Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
😊❤🎉 กราบนมัสการ อธิบายแจ่มแจ้งสธุครับ
❤❤🎉🎉😊😊
สาธุค่ะ
ดีมากกราบขอบคีณฟังแล้าขสใจ
น้อมกราบพ่อครูที่เคารพศรัทธาอย่างสูงคะ ฟังเทศน์ได้ประโยชน์เห็นจริงตามความเป็นจริงต้องพ่อครูคะ ขออนุโมทนาบุญกับพ่อครูด้วยใจจริงคะ สาธุๆๆๆคะ
🙏🙏🙏
กราบนมัสการค่ะ.สาธุค่ะ.^__^.
น้อมกราบระลึกถึงพ่อครูเสมอและตลอดไปครับ
กายที่ ๒ อริยาปถเมื่อยืน ก็รู้ชัดว่า เรายืน หายใจออกเมื่อเดิน ก็รู้ชัดว่า เราเดิน หายใจเข้าเมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่า เรานั่ง หายใจออกเมื่อนอน ก็รู้ชัดว่า เรานอน ทายใจเข้าดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
กายที่ ๓ พิจารณาสัมปชัญญะ...รู้ในการก้าวไปข้างหน้าและถอยกลับ รู้ในการแลไปข้างหน้ารู้ในการเหลียวซ้ายแลขวา รู้ในการคู้อวัยวะเข้าเหยียดอวัยวะออก รู้ในการทรงผ้าสังฆาฏิ -บาตร-จีวร รู้ในการกิน ดื่ม เคี้ยว ลิ้มรส รู้ในการถ่ายอุจาระ-ปัสสาวะ รู้เวลาเดิน ยืน นั่ง นอน รู้เวลาหลับ ตื่น พูด นิ่งกายที่ ๔ พิจารณาปฏิกูล.ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก หัวใจ ม้าม ปอด ตับ ไต ไส้น้อย ไส้ใหญ่ พังผืด อาหารใหม่ อาหารเก่า มันสมอง ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น เปลวมัน น้ำตา น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตรคูถ..กายที่ ๕ พิจารณาธาตุ..นี้ธาตุดิน นี่ธาตุน้ำ นี้ธาตุไฟ นี้ธาตุลม.กายที่ ๖ (พิจารณานวสีวถิกา)พิจารณาเห็นสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ตายมาแล้ว ๑ วัน ๒ วัน ๓ วัน ...กายที่ ๗ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ที่ฝูงสัตว์ต่างๆกัดกินอยู่บ้าง ...กายที่ ๘ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังมีเลือดและเนื้อ ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ ...กายที่ ๙ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังเปื้อนเลือดแลต่ปราศจากเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...กายที่ ๑๐ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก แต่ปราศจากเลือดและเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...กายที่ ๑๑ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ปราศจากเส้นเอ็นผูกรัดแล้ว กระเรี่ยรายไปในทิศน้อยทิศใหญ่...กายที่ ๑๒ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกสีขาว เปรียบด้วยสีสังข์...กายที่ ๑๓ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูก กองเรี่ยราย เก่าเกินปีหนึ่งไปแล้ว...กายที่ ๑๔ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกผุละเอียดแล้ว...เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงกายอันนี้เล่า ก็มีอยู่อย่างนี้เป็นธรรมดาคงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้องค์ของการพิจารณากายทุในกาย..ทุกๆกายดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออกพิจารณาให้เห็นกายเป็นบัญญัติ เป็นอย่างไร ?พิจารณาให้เห็นกายเป็นปรมัต เป็นอย่างไร ?จนเห็นกายนี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)สาธุ สาธุ สาธุขอความเจริญในธรรมจงมีแก่ทุกๆท่านพระสูตรนี้ มีท่านพระอาจารย์สุรศักดิ์ สอนได้ดีที่สุด ครับ23/04/63 ...21.09-23.03 ...ROCK CITYHUNTER...
