะครับ ขออภัยสำหรับความผิดพลาดคลาดเคลื่อน
วัดนี้ผมได้มีโอกาส เดินระบบไฟฟ้า เห็นของเดิมได้งดงามมากครับ คนสมัยก่อน ระเอียดเรื่องงานช่างมากครับ
ตำหนักพระพุทธโฆษาจารย์ ปัจจุบันมีภาพถ่ายโบราณ ค้นหาใน fb ก็เจอ ไม้ที่ยื่นมา พบว่ามีพาไลล้อมเป็นหมู่กุฎิขนาดใหญ่ ซ้ายขวาลักษณะตำหนักเลยทีเดียวครับ
ชอบรายการนี้มากครับ ทำให้ได้ความรู้ใหม่ๆที่เกิดจากการวิเคราะห์ด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ทางด้านศิลปกรรมแห่งยุคสมัย และได้ความเพลิดเพลินทางด้านสถานที่ท่องเที่ยวอันทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ชาติไทย ขอบคุณท่านผู้จัดมากครับ
ชอบมากเลยครับ
อ้าว! งี้สำนักดาบพุทไธสวรรย์ผในเรื่องบุพเพสันนิวาสทำไงอะ อินไปแล้วด้วย
หรือ วัดนี้อาจจะแค่มารวมตัวกันฝึกซ้อมดาบ แต่ไม่ได้เปิดเป็นสำนักดาบ ก็เป็นไปได้ครับ
ได้ความรู้เพิ่มเติมเยอะเลยครับ
สันนิษฐานไปเรื่อย ย้อนแย้งความเชื่อตามประวัติศาสตร์ไปหมด โดยอ้างอิงศิลปแบบนี้เพิ่งมีแค่สมัยนี้ไม่มีทางเก่าไปกว่านี้ได้ คลิปวัดใหญ่ชัยมงคลก็บอกว่าวัดนี้ไม่มีเรื่องราวเกี่ยวกับพระนเรศวรเพราะว่าเก่าไม่ถึง อะไรๆก็บอกแค่เก่าแค่เปอร์เซียสมัยพระนารายณ์ วัดในอยุธยาสมัยอยุธยาตอนต้นถึงอยุธยาตอนกลางนี่มันไม่มีเลยหรือไม่ได้สร้างเลยหรืครับถึงได้มีแต่วัดในสมัยแต่พระนารายณ์ กูว่ามั่วมากกว่า
ลองไปศึกษาดูครับ
สิ่งหนึ่งที่อาจารย์ 2 ท่านนี้เคยพูด แต่ไม่พูดถึงเลย คือ การสำรวจทางโบราณคดีวิธีอื่นๆ เช่น
-การตรวจสอบอายุของอิฐ
-การขุดสำรวจชั้นดินฐานราก
และอื่นๆ
ท่านทั้ง 2 ก็เคยกล่าวเอาไว้ว่า วัดส่วนใหญ่ในปัจจุบัน มีการถูกบูรณะ สิ่งที่ตาเห็น ย่อมไม่ถึงยุค ทว่าก็แปลกใจที่ไม่พูดถึงหลักฐานการสำรวจเชิงวิชาการของกรมศิลปากร และบางกรณีที่ยกหลักฐานการปรากฏในชั้นต้นในเอกสารต่างชาติ จะละเว้นการพูดความเป็นไปได้ว่า สถานที่ดังกล่าวต้องมีมาก่อนถึงจะมีการพูดถึงได้ อาจจะไม่ได้มีความตั้งชักนำให้คิดอย่างที่รู้สึกว่า อะไรๆก็สมัยพระนารายลงมา แต่สัมผัสได้ถึงการนำเสนอหัวข้อ โบราณสถานมีการบูรณะ อย่างเน้นย้ำมากไป ประมาณนั้นนะครับ
สิ่งที่ อาจารย์ ทั้ง 2 ท่านขาดคือ การเสนออย่างรอบด้าน และ ปล่อยพื้นที่ปลายเปิด ให้ผู้สนใจไปลองค้นหาครับ
ขอบคุณครับ
สรุปได้ไหมครับว่าวัดนี้ไม่เก่าถึงขนาดสมัยพระเจ้าอู่ทอง อย่างมากสุดน่าจะสร้างในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
สงสัยว่าทำไมถึงนิยมวาดภาพพระพุทธบาทคะ
โดยทั่วไปจะนิยมวาดภาพจากพุทธประวัติเป็นหลัก แต่การวาดภาพเรื่องราวอื่นก็นิยมไม่แพ้กัน เรื่องของพระพุทธบาทที่วัดแห่งนี้ น่าจะเชื่อมโยงกับการเข้ามาของสมณทูตลังกาสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เพื่อมาขอให้อยุธยาส่งสมณทูตไปฟื้นฟูศาสนาพุทธที่ลังกา
ใช่ หมอดูไหมครับ คุนเดวิด
อยุธยาปลายก็มีจีน
สันนิษฐานเรื่อยเปื่อย ไม่มีใครรู้หรอกว่าของเดิมมันเป็นเช่นไร ทุกอย่าง มันต้องมีการซ่อมเสริมเติมแต่ง บ้านเมืองก็ต้องมีเจริญขึ้นทุกอย่างก็ต้องมีการเปลี่ยนแปลง อะไรก็สันนิษฐานว่าเกิดจากยุคเปอร์เซีย ลองคิดดูว่าก่อนเปอร์เซียเข้ามามันก็ต้องมีวัดบ้านเมืองอยุธยาเดิมอยู่แล้ว
เนื้อหาผิดแปลกจากความเชื่อคนรุ่นเก่าไปหมด คิดว่าไม่น่าติดตาม
ใช่ครับ ถึงว่ายอดวิวน้อย นักวิชาการ เค้าจะวินิจฉัยรายละเอียดรอบด้าน