สาธุๆๆๆ
(๑๓๑) ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ (จากพระไตรปิฏก ฉบับหลวง๔๕เล่ม ในเล่มที่๑๐)สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในแค้วนกุรุ มีนิคมหนึ่งของแค้วนกุรุ ชื่อกัมมาสธรรม ณ.ที่นั่น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่าดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าทูลรับต่อพระผู้มีพระภาคแล้ว.(๑๓๒) พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสพระพุทธภาษิตนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายหนทางนี้เห็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัสเพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำพระนิพพานให้แจ้งหนทางนี้คือ สติปัฏฐาน ๔ ประการ สติปัฏฐาน ๔ ประการเป็นไฉน ?ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑พิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑การพิจารณาเห็นกายในกายอยู่อย่างไรเล่า ?ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ก็ดี ไปสู่เรือนว่างก็ดี เธอนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสตไว้เฉพาะหน้ากายที่ ๑ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้ามีสติ หายใจออกมีสติ หายใจเข้าเมื่อหายใจออกยาว ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจออกยาวเมื่อหายใจเข้ายาว ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาวเมื่อหายใจออกสั้น ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้นเมื่อหายใจเข้าสั้น ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้นย่อมสำเหนียกว่า เราเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออกย่อมสำเหนียกว่า เราเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้าย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจออกย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้าดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออกภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้าเห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออกเห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้าเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออกเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้าเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออกเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้าย่อมอยู่ หายใจออกอนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออกก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้าเพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออกเธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้าไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออกดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้าภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
นับว่าเป็นผู้มีโชคที่ได้ฟังธรรมะที่วิเศษลึกซึ้งนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง
😊❤🎉 กราบนมัสการ อธิบายแจ่มแจ้งสธุครับ
❤❤🎉🎉😊😊
สาธุค่ะ
ดีมากกราบขอบคีณฟังแล้าขสใจ
น้อมกราบพ่อครูที่เคารพศรัทธาอย่างสูงคะ ฟังเทศน์ได้ประโยชน์เห็นจริงตามความเป็นจริงต้องพ่อครูคะ ขออนุโมทนาบุญกับพ่อครูด้วยใจจริงคะ สาธุๆๆๆคะ
🙏🙏🙏
กราบนมัสการค่ะ.สาธุค่ะ.^__^.
น้อมกราบระลึกถึงพ่อครูเสมอและตลอดไปครับ
กายที่ ๒ อริยาปถ
เมื่อยืน ก็รู้ชัดว่า เรายืน หายใจออก
เมื่อเดิน ก็รู้ชัดว่า เราเดิน หายใจเข้า
เมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่า เรานั่ง หายใจออก
เมื่อนอน ก็รู้ชัดว่า เรานอน ทายใจเข้า
ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก
ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า
เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก
เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า
เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า
เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า
ย่อมอยู่ หายใจออก
อนึ่ง หายใจเข้า
สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก
ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า
เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก
เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า
ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า
ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
กายที่ ๓ พิจารณาสัมปชัญญะ...รู้ในการก้าวไปข้างหน้าและถอยกลับ รู้ในการแลไปข้างหน้ารู้ในการเหลียวซ้ายแลขวา รู้ในการคู้อวัยวะเข้าเหยียดอวัยวะออก
รู้ในการทรงผ้าสังฆาฏิ -บาตร-จีวร รู้ในการกิน ดื่ม เคี้ยว ลิ้มรส รู้ในการถ่ายอุจาระ-ปัสสาวะ รู้เวลาเดิน ยืน นั่ง นอน รู้เวลาหลับ ตื่น พูด นิ่ง
กายที่ ๔ พิจารณาปฏิกูล.ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก หัวใจ ม้าม ปอด ตับ ไต ไส้น้อย ไส้ใหญ่ พังผืด อาหารใหม่ อาหารเก่า มันสมอง
ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น เปลวมัน น้ำตา น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตรคูถ..
กายที่ ๕ พิจารณาธาตุ..นี้ธาตุดิน นี่ธาตุน้ำ นี้ธาตุไฟ นี้ธาตุลม.
กายที่ ๖ (พิจารณานวสีวถิกา)พิจารณาเห็นสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ตายมาแล้ว ๑ วัน ๒ วัน ๓ วัน ...
กายที่ ๗ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ที่ฝูงสัตว์ต่างๆกัดกินอยู่บ้าง ...
กายที่ ๘ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังมีเลือดและเนื้อ ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ ...
กายที่ ๙ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังเปื้อนเลือดแลต่ปราศจากเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...
กายที่ ๑๐ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก แต่ปราศจากเลือดและเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...
กายที่ ๑๑ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ปราศจากเส้นเอ็นผูกรัดแล้ว กระเรี่ยรายไปในทิศน้อยทิศใหญ่...
กายที่ ๑๒ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกสีขาว เปรียบด้วยสีสังข์...
กายที่ ๑๓ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูก กองเรี่ยราย เก่าเกินปีหนึ่งไปแล้ว...
กายที่ ๑๔ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกผุละเอียดแล้ว...เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงกายอันนี้เล่า ก็มีอยู่อย่างนี้เป็นธรรมดา
คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้
องค์ของการพิจารณากายทุในกาย..ทุกๆกาย
ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก
ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า
เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก
เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า
เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า
เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า
ย่อมอยู่ หายใจออก
อนึ่ง หายใจเข้า
สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก
ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า
เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก
เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า
ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า
ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
พิจารณาให้เห็นกายเป็นบัญญัติ เป็นอย่างไร ?
พิจารณาให้เห็นกายเป็นปรมัต เป็นอย่างไร ?
จนเห็นกายนี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
สาธุ สาธุ สาธุ
ขอความเจริญในธรรมจงมีแก่ทุกๆท่าน
พระสูตรนี้ มีท่านพระอาจารย์สุรศักดิ์ สอนได้ดีที่สุด ครับ
23/04/63 ...21.09-23.03 ...ROCK CITYHUNTER...
สาธุๆๆๆ
(๑๓๑) ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ (จากพระไตรปิฏก ฉบับหลวง๔๕เล่ม ในเล่มที่๑๐)
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในแค้วนกุรุ มีนิคมหนึ่งของแค้วนกุรุ ชื่อกัมมาสธรรม ณ.ที่นั่น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าทูลรับต่อพระผู้มีพระภาคแล้ว.
(๑๓๒) พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสพระพุทธภาษิตนี้ว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
หนทางนี้เห็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์
เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส
เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำพระนิพพานให้แจ้ง
หนทางนี้คือ สติปัฏฐาน ๔ ประการ สติปัฏฐาน ๔ ประการเป็นไฉน ?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้
พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑
พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑
พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑
พิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑
การพิจารณาเห็นกายในกายอยู่อย่างไรเล่า ?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ก็ดี ไปสู่เรือนว่างก็ดี เธอนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสตไว้เฉพาะหน้า
กายที่ ๑ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้า
มีสติ หายใจออก
มีสติ หายใจเข้า
เมื่อหายใจออกยาว ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว
เมื่อหายใจเข้ายาว ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว
เมื่อหายใจออกสั้น ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น
เมื่อหายใจเข้าสั้น ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น
ย่อมสำเหนียกว่า เราเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก
ย่อมสำเหนียกว่า เราเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า
ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจออก
ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า
ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก
ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า
เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก
เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า
เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า
เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า
ย่อมอยู่ หายใจออก
อนึ่ง หายใจเข้า
สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก
ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า
เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก
เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า
ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า
ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
นับว่าเป็นผู้มีโชคที่ได้ฟังธรรมะที่วิเศษลึกซึ้งนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง