Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
สาธุหลวงพ่อ ท่านบรรยายธรรม แจ้ง ฟังเข้าใจ ตรงกับหลวงปู่สด สาธุสาธุสาธุ❤
น้อมกราบพระเดชพระคุณหลวงพ่อ
น้อมกราบสาธุเจ้าค่ะ
การทำสมาธิ ก็เพื่อเจริญสติ นั้นคือต้องปฏิบัติสมาธิให้เกิดสติทุกขณะจิต การนั่งสมาธิเป็นเพียงแค่แบบฝึกหัดขั้นต้นวิธีนึงเท่านั้น ให้เรียนรู้ว่าจะสร้างสมาธิได้อย่างไรจึงจะมีสติ ให้เกิดสัมปชัญญะได้ต่อไป เพื่อมาพัฒนากาย วาจา ใจ ให้เจริญขึ้น ขอให้พิจารณาเทอดท่านผู้เจริญ
ธรรมะคือการปฏิบัตสัมผัสได้ด้วยใจเรียกอีกอย่างว่าธรรมชาติทุกสิ่งอย่างเป็นผลจากตามการกระทำคือคำสอนดั้งเดิมจากพระพุทธเจ้า ธรรมกายคือการปฏิบัตที่สัมผัสได้ด้วยกายคือธรรมที่ต้องมีวัถุเป็นสิ่งแลกเปลี่ยนเสมอ ใช้ใจสัมผัสไม่ได้ต้องใช้ตามองเห็นเท่านั้น บุญของธรรมะใช้การทำความดีแลกมา แต่บุญของธรรมกายใช้เงินทองที่นำไปถวายเป็นการแลกบุญสะสมมากบุญก็มากตาม พุทธศาสนาชนสามารถเลือกที่จะสะสมบุญได้ตามแบบที่ชอบและเชื่อเถอะ สาธุ
ท่านเป็นครูบาอาจารย์วิชชาธรรมกายตามแบบหลวงพ่อสดแห่งวัดปากน้ำ โดยแท้ครับ ท่านไม่เกี่ยวข้องอันใดกับลัทธิธรรมกายเลยนะครับ ของท่านวิชชาธรรมกายแท้ แต่วัดพระธรรมกายเป็นของธรรมปลอม ขอให้พิจารณาด้วยครับ องค์นี้พระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
วิชชาธรรมกาย ไม่มีในคำสอนของพระพุทธเจ้า มีแต่ในคำเทศนาของหลวงพ่อสด และลูกศิษย์ของท่านนำมาขยายความต่อเท่านั้น...!!!
วิชชาธรรมกาย เป็นเพียงสมมุติบัญญัติขึ้นครับ อีกอย่างพระไตรปิฏกที่มี ณ ปัจจุบันก็ใช่ว่าครบถ้วยสมบูรณ์ และคำว่าธรรมกายนั้น (กายธรรม) ปรากฏในฝ่ายมหายาน อันเป็น 1 ใน 3 ของกายพระตถาคตเจ้าครับ
คุณบอกว่า "อีกอย่างพระไตรปิฏกที่มี ณ ปัจจุบันก็ใช่ว่าครบถ้วยสมบูรณ์" เพราะคุณไม่รู้จักพระไตรปิฎกดีเพียงพอ...!!!เมื่อไม่รู้จักพระไตรปิฎกดีเพียงพอ คุณก็เลยไม่เห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก คุณจึงไม่รู้ว่าทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นเกณฑ์ หรือเป็นมาตรฐานที่ตัดสินว่าอะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือไม่ใช่...!!!ถ้าคิดว่า "อีกอย่างพระไตรปิฏกที่มี ณ ปัจจุบันก็ใช่ว่าครบถ้วยสมบูรณ์" ทำไมคุณจึงเชื่อว่าอาจารย์ของคุณ(ในคลิปนี้)บวชเป็นพระถูกต้องตามพระธรรมวินัยของพระพุทธองค์...??? เพราะท่านก็บวชมาโดยใช้บทบัญญัติที่บันทึกไว้ในพระไตรปิฎกของเรานี้ โดยไม่ได้เกี่ยวข้องกับฝ่ายมหายานแต่อย่างใด...!!!แต่ครั้นพอพูดถึงคำสอนที่สอนกันโดยไม่มีในพระไตรปิฎก คุณก็อ้างว่าพระไตรปิฎกของเราไม่สมบูรณ์ ต้องไปอ้างถึงคัมภีร์ฝ่ายจีนมาช่วยคุณจึงกำลังทำสิ่งที่เรียกว่า "ทำพระธรรมวินัย" ซึ่งเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าให้วิปริต...!!!
พระไตรปิฏกผมศึกษาเอาเพียงแก่นเช่น อานาปานสติสูตร มหาสติสัมปัฏฐาน4 ปฏิจมุปปบาท ธาตุ4 และอาการ32 รวมไปถึงกรรมฐาน 40 กองหมวดที่เหลือบ้าง เพราะผมเชื่อว่าต่อให้อ่านพระไตรปิฏกทั้งเล่มก็ใช่ว่าจะสำเร็จอรหันต์ได้เลยทันทีเพราะคำสอนพระพุทธเจ้าไม่ใช่เข้าใจง่ายขนาดนั้นต้องปฏิบัติถึงจะเข้าใจชัด ส่วนที่ไม่มีในพระไตรปิฏก ก็เช่น เรื่องการแบ่งภาคจิตของผู้บำเพ็ญพุทธภูมิสู่โลกทิพย์เมื่อสำเร็จพระอนาคามีขั้นสูงสุดจะมีอีกกายในโลกทิพย์(ผมยืนยันว่ามีอยู่จริงเรื่องการแบ่งภาคจิตแม้ไม่มีในพระไตรปิฏก) การมีอยู่หรือไม่มีอยู่ของพระศิวะและมหาเทพในฮินดู เป็นต้น ส่วนที่ผมเชื่อว่าหลวงป๋า ท่านบวชถูกต้องและปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมวินัยเพราะ สิ่งที่ท่านปฏิบัติและสอนตรงตามพระกรรมฐาน 40 กอง อันได้แก่ การเจริญกสิณแสง มโนมยิทธิ และมหาสติสัมปัฏฐานสี่ และอริยสัจ4 ที่มีศีล สมาธิ ปัญญา ครบถ้วน ทั้งหมดไม่ได้ออกนอกคำสอนของพระพุทธเจ้าเลยแม้แต่น้อย เพราะทั้งหมดตั้งไว้ในกรรมฐาน40 กองตรงตาม คัมภีร์วิสุทธิมรรคทั้งสิ้น ส่วนการวิปัสสนากรรมฐานนั้นขึ้นอยู่กับจริตส่วนบุคคล ซึ่งอันนี้เป็นส่วนของปัญญาในการสำเร็จ บางคนอาจจะพิจารราความไม่เที่ยงของฌาณ อรูปฌาณ ความไม่เที่ยงของรูป-นาม หรือความไม่เที่ยงของธรรมกายในแต่ละรูปกายธรรม เป้นต้น ส่วนชื่อวิชชาธรรมกายก็เป็นเพียงสมมุติให้มีชื่อขึ้น เช่น มโนมยิทธิ มหาสิตสัมปัฏฐานสี่ อาการ32 กสิณ10 ทั้งหมดนี้ก็เป็นสมุติบัญญัติว่ามันเป็นแบบนี้อย่างนี้ทั้งสิ้นครับ อย่างกรณีการปฏิบัติของผมก็กึ่งอานาปานสติสูตร (ดูลมหายใจเข้าออกที่ท้อง) และกึ่งวิชชาธรรมกาย (เห็นวงกลมแก้วจากศูนยืกลางกาย)และโคจรลมปราณพลังจักรวาลตามแบบลัทธิเต๋า(เมื่อจะออกจากสมาธิ) และวิปัสสนาในอุปจารสมาธิ (ธาตุ4 อาการ32 อสุภะ) ถ้าผมจะบัญญัติขึ้นมาบ้างก็ทำได้นะครับ เพราะผมก็ไม่ได้ทำตรงตามพระไตรปิฏก เพราะโคจรพลังจักรวาล
เพิ่มเติมนะครับ พิจารณา พระพุทธประวัติจากพระโอษฐ์ "ดูก่อนอนุรุทธะ ท.! ความรู้ได้เกิดแก่เราว่า สมัยใดสมาธิของเราน้อยสมัยนั้นจักขุก็มีน้อย, ด้วยจักขุอันน้อย เราจึงจำแสงสว่างได้น้อย เห็นรูปก็น้อย.สมัยใดสมาธิของเรามากไม่มีประมาณ สมัยนั้นจักขุของเราก็มาก ไม่มีประมาณ,ด้วยจักขุอันมากไม่มีประมาณนั้น เราจึงจำแสงสว่างได้มากไม่มีประมาณเห็นรูปได้มากไม่มีประมาณ, ตลอดคืนบ้าง ตลอดวันบ้าง ตลอดทั้งคืนทั้งวันบ้าง." พระพุทธเจ้าทรงใช้โอภาสนิมิต(กสิณแสง) และรูปนิมิตบ้าง (มโนมยิทธิ) เป็นสมถะกรรมฐาน เพียงแต่ส่วนมากพระองค์ใช้อานาปานสติสูตรเป็นเบื้องบาทปฏิบัติสมถะครับ ซึ่งสองส่วนก่อนนี้ตรงกับวิชชาธรรมกายตามที่ผมกล่าวไว้ชัดเจนว่ามีอยู่จริง เพียงแต่ไม่ได้บัญญัติชื่อว่าวิชชาธรรมกายเท่านั้นเองครับ เพราะวิชชาธรรมกาย ประกอบด้วย กสิณแสง-มโนมยิทธิ-มหาสติสัมปัฏฐาน4 ตามลำดับ ส่วนวิปัสสนาขึ้นอยู่กับจริตแต่ละบุคคล
ด้วยอานุภาพธรรมกายเป็นธรรมเครื่องบำบัดทุกข์ บำรุงสุขนับเป็นธรรมาวุธอันคมกล้ายิ่งนักไม่ควรที่ผู้ไม่รู้ จะพึงวิพากษ์วิจารณ์โดยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์เพราะจะมีผลดุจเดียวกับเด็กทารกลูบใบมีดอันคมกริบเล่นหรือเข้าทำนองเด็กกำถ่านไฟเพราะภาคมารนั้นสอดละเอียด"อวิชชา" เข้ามาในธาตุธรรมเห็นจำ คิดรู้ ของสัตว์ ปิดหู ปิดตา ปิดใจของสัตว์มิให้เห็นนรก สวรรค์ นิพพาน ตามที่เป็นจริงไม่รู้จักบาปบุญคุณโทษ ทั้งลับและเปิดเผยก็หลงคิดผิด เห็นผิด รับรู้ผิดๆ จึงพูดผิดๆ กระทำผิดสอนคนอื่นผิดๆ หรือหลงตามผู้อื่นผิดๆแล้วภาคมารก็เก็บเหตุนั้นส่งไปปรุงเป็นวิบากให้ผล(ผลอกุศลกรรม) เป็นเหตุให้เป็นความทุกข์ในภพปัจจุบันและภพหน้าที่เป็นทุคติ เพราะผลจากความชั่วที่สัตว์โลกหลงปฏิบัติตามอธรรมของเขาทั้งสิ้นส่วนภาคพระก็พยายามประมูลฤทธิ์ในธาตุธรรมที่สุดละเอียดของสัตว์ เพื่อสอดละเอียด"วิชชา" เปิดหู เปิดตา เปิดใจของสัตว์ ให้รู้ ให้เห็นนรก สวรรค์ นิพพาน ตามที่เป็นจริงให้รู้จักบาปบุญคุณโทษทั้งลับและเปิดเผยเพื่อให้สัตว์โลกได้รู้ถูกเห็นถูก นำคนอื่นถูกๆให้ได้รับผลที่เป็นความเจริญรุ่งเรืองและสันติสุขด้วยมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และที่สุดของความพ้นทุกข์เป็นบรมสุข คือพระนิพพาน
สาธุครับ หลวงป๋าท่าน กล่าวไว้ชัดเจนมากครับ
กราบสาธุครับ
การฝึกตามวิชชาธรรมกาย จุดประสงค์หลักอันเดียวกัน ไม่ว่าวัดไหน หรือ สำนักไหนก็ตาม คนต่างหากที่ทำให้เพี้ยนไป ให้ดูที่ตัวเราเป็นหลักก่อน เข้าวัดจะเอาอะไร จุดประสงค์อะไรเพ่งโทษ จับผิด เงินทอง ลาภ บุญ บาป เลือกเอาครับ สาธุ
อนุโมทนาบุญด้วยเจ้าคะ...
น่ารัก
กราบขอบพระคุณหลวงพ่อ ให้ความกระจ่าง เกี่ยวกับคำว่าธรรมกาย ทำให้รู้สึกอยากไปทุกๆวัด ที่สอนวิชาธรรมกาย รวมทั้งวัดพระธรรมกาย ที่กำลังโด่งดัง เป็นที่สนใจ อยู่ในขณะนี้
สาธุ หลวงพ่อ ได้กล่าวไว้ได้เจริญแล้ว
การสนทนาธรรมได้ประโยชน์ทุกครั้ง
สาธุ สาธุ สาธุ
สาธุ สาธุ ผมเป็นคนไม่ค่อยชอบวัดพระธรรมกายของธัมชโยนะครับเพราะดูแล้วธรรมกายของธัมชโยดูไม่ค่อยจะดี แต่เมื่อผมฟังคลิปนี้แล้วก็รู้สึกว่าธรรมกายเนี้ยก็รู้ว่าธรรมกายคือสภาวะหนึ่งที่บริสุทธิ์แต่ถูกอาสวะปกปิดไว้แต่สามารถบรรลุได้ดั่งหลักตถาคตครรภ์ในหลักของพุทธศาสนานิกายมหายาน พอฟังแล้วก็ได้รู้เรื่องดีๆมากขึ้นขอบคุณผู้ที่ลงคลิปด้วยนะครับ
เจษฎา ทุ่มนุ่ม ขออภัย..ท่านว่ากันแต่เรื่องทิพย์อำนาจต่างๆ ซึ่ง*ผิด*มากๆจากหลักพุทธธรรม คือไม่ถือเป็นสำคัญ หัวใจอยู่ที่สมาธิทำให้ใจสงบ ละจากกิเลส รัก โลภ โกรธ หลง เหตุของทุกข์ ---ดับทุกข์ ไม่ให้สนใจภาวะทิพยอำนาจจากญาณ--นั่นก็ หลง-หลงอำนาจ ยังไม่หลุดพัน ถึงยังพระนิพพานใดๆเลย แต่นึกว่าเหนือมนุษย์-ท่านเรียกว่า-วิปัสสนึก..มิใช่ วิปัสสนา พุทธปัญญาใดๆ
+Chanarong Suphavejkornkij วิชชาธรรมกายยังเป็นเพียงสมถะกรรมฐาน ยังจะต้องไปต่อ คือยกจิตขึ้นสู่วิปัสนากรรมฐาน จึงจะเกิดปัญญาพิจารณาไปตามลำดับขั้นมาถึงตรงนี้ก็สุดแท้แต่บารมีว่าจะละกิเลสคือพญามารได้หมดทุกกองหรือไม่
Ekapong Promgird สาธุ สาธุ สาธุค่ะขอบคุณ
+เจษฎา ทุ่มนุ่ม ท่านนี้ไม่เกี่ยวข้องกับวัดพระธรรมกายครับ (เสมือนน้ำจืดกะน้ำเค็ม) ของท่านเป็นวิชชาธรรมกายที่ถูกต้องตามแบบฉบับหลวงพ่อสดครับ ต่างจากธัมมี โดยสิ้นเชิง
+Ekapong Promgird เข้าใจผิดแล้วครับ วิชชาธรรมกายยังมีต่อในหมวดวิปัสสนาคือ มหาสติสัมปัฏฐานสี่ ดูกายในกาย ครับเข้าสู่วิปัสสนา เมื่อกายหนึ่งเกิดขึ้นกายนั้นก็ตั้งอยุ่และดับไปตามไตรลักษณ์ครับ
ถูกก็ธรรม ผิดก็เป็นธรรม เฉยก็ธรรม เพียงแต่เราไปเข้าใจ ทั้ง 3 สิ่งนี้ เราก็ไม่ทุกข์แล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่บน 3โลกธาตุนี้ เป็นโลกสมมุติทั้งสิ้น แล้วเราจะเอาอะไรอีก (ทุกอย่างเป็นแค่โวหารบัณยัติ)สมมุติทั้งสิ้น แยกจิต ออกจากขันต์ห้าได้ ก็ นิพานแล้ว
สัมมา อะระหัง..สาธุสาธุสาธุ ในธรรมของพระพุทธองค์
สาธุ...สาธุ...สาธุ
หลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่ในสายกลางยืดหยุนพอดี มีสติและไม่ประมาท ให้ทานละซึ่งกิเลส ตรงนี้สำคัญให้ทานทำบุญคือการไม่หวังสิ่งตอบแทนแม้กระทั้งบุญ เพราะคือการละลิเลส เมตตา ประฏิบัติดี พูดดี ผมจำคำของสมเด็จโตจากลูกศิทย์ของท่าน มื้อใดฉันอร่อยจะคายออกมา ฉันให้อาหารที่ไม่อร่อยเพื่อละกิเลสจากรสที่ได้สัมผัส
ผมก็บวชแสนรูป แสนแรกโครงการของวัดพระธรรมกาย ผมถือว่า(ความเห็นส่วนตัว)วัดนี้ทำให้ผมรู้จักอะไรหลายๆอย่างที่ยังไม่รู้ในพระพุทธศาสนาเบื้องต้น และที่สำคัญทำให้ผมรู้จักหลวงปู่สด ซึ่งตอนนั้นผมกำลังจะไปทางเทพสามฤดูของลัทธิฮินดูซะมากแต่วัดนี้ก็ทำให้ผมมั่นใจในพระพุทธศาสนา และผมก็มาศึกษาทางเวปหลายๆแห่งเพื่อค้นหาความจริงว่าทำใมเขาว่าวัดพระธรรมกายจัง ตอนนั้นผมยังไม่รู้อะไร แต่ผมมั่นในวิชาธรรมกายอยู่นะ แต่คลอนแครงกับวัด
สาธุพวกที่มืดบอดฟังหลายๆครั่ง
สาธุครับ
ดูสถานที่พระท่านแสดงธรรม ก็พอเห็นพระคุณเจ้าชอบความหรูหราฟุมเฟือยเกินความเหมาะสมนะ ท่านยังมาอธิบายหลักธรรมกาย หรือพระนิพพานน่าฟัง แต่ดูแล้วยังหางไกลจากนิพพานนะหลวงพ่อ
สาธุ...ครับ
กราบสาธุ
การฝึกธรรมกายนั้น ย่อมไปถึงที่สุดแห่งทุกข์ได้เช่นกัน หากแต่เมื่อฝึกถึงที่สุดแห่งธรรมกายแล้ว ต้องไปต่อ ต้องฝึกสติเพิ่มให้สติเป็นปกติอารมณ์และใช้สมาธิที่ฝึกมาดีแล้วนั้นเข้าพิจารณาจะช่วยให้ท่านไปถึงที่สุดได้การเดินทางธรรมกายนั้นหากจะเปรียบเป็นหนทางเดินสู่พระนิพพานแล้วใชร์ ก็เป็นหนทางที่ระหว่างทางมีสถานที่ท่องเที่ยวให้ท่านแวะชมมากมาย บางคนก็ติดอยู่ระหว่างทางเหล่านั้นเพราะเห็นว่าร่มรื่นดีแล้ว และด้วยเหตุว่าบางจุดในระหว่างทางรื่นรมณ์ สดชื่นจนบางคนก็สำคัญว่าคือปลายทางแล้วไม่ไปต่อกันมากมาย ดังนั้นท่านใดที่ฝึกกรรมฐานแล้วรู้สึกว่าถึงที่สุดแล้วจะทำอย่างไรต่อดี ขอให้ฝึกต่อไปเยี่ยงที่เคยฝึกมานั่นแหละครับ
วิชาธรรมกาย คือ การทำกายของเราให้เป็นธรรม อันที่จริงก็เป็นอันเดียวกันกับ พุทโธนั้นแหละ แต่ชื่อต่างกันแค่นั้น ดูวิธีการปฏิบัติแล้ว จะเน้นไปทางกสิณ ทางอภิญญา แล้วก็เข้ามาเป็นวิปัสสนา สองอย่างนี้มีในประไตรปิฏก ไม่ต่างกันเลย.
ใช่แล้วครับ เป็นการเน้นอาโลกสิณ และ พุทธานุสติกรรมฐาน จับภาพพระ เพื่อไม่ให้หลงในอารมณ์ของกสิณ พูดง่ายๆว่า ไม่เกินที่พระพุทธองค์สอนครับ
สาธุครับ.หลวงป๋า
จากหลวงพ่อฤาษีลิงดำกล่าวถึงหลวงพ่อสดวัดปากน้ำการตั้งใจไว้เพื่อ นิพพาน นี่ ผมเคยถามหลวงพ่อวัดปากน้ำภาษีเจริญ เรียกว่า หลวงพ่อสด ก็แล้วกันวันนั้นผมไปหาท่าน ท่านยังไม่ได้เป็นพระครู ยังไม่ได้เป็นเจ้าคุณ เมื่อท่านเป็นแล้ว ท่านก็บอกว่า เขาเอาหัวโขนมาตั้งให้ มาสวมให้ แต่ฉันจะไม่เต้นไปตามจังหวะโขน ฉันจะเต้นไปตามปกติของฉันตามเดิม พระองค์นี้น่ารักมาก ผมนับถือท่านมากท่านเคยบอกว่า"ควรจะหวังพระนิพพาน ผมก็ถามว่า คนอย่างกระผมจะไปนิพพานกับเขาได้หรือครับท่านก็บอกว่า เราตั้งใจไว้ก่อน เหมือนคนขึ้นยอดไม้ เธอขึ้นต้นไม้ ตั้งใจ เราจะขึ้นให้สุดยอด ถ้าบังเอิญ เราตั้งใจขึ้นสุดยอด แรงมันไปไม่ถึง มันก็ต้องไปถึงกิ่งใดกิ่งหนึ่ง เป็นที่พักจนได้ ถ้าเราตั้งใจต่ำ ดีไม่ดีมันขึ้นไม่ถึงเลย"ท่านบอกว่า"หวังนิพพานก็เช่นเดียวกัน ถ้ากำลังอย่างอ่อน ก็ไปค้างที่สวรรค์ได้ กำลังอย่างกลาง ก็ไปค้างที่พรหม ถ้าเราเกิดจิตไม่นิยมมนุษย์โลก เทวโลก และ พรหมโลก หรือไม่นิยมร่างกายด้วยความจริงใจ เราก็ไปนิพพาน"#คติของหลวงพ่อสดนี้ดีมาก ขอบรรดาท่านพุทธบริษัท และญาติโยมทั้งหลาย พยายามปฏิบัติตามไว้เถอะ ตัวท่านตาย แต่ความดีของท่านยังไม่ตาย ผมยอมรับนับถือองค์นี้ท่านดีจริงๆ วิชชาความรู้นี้ ผมก็เรียนกับท่านไว้เย้อะ ที่นำมาใช้นี่ ก็เอาของท่านมาใช้เย้อะเหมือนกัน ท่านก็บอกเป็นของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ของท่าน ท่านค้นคว้าเอามา เป็นพระองค์แรก ที่ทำให้คนมีความเข้าใจเรื่องสวรรค์ เรื่องนรก ได้ชัดแจ้งแจ่มใส และเรื่องนิพพานด้วย______________________เทศนาธรรมจากพระราชพรหมยานหลวงพ่อวีระ ถาวโร(หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)____________ที่มาจากหนังสือมโนมยิทธิและประวัติของฉันหลวงพ่อพระราชพรหมยานหน้า ๑๑๔-๑๑๕_____________
สาธุ ครับ
สาธุ สาธุ
อยากรู้ต้องลงมือทำเอง. !!.ข้าน้อยกำลังเช่นกัน.😊สงบดี
ภิกษุเอย เพียงมีศีลาจารวัตรเพียงมีภูมิปริยัติคงแก่เรียนเพียงพากเพียรปฏิบัติจนได้ฌานเพียงอยู่ในสถานสงบสงัดถ้าขจัดกิเลสไม่ได้หมด เธออย่านิ่งนอนใจว่า เธอได้รับสุขในบรรพชาที่สามัญชนทั่วไปมิได้สัมผัส.......(พุทธวจนะ)
วัดนี้ (วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม) เป็นวัดเดียวกันกับ วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี หรือไม่ ?ตอบ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เป็นคนละสำนักปฏิบัติธรรม - คนละคณะบริหาร - คนละนโยบายวัตถุประสงค์ - คนละกิจกรรม กับ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานีวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เป็นสาขาของวัดพระธรรมกาย หรือไม่ ?ตอบ กรุณาอ่านคำตอบข้อแรกวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เป็นสายเดียวกับวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ หรือไม่ ?ตอบ หลวงพ่อ พระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล ป.ธ.6) เจ้าอาวาสวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เป็นศิษย์ของพระคุณหลวงพ่อ พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) รองเจ้าอาวาสและอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญพระคุณหลวงพ่อ พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) นั้นท่านเป็นศิษย์โดยตรง และสืบทอดวิชชาธรรมกายทั้งหมด จากพระเดชพระคุณ หลวงพ่อวัดปากน้ำ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)*ส่วนเจ้าประคุณ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (วรปุญฺญมหาเถร ป.ธ.9) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ องค์ปัจจุบัน ก็เป็น พระอนุสาวนาจารย์ ของหลวงพ่อ พระเทพญาณมงคล และท่านยังเป็นรองประธานสถาบันพุทธภาวนาวิชชาธรรมกาย แห่งนี้ด้วย
หากต้องการพิสูจน์ว่าธรรมกาย เข้าถึงได้จริงหรือไม่เชิญที่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญในทุกวันอาทิตย์ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม และ สายคุณลุงการุณย์บุญมานุช ถ้าคุณไปทั้งสามที่นี้แล้ว ยังไม่เห็นคุณ ก็ตัดสินไปเลยว่าธรรมกายไม่มี จริง แต่ถ้าคุณไปครบ ทั้งสามที่ ผมยืนยันว่าคุณจะเข้าถึงธรรมกายได้อย่างแน่นอน.....นิพพานัง ปรมัง สุงขัง นิพพานเป็นเป็นสุขอย่างยิ่ง...
พบแต่ความดีไม่มีทุกข์สาธุ
สาธุ
ผมว่านะ เอาง่ายๆเลย เราควรใช้ชีวิตเราในทางที่ถูกที่ควร ไม่เบียดเบียนใครไม่รังแกใคร เป็นคนดีของสังคม ในทุกๆทาง แค่นี้ละ ผมว่านะเป็นการสรุปของแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาเลย ไม่ต้องไปอะไรมากมาย คำสอนต่างๆสุดท้ายล้วนต้องการให้เราเป็นคนดีทั้งนั้นละ (ตอบแบบผู้ไม่รุ้ อาศัยเดาจากความเป็นจริงล้วน)
ที่คุณพูดก็มีส่วนถูก...!!! แต่ปัญหาก็คือว่า แล้วคุณจะใช้แนวทางใดมาเป็นแบบในการดำเนินชีวิตล่ะ..?ถ้าของพุทธเรา ก็มีคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นแนวทาง...แล้วคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่ที่ไหน ?ถ้าเป็นสมัยพุทธกาล เราอาจจะไปฟังพระพุทธเจ้าตรัสสั่งสอนโดยตรง แต่ลุมาถึงปัจจุบัน คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่ในพระไตรปิฎกหลวงปู่, หลวงพ่อ ครูบาอาจารย์ทั้งหลายที่กล่าวสอน ถ้าเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ก็จะต้องอ้างอิงจากพระไตรปิฎกเท่านั้น จะไปอ้างจากที่อื่น ๆ หรืออ้างว่ารู้ขึ้นมาเองไม่ได้...!!!ปัญหาเรื่องธรรมกายอยู่ตรงนี้ ตรงที่มีในพระไตรปิฏก แต่ไม่ใช่แบบที่นำมากล่าวสอนจนเป็นปัญหาอยู่ในปัจจุบันแต่บางพวกบางกลุ่มที่นำเอาเรื่องธรรมกายมากล่าวสอนจนเกิดปัญหา ก็พยายามจะยัดเยียดให้ได้ว่า นี่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า อ้างในพระไตรปิฏกไม่ได้ ก็หันไปหยิบจากที่อื่น ๆมาอ้าง จนถึงที่สุด อ้างอะไรไม่ได้ ก็หันไปอ้างว่าครูบาอาจารย์ของตนเป็นผู้รู้ขึ้นมาเอง...!!!การณ์เป็นอย่างนี้ คุณว่ามันเชื่อถือได้ไหมล่ะ ?
Otato Nookhookใช่ครับ ผมเข้าในที่คุณพูดครับ ก็สำหรับผมนะครับ แค่ให้เป็นคนดีก็พอแล้วล่ะคับ 555 ทั้งทางกฎหมาย และทางจรรยาบรรครับ ทำไรก็ยึดตามหลัก พอดี พอเพียง เท่านี้เราก็จะอยู่ในสังคมได้อย่างสบายๆแล้วครับ พอได้มั้ยครับ
ของแท้จริงๆ โมทนาด้วย แต่วัดนี้ไม่ใช่วัดธรรมกายเน่อ โปรดเข้าใจ :)
ผมเกลียดวัดธรรมกายมาก แต่ผมเคารพหลวงพ่อสดและวิชาธรรมกายมากเหมือนกัน แยกให้ออก อย่าได้ยินชื่อ ธรรมกาย แล้วว่าด่ะไปซะหมด ถ้ายังทำอย่างนี้ตายไปก็ลงนรกด่ะกันทุกคนนะครับ ขอเตือน วัดธรรมกายที่ผมเกลียดนี่ผมก็เกลียดอย่างมีความรู้ และรู้ว่าเกลียดเพราะอะไร ไม่ใช่สักแต่ว่าเกลียด และไม่ได้เกลียดตามใคร และหากท่านไหนอยากทราบว่าผมเกลียดเพราะอะไรถามได้ส่วนตัวครับ ยินดีอธิบาย
Bank Chandaeng ใช่ครับ ผมละขี้เกียจตอบพวกบรรดาที่ได้ยินแค่คำว่าธรรมกายก้มาใส่ใหญ่เลยว่าหลอกลวงบ้าง ไม่ไช่พ้นทุกข์บ้าง พวกธรรมกายบ้าง ฟังแล้วรู้เลย พวกขาดการศึกษาฟังตามๆกันมา ดากันสนุกปาก แต่เห็นศิษย์สายเดียวช่วยกันตอบเยอะก้รู้สึกดีครับ
Bank Chandaeng ดั่งคำที่ว่า ตาดีก้รู้ ญาณดีก้เห็น
SN1289 Attapol คุณมีญาณหรือครับ กลับญาณแม่ได้แน้วครับ ไชยบูรณ์เรียกอยุ่บนเครื่องแล้วนะจ๊ะ
01 NT TH สรุปคุณมึงก็ยังไม่ได้สึกษาเลยหนอ เดินไปเดินมาไหนหนอ
SN1289 Attapol ผมว่าคุณมึงเลิกศึกษาเถอะ เพราะกำลังคิดว่าคุณมึงน่าจะเมาตดไชยบูรณ์มากกว่า อยุ่กับปัจุบันนะครับ อย่าฟันเฟื่อง เพราะมันยังไม่ถึง อย่านะจ๊ะ ถ้าดีจริงคงไม่มีใครเขาเกรียดได้ขนาดนี้หลอก นะจ๊ะ
อย่าเข้าใจผิด ว่าเป็นวัดพระธรรมกายที่นี่วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม ท่านเผยแผ่ธรรมะเป็นธรรมทาน(ท่านไม่ได้ขาย)
หลวงป๋าสำหรับคนทั่วไปอาจไม่รู้จัก แต่สำหรับในวงการสงฆ์นั้นท่านเป็นผู้ได้รับความยกย่อง ได้รับความยอมรับและนับถือกัน เพราะท่านได้สละชีวิตตนเพื่อนพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง ทำทุกอย่างเพื่อให้พระพุทธศาสนาอยู่คู่กับประเทศไทยต่อไป ผลงานของท่านลองถามกูเกิลดูครับ
วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม กับวัดธรรมกาย คนละสำนักปฏิบัติ คนละผู้บริหาร คนละจุดประสงค์ คนละกิจกรรม แนวทางที่ถูกที่ควรเป็นจริงแท้ศึกษาได้ที่วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม ราชบุรี วัดปากน้ำภาษีเจริญ
ทำวัดเช้า.เย็นอยู่บ้านเส็รจแล้วก็นั่งสมาธิที่บ้านก็ได้คะถ้าใจสวบก็ได้อานิสงมากเหืมอนกันคตักบาตย์ทำอาหารตามปกตืตรงไหนมีสร้างโบสสร้างวัดเราก็ไปทำตามกำลังด้วยใจก็มีอนิสงฆ์
สรุปดีค่ะ
วัดนี้อยู่ ราชบุรี สายหลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ คนละวัดกับ วัดธรรมกาย สรุปอย่าเถียงกันรุนแรงนะ ยังไงก็ศาสดาองค์เดียวกันนะ สาธุ สาธุ ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา พุทโธ พุทโธ เมตตา อรหัง
ฟังแล้วงง
วัดธรรมกายกับวัดธรรมกายาราม และมีวิชาธรรมกาย
-๑๒-บทที่ ๕ สติปัฏฐาน ๔๑. สติปัฏฐาน ๔สติปัฏฐาน หมายถึง ที่ตั้งของสติ คือในการเจริญอริยมรรคนั้นจะต้องมีการตั้งสติให้ถูกต้องที่เรียกว่าสัมมาสติ ซึ่งการตั้งสติที่ถูกต้องที่แสดงไว้ก็คือสติปัฏฐาน ๔ หรือที่ตั้งแห่งการระลึก ๔ อย่างอันได้แก่ ๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือฐานกาย โดยใช้สิ่งที่เป็นกายมาเป็นที่ระลึก๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือฐานเวทนา โดยใช้เวทนามาเป็นที่ระลึก๓. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือฐานจิต โดยใช้จิตมาเป็นที่ระลึก๔. ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือฐานธรรม โดยใช้ธรรมมาเป็นที่ระลึกการเจริญอริยมรรคโดยสรุปก็คือ การพิจารณาขันธ์ทั้ง ๕ ให้เห็นถึงเหตุปัจจัยของมันและเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และความเป็นอนัตตาของมัน จนจิตหลุดพ้นจากความยึดมั่นในขันธ์ทั้ง ๕ นี้ ซึ่งขันธ์ทั้ง ๕ นี้ถ้าจะสรุปเป็นหมวดหมู่เพื่อนำมาพิจารณาแล้วก็จะได้ ๔ กลุ่ม คือ กาย, เวทนา, จิต, และธรรม (ธรรมชาติที่มีอยู่ในขันธ์ทั้ง ๕) ที่เรียกว่า สติปัฏฐาน ๔ คือขั้นแรกเราจะต้องพิจารณาตั้งแต่ฐานกายไปหาเวทนา, จิต, และธรรม เพื่อให้เกิดดวงตาเห็นธรรมก่อน แล้วจึงค่อยเลือกเจริญฐานใดฐานหนึ่งหรือจุดใดจุดหนึ่งที่เราชอบต่อไป๒. หมวดกายานุปัสสนา“ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออกเสียได้...” ซึ่งสิ่งที่จัดว่าเป็นกายนั้นก็ได้แก่๑.อานาปานสติ คือการกำหนดสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู่ทุกลมหายใจเข้า-ออก๒.อิริยาบถ ๔ คือการกำหนดอิริยาบถยืน เดิน นั่ง และนอนของร่างกาย๓.สัมปชัญญะ คือการกำหนดความรู้สึกตัวทั่วพร้อมในการเคลื่อนไหวของร่างกาย๔. อสุภะ คือการพิจารณาร่างกายว่าเป็นสิ่งปฏิกูล น่ารังเกียจ น่าขยะแขยง ไม่สะอาด๕. ธาตุ ๔ คือการพิจารณาร่างกายว่าเกิดมาจากธาตุ ๔ ปรุงแต่งขึ้นมา๖.มรณะสติ คือการพิจารณาถึงความตายของร่างกาย โดยการเพ่งพิจารณาจากซากศพในลักษณะต่างๆแล้วน้อมเข้ามาในร่างกายของเราเองว่าไม่พ้นที่จะต้องเป็นเช่นนั้น๗. ทุกข์และโทษ คือการพิจารณาถึงทุกข์และโทษต่างๆที่จะเกิดขึ้นแก่ร่างกายของเรา เช่น โรคต่างๆ เป็นต้นการพิจารณาเห็นกายในกายก็หมายถึงว่า ให้พิจารณาสิ่งที่เป็นกายแต่ละอย่างจากกายทั้งหมดที่มีอยู่ โดยพิจารณาให้เห็นจริงทั้งภายใน (คือของเราเอง) และภายนอก (คือของคนอื่น) และมีปรกติพิจารณาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้เห็นปัจจัยอันปรุงแต่งให้กายนี้เกิดขึ้นมาบ้าง ให้เสื่อมไปบ้าง ทั้งเกิดและเสื่อมบ้าง หรือเมื่อกายนั้นเกิดขึ้นแล้วตั้งอยู่ต่อหน้า ก็กำหนดว่าเป็นเพียงเพื่อให้เกิดความรู้ (ญาณ) เพื่ออาศัยระลึก อย่าให้ตัณหา (ความอยาก ซึ่งก็คือ ความพอใจและไม่พอใจ) และทิฏฐิ (ความเห็นที่ยึดถือไว้ไม่ยอมวาง) เกิดขึ้น และไม่ยึดมั่นอะไรๆในโลกด้วย (คือไม่ยึดมั่นสิ่งใดๆว่าเป็นตัวตน-ของตน)๓. หมวดเวทนานุปัสสนา“ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออกเสียได้...” ซึ่งสิ่งที่จัดว่าเป็นเวทนาก็ได้แก่๑. เมื่อเสวยเวทนาอันเป็นสุข ก็ย่อมรู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันเป็นสุข๒. เมื่อเสวยเวทนาอันเป็นทุกข์ ก็ย่อมรู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันเป็นทุกข์๓. เมื่อเสวยเวทนาอันเป็นอทุกขมสุข ก็ย่อมรู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันเป็นอทุกขมสุข๔. เมื่อเสวยเวทนาใดๆอันประกอบด้วยอามิส (กามารมณ์) ก็ย่อมรู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันประกอบด้วยอามิส๕. เมื่อเสวยเวทนาใดๆอันไม่ประกอบด้วยอามิส ก็ย่อมรู้ชัดว่าว่าเราเสวยเวทนาอันไม่ประกอบด้วยอามิส (เช่น สุขเวทนาจากสมาธิ เป็นต้น)การพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายก็หมายถึงว่า ให้พิจารณาสิ่งที่เป็นเวทนาแต่ละอย่างจากเวทนาทั้งหมดที่มีอยู่ โดยพิจารณาให้เห็นจริงทั้งภายในและภายนอก และมีปรกติพิจารณาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้เห็นปัจจัยอันปรุงแต่งให้เวทนานี้เกิดขึ้นมาบ้าง ให้เสื่อมไปบ้าง ทั้งเกิดและเสื่อมบ้าง หรือเมื่อเวทนานี้เกิดขึ้นแล้วตั้งอยู่ต่อหน้า ก็กำหนดว่าเป็นเพียงเพื่อให้เกิดความรู้ เพื่ออาศัยระลึก อย่าให้ตัณหาและทิฏฐิเกิดขึ้น และไม่ยึดมั่นอะไรๆในโลกด้วย๔. หมวดจิตตานุปัสสนา“ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออกเสียได้...”สิ่งที่เป็นจิตก็ได้แก่๑.เมื่อจิตมีราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ๒.เมื่อจิตปราศจากราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตปราศจากราคะ๓.เมื่อจิตมีโทสะ ก็รู้ชัดว่าจิตมีโทสะ๔. เมื่อจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ชัดว่าจิตปราศจากโทสะ๕. เมื่อจิตมีโมหะ ก็รู้ชัดว่าจิตมีโมหะ๖.เมื่อจิตปราศจากโมหะ ก็รู้ชัดว่าจิตปราศจากโมหะ๗. รู้ชัดซึ่งจิตหดหู่ ว่าจิตหดหู่๘. รู้ชัดซึ่งจิตฟุ้งซ่าน ว่าจิตฟุ้งซ่าน๙. รู้ชัดถึงความเป็นจิตใหญ่ (อยู่ในฌาน) ว่าถึงแล้วซึ่งความเป็นใหญ่๑๐. รู้ชัดถึงความเป็นจิตอันไม่ถึงความเป็นจิตใหญ่ ว่าถึงแล้วซึ่งความเป็นจิตอันไม่ถึงความเป็นจิตใหญ่๑๑. รู้ชัดถึงจิตอันมีจิตอื่นยิ่งกว่า (มีอารมณ์อื่นมาแทรก) ว่าจิตยังมีจิตอื่นยิ่งกว่า๑๒. รู้ชัดถึงจิตอันไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า๑๓. รู้ชัดซึ่งจิตอันตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) ว่าจิตตั้งมั่น๑๔. รู้ชัดซึ่งจิตอันไม่ตั้งมั่น ว่าจิตไม่ตั้งมั่น๑๕. รู้ชัดซึ่งจิตอันหลุดพ้นแล้ว ว่าจิตหลุดพ้นแล้ว๑๖. รู้ชัดซึ่งจิตอันยังไม่หลุดพ้น ว่าจิตยังไม่หลุดพ้นการพิจารณาเห็นจิตในจิตก็หมายถึงว่า ให้พิจารณาจิตแต่ละอาการจากอาการทั้งหมดของจิต โดยพิจารณาให้เห็นจริงทั้งภายในและภายนอกและมีปรกติพิจารณาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้เห็นปัจจัยอันปรุงแต่งให้จิตนี้เกิดขึ้นมาบ้าง ให้เสื่อมไปบ้าง ทั้งเกิดและเสื่อมบ้าง หรือเมื่อจิตนี้เกิดขึ้นแล้วตั้งอยู่ต่อหน้า ก็กำหนดว่าเป็นเพียงเพื่อให้เกิดความรู้ เพื่ออาศัยระลึก อย่าให้ตัณหาและทิฏฐิเกิดขึ้น และไม่ยึดมั่นอะไรๆในโลกด้วย๕. หมวดธรรมานุปัสสนา“ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออกเสียได้...”สิ่งที่เป็นธรรมก็ได้แก่๑.นิวรณ์ ๕ โดยการพิจารณาให้รู้ชัดว่านิวรณ์แต่ละอาการมีอยู่, ไม่มีอยู่, เกิดขึ้นอย่างไร?, ละไปแล้วอย่างไร?, ไม่เกิดขึ้นมาอีกอย่างไร?๒.อุปาทานขันธ์ ๕ โดยพิจารณาให้เห็นชัดว่าขันธ์แต่ละขันธ์เป็นอย่างไร?, เกิดขึ้นอย่างไร?, ความดับสลายไปเป็นอย่างไร?๓.อายตนะภายในและภายนอกอย่างละ ๖ โดยพิจารณาให้เห็นชัดว่าอายตนะแต่ละคู่เป็นที่อาศัยเกิดขึ้นของสังโยชน์อย่างไร?, รู้ชัดว่าไม่เกิดอย่างไร?, ว่าละไปอย่างไร?, ไม่เกิดขึ้นอีกอย่างไร?๔. โพชฌงค์ ๗ โดยการพิจารณาให้เห็นชัดว่า โพชฌงค์แต่ละตัวๆนั้นมีอยู่, ไม่มีอยู่, เกิดขึ้นอย่างไร?, เจริญเต็มรอบแล้วอย่างไร?๕. อริยสัจ ๔ โดยพิจารณาให้เห็นชัดตามที่เป็นจริงว่านี้คือทุกข์, นี้คือเหตุแห่งทุกข์, นี้คือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นหนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์การพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายก็หมายถึงว่า ให้พิจารณาธรรมแต่ละอย่าง จากธรรมทั้งหมด (คือธรรมที่ทำให้เกิดทุกข์และใข้ดับทุกข์) โดยพิจารณาให้เห็นจริงทั้งภายในและภายนอกและมีปรกติพิจารณาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้เห็นปัจจัยอันปรุงแต่งให้ธรรมนี้เกิดขึ้นมาบ้าง ให้เสื่อมไปบ้าง ทั้งเกิดและเสื่อมบ้าง หรือเมื่อธรรมนี้เกิดขึ้นแล้วตั้งอยู่ต่อหน้า ก็กำหนดว่าเป็นเพียงเพื่อให้เกิดความรู้ เพื่ออาศัยระลึก อย่าให้ตัณหาและทิฏฐิเกิดขึ้น และไม่ยึดมั่นอะไรๆในโลกด้วย๖. การเห็นแจ้งในกาย เวทนา จิต ธรรมสติปัฏฐาน ๔ นี้ก็คือหลักปฏิบัติของอริยมรรคโดยละเอียด โดยขั้นต้นจะเป็นการศึกษาให้เกิดความรู้ในเรื่องของร่างกาย, ความรู้สึก (เวทนา), จิต, และธรรม ว่ามันอาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นมา และดับไปเพราะขาดปัจจัยอะไร เพื่อให้เกิดความรู้ที่ถูกต้องตามที่มันเป็นอยู่จริงของธรรมชาติ (เกิดดวงตาเห็นธรรม) ไม่ใช่การคาดเดาหรือจินตนาการเอาตามตำราหรือตามที่คนอื่นเขาบอกมา และขั้นต่อไปก็คือการปฏิบัติเพื่อทำลายรากเหง้าของอวิชชาที่ฝังอยู่ในจิตใต้สำนึก โดยเราอาจจะเลือกปฏิบัติเฉพาะฐานใดฐานหนึ่งก็ได้ตามแต่เราจะชอบ หรือจะมีการเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาในแต่ละฐานก็ได้ โดยจะต้องมีสติรู้ตัวว่ากำลังปฏิบัติในฐานใดอยู่ และไม่ออกนอกขอบเขตของฐานทั้ง ๔ นี้ ซึ่งการปฏิบัตินั้นก็คือการพิจารณาหรือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ จนรากเหง้าของอวิชชาได้หมดสิ้นไปจากจิตใต้สำนึกของเราในการปฏิบัติสติปัฎฐาน ๔ จริงๆนั้น ถ้าเราตั้งใจเพ่งพิจารณาฐานใดฐานหนึ่งอยู่ ก็จะทำให้มีการพิจารณาฐานที่เหลืออยู่ด้วยในตัว อย่างเช่น เมื่อเราตั้งใจเพ่งพิจารณาถึงความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และอนัตตาในสุขเวทนาทางตาอยู่นั้น ก็จะมีการกำหนดรู้สุขเวทนาซึ่งเป็นฐานเวทนาอยู่ ส่วนการกำหนดที่ตานั้นก็จัดเป็นฐานกาย และจิตที่เกิดราคะในสุขเวทนานั้นก็จัดเป็นฐานจิต ส่วนการพิจารณาถึงความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และอนัตตาในสุขเวทนานั้นก็เป็นฐานธรรม เป็นต้น ซึ่งเราก็ไม่จำเป็นที่จะต้องไปพิจารณาทุกฐานก็ได้ แต่ถ้าเราสามารถพิจารณาได้ทุกฐาน ก็จะทำให้เราเกิดความรู้ที่แตกฉานมากยิ่งขึ้นได้สรุปได้ว่าการปฏิบัติฐานใดฐานหนึ่งของสติปัฏฐาน ๔ ก็เท่ากับเป็นการปฏิบัติฐานทั้งหมดด้วย และยังเป็นการทำลายอนุสัยหรือความเคยชินของกิเลสให้ลดน้อยลงด้วย ซึ่งแม้จะทำลายอนุสัยตัวใดอยู่ก็ตาม ก็จะมีการทำลายอนุสัยที่เหลือตามไปด้วย อย่างเช่น เมื่อกำลังเจริญมรณะสติอยู่ ก็จะทำให้อนุสัยของราคะลดลง พร้อมทั้งอนุสัยของโทสะกับอวิชชาก็จะลดลงตามไปด้วย เป็นต้น
พิมนตรี บัวชื่น ถ้าเข้าถึงธรรมกาย เป็นธรรมกายพระอรหันต์=พระอรหันต์นี้แหละครับ ง่ายๆก็เป็นนิพพานเป็นไงครับเป็นพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่แต่ตัวข้างในของในวิชชาธรรมกายเรียกว่าพระธรรมกายพระอรหันต์ครับ พอละจากโลกนี้ไปอยู่นิพพานสภาพกายของเราเป็นกายธรรม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าธรรมกายนี้แหละครับ ดังนั้นตรงตามพระพุทะเจ้าที่บอกว่าทำไมนิพพานถึงไม่มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เพราะกายเรามีสภาพเป็นธรรมกายครับ
กายคนเรามีสองอย่างครับคณะที่ยังมีชีวิตอยู่เราเรียกกายหยาบเเต่ที่ตายไปเเล้วลายเป็นดวงจิตแล้วเราเรียกกายทิพย์ไม่ว่าจะเป็นคนธรรมดาหรือเข้าถึงนิพพานเเล้วก็ตามกายจะมีเเค่สองอย่างนี้เท่านั้นครับ
เมาตด ฝากระโถนใหญ่เลย เป็นตุเป็นตะ
วิชาธรรมกายยังไม่ใช่นิพพานนะครับ อย่าให้อวิชชาหรือความหลงผิดมาบดบังความจริง วิชาธรรมกายยังเป็นแค่สมถะกรรมฐานครับ ยังต้องไปต่อ มาติดแค่ตรงนี้ก็จบกัน มาได้แค่ครึ่งทาง จะไปต่อก็ต้องยกจิตจากสมถะขึ้นสู่วิปัสนาคือกำหนดรู้สภาวะธรรมต้องมีสติคอยกับกับตลอดเวลา ปัญญาก็จะเกิดตามลำดับ ครับผม
Ekapong Promgird มันบ้าครับ อย่าไปสนใจ วิชาปัญญาอ่อนเลยครับ ธรรมกาย จริงๆ เค้าก็ไม่ได้สอนเหมือน ฝากระโถน ทำกลายนะครับ สอนมั่วๆ เสือกจะไปนิพพาน ปัญญาอ่อนมาก ถ้าจริง พระพุทธเจ้าคงไม่ บำเพ็ญตั้งกี่อสงไข กี่มหากัป แค่ ทำกายปัญญาอ่อน
@@plathong505 คุณนี่ไม่เข้าใจคำว่ามาทำการบ้านตอนจบ คนเหล่านี้ไม่ได้เอาพุทธภูมิ แต่เอานิพพานคนละเรื่อง กันนะคุณ
วิชาธรรมการกับวัดธรรมต่างกันนะค่ะ วิชาธรรมกายมีจริงค่ะ แต่พวกคนเหล่านั้นเอาวิชาธรรมกายไปอ้างค่ะ
วิชาธรรมกายของพระพุทธเจ้าไม่มี...มีแต่ของหลวงพ่อสด
คล้ายกับ มโนมยิทธิ ไหมคะ
ถ้าตน รู้ธรรมเยอะแล้ว พวกเราคงไม่ต้องมานั้งทุกข์ยังงี้หรอกงับ เราคงต้องเข้านิพพานไปแล้ว
ขอแนะนำหนังสือออนไลน์ครับ คือ MD 101 MD102 MD203 MD 204 MD305 MD306 MD407 และ MD408 หนังสือสมาธิ จะบอกรายละเอียดเกี่ยวกับการฝึกสมาธิไว้ดีมากครับ อ้างถึงพระสูตร และคำสอนของหลวงปู่ได้ดีครับ
หลักคำสอนที่หลวงป๋าอธิบาย เป็นแก่นแท้ของวิชาธรรมกายตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า และพระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อสด จันทสโร ) ผู้ค้นพบและเข้าถึงธรรมกาย ผู้ที่ต้องการศึกษา เรียนรู้ หลักปฎิบัติของวิชาธรรมกาย นั้งสมาธิ เชิญที่นี้ครับ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม "อย่าไปเลยครับวัดธรรมกาย ปทุมธานี วัดนี้ไม่ได้ให้ความรู้ที่ตรงตามหลักคำสอน เอาวิชาธรรมกาย มาแสวงหาผลประโยชน์ ชักจุงผู้ที่เข้ามาเรียนรู้ศึกษา ให้หมกมุ่นในวิชาธรรมกาย ผู้สอนก็แสดงตนเป็นผู้วิเศษรู้ซึ่งถึงธรรมกาย เห็นนรกเห็นสวรรค์ ผิดเพื้อนไปหมด พิจารณาดูครับ ลูกศิษวัดธรรมกาย ประทุมธานี
Jirapat Jinawan ไปวัดไหนก็แล้วแต่ศรัทธาครับ แต่ละคนชอบไม่เหมือนกัน
สติปัตฐาณ 4 เป็นมรรควิธีที่พระพุทธองศ์บัญญัติเพื่อให้ปฏิบัติิแล้ว เข้ามรรคผลนิพพานได้ แต่ธรรมกายเป็นชื่อเรียกแทนพระพุทธองศ์ มิใช่มรรควิธี
วัดธรรมกาย กะ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม มันคนละวัดกัน และคนละจุดประสงค์การปฏิบัติ ต่างกันคนละเรื่องเลย
TheZeldio วัดพระธรรมกาย
เรื่องเล่า..เคล้าธรรม...๓๙เรื่อง....เมื่ออาตมาไปอยู่กับหลวงพ่อสดวัดปากน้ำพระภาวนาวิสุทธิคุณ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) ๒๑ เม.ย .๓๕อาตมาขอเล่าเรื่องพิเศษสักเรื่องหนึ่ง เป็นเรื่องที่มีประโยชน์ อาตมาไปอยู่กับหลวงพ่อสดสองรุ่นด้วยกัน รุ่นแรก พ.ศ. ๒๔๙๓ รุ่นที่สอง พ.ศ. ๒๔๙๖เวลาบ่ายสองโมงมีญาติโยมมาหามาก ใครมีทุกข์ร้อนให้เขียนชื่อ นามสกุล หรือวัน เดือน ปีเกิด ก็ได้ใส่บาตรไว้ ท่านจะออกรับแขกเวลาบ่ายสองโมง อาตมาก็ไปเป็นลูกศิษย์ท่านนอกจากนี้ยังมีการแจกพระและรูป บูชาองค์ละ ๒๕ บาท หรือ ๓๐ บาทก็มี รูปบานละ ๒๕ บาท อาตมาได้ตำรานี้มาวันหนึ่งอาตมาบอกหลวงพ่อว่า “ขอบูชาพระสักกำเถอะ จะนำไปแจกญาติ” ท่านบอก “ไม่ได้ ต้องเอาไปองค์เดียว” อาตมาก็ไม่ทราบว่านโยบายท่านทำไมให้องค์เดียวอาตมาก็ไปเซ้าซี้ถามท่าน ท่านก็ตอบออกมาคำหนึ่งว่า “นี่เธอให้เธอไว้มาก ๆ ถ้าเธอโลภมากเอาไปขาย เธอเป็นบาปนะ เขาไม่ได้เคารพนับถือก็ไปเที่ยวแจกเขาส่งไป ปัญหาอยู่ตรงนี้ และอีกประการหนึ่งถ้าเขาเคารพบูชา ให้เขามารับเอง” ท่านพูดมีเหตุผลอาตมาก็บอกว่า “หลวงพ่อครับ ญาติผมเยอะนะ” ก็ยังไปเซ้าซี้กับท่านอีก วันสุดท้ายท่านบอก “ตามใจ”อาตมาก็บอกว่า “ตามใจ อย่าให้เป็นบาปนะหลวงพ่อนะ” หยิบใส่ย่ามมา จะเป็นบาปหรือไม่ก็ไม่ทราบ ได้มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๖ เดี๋ยวนี้ไม่มีเหลือติดย่ามสักองค์เดียวประการที่สอง อาตมาได้ตำราอีก เวลาพักผ่อนท่านให้เข้าไปในห้อง ท่านให้คลี่กระดาษที่คนเขียนใส่บาตร อ่านให้ท่านฟังว่า เขาเขียนให้ช่วยเรื่องอะไรอาตมาก็อ่านชื่อ ก. ชื่อ ข. นามสกุลนี้ วัน เดือน ปี นี้ ขอให้ช่วยลูกไปต่างประเทศ ขอให้ช่วยอย่างโน้นอย่างนี้พอท่านฟัง บอก “อื้อ! ฉีกทิ้ง” ท่านบอกว่า “แผ่ไม่ออก ช่วยไม่ได้ คนนี้ช่วยไม่ได้ พรุ่งนี้เขาจะตายแล้ว” อาตมาก็ลักจดเข้าไว้ พรุ่งนี้ตายจริง ๆท่านบอกว่า “คนที่ไม่มีกุศลนะ แผ่ไม่ออก”อีกใบหนึ่งเขียนว่า “หลวงพ่อคะช่วยดิฉันด้วยค่ะ สามีทิ้งดิฉันแล้ว เขาขอฟ้องหย่าแบ่งสมบัติ วันนั้นขึ้นศาล มีบุตรด้วยกัน ๕ คน” ก็อ่านให้ท่านฟังท่านบอกว่า “รายนี้เก็บไว้ ใส่อีกบาตรหนึ่ง รายนี้ช่วยได้”วันหลังต่อมา อาตมากราบเรียนถาม “หลวงพ่อครับ ที่ช่วยได้กับช่วยไม่ได้ เป็นอย่างไรนะครับ”ท่านบอก “ อ่านดูก็รู้แล้ว คนนี้กุศลไม่พอ กุศลไม่มี เลยช่วยไม่ได้”ท่านอธิบายว่า “เหมือนคนช่วยตัวเองไม่ได้ จะช่วยเขาอย่างไรได้เล่า” แหม! อาตมาได้ตำราและท่านบอกว่า “กรรมฐานนี่ดีที่สุด ไม่ต้องใช้คาถา เรานั่งกรรมฐานก่อน ยกจิตให้เป็นกุศล มีเมตตา ไม่อิจฉาริษยาใคร หมดปัญหาไม่พอใจใคร แล้วแผ่ออกไปตามชื่อนั้น ๆ หรือจะแผ่ทั่วไปก็ได้ ถ้าเขามีกุศลพอช่วยได้ ถ้าไม่มีกุศลก็ช่วยไม่ได้”คนเข้ามากราบท่านเวลาบ่ายสองโมง เขียนใส่บาตรเต็มเลย ได้เงินเข้าวัดมากท่านบอกว่า “เราทำอะไรนะคุณนะ ถ้าโลภมากอยากได้ของเขาแล้วแผ่ไม่ได้ผล ถ้าเราไม่อยากได้ของใคร วางจิตให้เป็นกลาง ทำใจให้สบาย ทำจิตให้เป็นปกติมักจะได้”อาตมาออกมาจากวัดได้เคล็ดลับนี้มา ก็ขอฝากไว้ด้วยท่านสอนอาตมาว่า “นี่เธอจะช่วยคนไหนก็ให้เขาช่วยตัวเองได้ ถ้าเขาช่วยตัวเองไม่ได้ คุณไปช่วยเขา คุณเสียเวลานะ คนช่วยตัวเองไม่ได้ ไม่ต้องสนใจ แผ่อย่างไรก็ออกไม่ได้”อีกประการหนึ่ง คนนี้ช่วยได้แต่จิตเราไม่ดี จิตเราไม่เป็นกุศลกระแสไฟหมด จิตมันหดหมดอาลัยตายอยาก ช่วยเขาก็ไม่ได้ ขอฝากไว้ด้วยทุกคนอาตมาได้ตำรานี้มาแผ่เมตตาได้ผลมาจนถึงทุกวันนี้มีอยู่วันหนึ่ง หลวงพ่อสดกำลังแจกของ อาตมาก็นั่งอยู่ด้วย โยมท้วมมาบอกว่า “หลวงพ่อ มะพร้าวหมดแล้ว ข้าวสารก็หมด” ตอนนั้นยังไม่ร่ำรวยเหมือนสมัยนี้หลวงพ่อร้อง “อือ ๆ โยมไม่เป็นไร โยมไปเถอะ เดี๋ยวเขาเอามาให้”รุ่งขึ้นเช้า มะพร้าวมาจากบางช้าง ๒ ลำเรือ ข้าวสารมาจากไหนไม่ทราบ ขนกันแทบแย่เลย อาตมาก็ยังช่วยขน ไม่เห็นท่านว่าคาถาอะไรอาตมาก็ได้ตำราท่านมา ท่านบอกว่า “ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งหวงยิ่งอด หมดก็ไม่มา เราไม่หวงกัน เราก็ไม่อด หมดก็มาเรื่อย ๆ”ท่านบอกให้ยกจิตให้สูง แผ่เมตตาออกไปให้ได้ ผลจากการแผ่เมตตา ใครเป็นญาติอยู่ที่ไหนก็จะนำมาให้อาตมาได้ใช้ตำราของท่านมาจนทุกวันนี้เมตตาบารมีของหลวงพ่อคือหลวงพ่อภาวนาวิสุทธิคุณ เปี่ยมการุณเมตตาจะหาไหนช่วยดับทุกข์ดับร้อนช่วยรอนภัย เป็นร่มไทรให้ประชามาพักพิง ฯที่มา...ขอบคุณข้อมูลจาก #Teeraphan Naksinกลุ่มศิษย์หลวงพ่อจรัญ (วัดอัมพวัน หลวงพ่อจรัญ จ.สิงห์บุรี
sadhu
ธรรมกาโย อหัง อิติปิ
ธรรมกายคืออะไร อยู่ในนาทีที่ 48 เป็นต้นไป
คนดีเขาไม่ตีใคร
เราต้องปฏิบัติเท่านั้นจึงจะหลุดพ้น(ภาวนามัยยปัญญา)เท่านั้น ส่วนขั้นตอนการปฏิบัติแล้วแต่ละบุคคลตามกรรมแต่ละคน ไม่เท่ากัน จึงไม่เหมือนกัน ไม่มีใครถูกไม่มีใครผิด เป็นเพียงสมมุติ(บัณยัติ)
วิชาธรรมกายมิใช่ของแท้ของธรรมะ หลวงพ่อสดคนคิดค้นยังล่ะทิ้ง ให้พระคุณโชดกสอนกรรมฐานให้เลย
ไปถามหลวงปู่สดก่อนไหม ท่านเรียนกับหลวงพ่อโชดกแล้ว นอกนั้นท่านทำไรต่อ
ทีแรกผมก็ไม่รู้จักวิชาธรรมกายครับ แต่มีอยู่วันหนึ่งผมได้อ่านหนังสือแนวปฏิบัติของหลวงพ่อสด ผมลองปฏิบัติตามดู ได้ประจักษ์กับตัวเอง ตอนนี้ผมเชื่อและศรัทธาในหลวงพ่อท่านอย่างมากครับ ...
ผมอยากทราบครับ คำถามกลางๆ สรุป...ธรรมกาย กับ นิพพาน นี่คืออย่างเดียวกัน หรือป่าว..หรือเป็นทางผ่าน...?นิพพานัง ปรมัง สุงขัง นิพพานเป็นเป็นสุขอย่างยิ่ง...อันนี้เห็นด้วยครับ
แนวทางที่ถูกต้องคืออะไร ไม่มีใครตอบได้...แต่อยากพ้นทุกข์สู่นิพพานต้องไปสายท่านพุทธทาสอยากพ้นทุกข์แล้วไปเป็นเทพต้องไปสายพระธรรมกายไม่อย่างนั้นคงไม่มีแต่งคอสเพลย์เจ้าแม่กวนอิม เพราะสายนิพพานจะไม่ให้เชื่อเรื่องเทพเจ้า
ตัดไห้ได้ ปล่อยไห้ไว วางไห้ลง
ธรรมกายคืออะไร นี่ก็เป็นธรรม
ปฏิบัติจริง ต้องตัดกิเลสได้ด้วยดิ
สรุปแล้วศาสนาคือเรื่องราวของอารมณ์ล้วนๆนั้นเอง ทำไมไม่ไปศึกษา"ทฤษฎีแห่งอารมณ์"ดูกันตรงๆเลย เพราะเขาใจง่ายกว่าที่มาฟังเทศนาที่มีคำศัพท์ที่ยากแก่การเข้าใจ จงไปศึกษา"ทฤษฎีแห่งอารมณ์"กันดีกว่า
+Manit Samrejngan เป็นข้อสรุปที่ไม่น่าจะคอบคลุมความถูกต้องเท่าใดนักขอรับเพราะ ศาสนา จะใช่เรื่องของอารมณ์ล้วนๆ ก็หาไม่ หากหมายรวม ครอบไปถึง ความสงบนิ่งใน "ว่างเปล่า" (ภาวะที่เหตุปัจจัยมิสามารถมีปฏิกิริยาต่อกันและกันได้) ด้วย (คำอธิบายนี้หมายเฉพาะ ศาสนาพุทธเท่านนั้นมิหมายรวมศาสนาอื่นใด)ส่วน "อารมณ์" มันเป็น "พฤติจิต" ที่เกิดจาก ความสามารถของเหตุปัจจัยที่ก่อเกิดปฏิกิริยา...ต่อกันและกันได้...ดังนั้น...ศาสนา จึง หมายรวม 2 ส่วน คือ ส่วน ว่างเปล่า กับส่วน ปฏิกิริยาที่เกิดต่อเนื่องกันตามเหตุปัจจัย (เป็นพฤติจิต) ประมาณนี้นะ..ขอรับ !+++
ผมเข้าใจว่าการจะไปนิพพานได้เราจะต้องเดินให้ถูกทางตามทางพระพุทธองค์เพราะฉะนั้นถ้าเราเดินผิดทางคงไม่มีโอกาสไปถึงอย่างแน่นอนผมคิดว่าเราจำเป็นต้องศึกษาหาความรู้และอาจารย์ที่รู้จริงคอยบอกเพื่อให้เราเดินตามทางที่ถูกต้อง
โคตรภูญาณ ยังไม่ประหานสังโยชน์ ยังไม่เกิดมัคคสมังคี ลองดูพระสูตรครับ [๑๔๑] โคตรภูธรรมเป็นกุศลเท่าไรเป็นอกุศลเท่าไร เป็นอัพยากฤต เท่าไรโคตรภูธรรมเป็นกุศล ๑๕ เป็นอัพยากฤต ๓ เป็นอกุศลไม่มี ฯ [๑๔๒] โคตรภูญาณ ๘คือ โคตรภูญาณที่มีอามิส ๑ ไม่มี อามิส ๑มีที่ตั้ง ๑ ไม่มีที่ตั้ง ๑ เป็นสุญญตะ ๑ เป็น วุฏฐิตะ ๑เป็นอวุฏฐิตะ ๑ เป็นปัจจัยแห่งสมาธิ โคตรภู- ญาณ ๑๐เป็นโคจรแห่งวิปัสสนาญาณ โคตรภูธรรม ๑๘ เป็นปัจจัยแห่งวิโมกข์๓ โคตรภูธรรมมีอาการ ๑๘ นี้พระโยคาวจรอบรมแล้วด้วยปัญญา พระโยคาวจรเป็นผู้ฉลาด ในโคตรภูญาณอันเป็นเครื่องหลีกไปและในโคตรภูญาณ อันเป็นเครื่องออกไปย่อมไม่หวั่นไหวเพราะทิฐิต่างๆ ฉะนี้แล ฯ ชื่อว่าญาณเพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในการออกไปและหลีกไปจากสังขารนิมิต ภายนอก เป็นโคตรภูญาณ ฯ [๑๔๓] ปัญญาในการออกไปและหลีกไปจากกิเลส ขันธ์และสังขาร นิมิตภายนอกทั้งสอง เป็นมรรคญาณอย่างไร ฯ
ธรรมกาย เป็น กายธรรมที่อยู่ในตัวของมนุษย์ทุกคน ต้องปฏิบัติสมถะภาวนา โดยอาศัยคำถาวนา หรืออาศัยกสิณ เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจไม่ให้สอดส่าย จนใจอยู่นิ่งแล้วดิ่งลงจนได้ระดับธาตุธรรมละเอียดพอ จึงจะเห็นธรรมกายภายใน ส่วนธรรมกายาราม คำก็บอกแล้วว่าสนธิคำมาจาก ธรรมกาย+อาราม แต่ชื่อเต็มคือ วัดหลวงพ่อสด (ธรรมกายาราม) สอนการปฏิบัติกรรมฐานตามแนววิชาธรรมกายของหลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
คุณทำไห้เรานึกถึงหนังจีนหลายเรื่อง ที่คนที่พวกเขากำลังมองหาเพื่อ ถ่ายทอดวิชา เขามีพร้อมด้วยคุณสมบัติและปัญญา เขาได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยใจบริสุทธิ์ ในที่สุดจึงประสบความสำเร็จ
ตกลงมีธรรมกายแท้กับธรรมกายเทียมใช่หรือไหมครับ
วิชชาธรรมกาย สะกดอย่างนี้ครับ ชอช้าง 2 ตัว ไม่ใช่วิชาธรรมกาย
ใครจะผิดจะถูกอย่ามัวเถียงกันเลย เข้าไปถามพระพุทธเจ้าโดยตรงเลย ใครปราบมารได้แม้ยังมีกิเลสก็สามารถเห็นพระพุทธเจ้าได้ เห็นนิพพานได้ และเห็นมารได้จึงจะปราบมารได้ เคยถามพระพุทธเจ้าหลายข้อขอสรุปสั้นๆให้ฟัง 1 ธรรมกายเป็นของจริง 2 พระธัมมชโยผิดไหม ท่านตอบว่าผิดแต่เราให้อภัย 3 พระสายป่าที่ปฏิบัติจนถึงที่สุดแห่งธรรมตายแล้วเข้านิพพานเลยไหม ท่านตอบเข้าไม่ได้ เพราะไม่เคยเห็นไม่รู้จักนิพพาน 4 แล้วท่านจะเข้านิพพานได้อย่างไร ท่านตอบเราลงมารับหรือใช้ให้ใครลงมารับ 5 ผู้ที่ด่าโจมตีธรรมกายบาปไหม ท่านตอบบาปคำเดียว 6 นิพพานอยู่ที่ไหน ท่านเปิดโลกนิพพานให้เห็น มีจำนวนมหาศาล ไม่รู้จะบรรยาย เพชรแก้วใสแก้วสี มีทั้งพระทั้งโยม นั่งเป็นระเบียบก็มี ลอยเป็นแถวอย่างเป็นระเบียบก็มี ดูข้างนอกเหมือนจะไม่ใหญ่โต แต่เข้าไปข้างในกว้างขวางสุดสายตา
เลอะเทอะ...!!!
มั่ว
2. พระธัมมชโยผิดไหม ท่านตอบว่าเราให้อภัย แต่ "ปาราชิก" ก็คือปาราชิก ให้หมดความเป็นพระ
เชิญรับยาช่อง 2 คับ
บางท่านบอกว่า แดนพระนิพพาน พระมหากษัตริย์ พระ และโยม อยู่ไม่ไกลกัน แต่คนละฝั่ง ไม่ทราบใช่หรือไม่ ไม่รวมกันนะท่านบอก
ธรรมกาย คือทางผ่านไปนิพพานครับ นิพพาน ก็คือนิพพาน ธรรมกายก็คือ ธรมกาย
เรียนหลายวิชาดีกว่านะ อยู่ที่ปัญญา จะตัดได้ไม่ได้อยู่ที่ใจคุณ
โคตรภู คือญาณข้ามโครต คือญาณที่เปลี่ยนบุคคลธรรมดา เป็นพระอริยเจ้ามี โสดาปัตติมรรค เป็นต้นไป สำหรับผู้ที่ยังไม่เข้าใจนะครับ
หลักฐานชั้นพระไตรปิฎกในพระไตรปิฎกฉบับบาลีอักษรไทย (2525) ซึ่งจัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" อยู่ 5 แห่ง โดยส่วนใหญ่อยู่ในพระสูตร ดังนี้1. ที.ปา. อัคคัญญสูตร 11/55/91-92 ในทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค หน้า 92 ฉบับบาลี ปี พ.ศ. 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่าตถาคตสฺส เหตํ วาเสฏฺฐา อธิวจนํ ธมฺมกาโย อิติปี พฺรหฺมกาโย อิติปิ ธมฺมภูโต อิติปิ พฺรหฺมภูโต อิติปิฯ"ดูก่อนวาเสฏฐะ อันว่า คำว่า "ธรรมกาย" ก็ดี "พรหมกาย" ก็ดี "ธรรมภูต" ก็ดี ผู้ที่เป็นธรรมก็ดี หรือ "พรหมภูตะ" ผู้ที่เป็นพรหมก็ดี นี้แหละเป็นชื่อของเราตถาคต"2. ขุ.อป. อัตถสันทัสสกเถราปทาน อปทาน 32/139/243 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 139 หน้า 243 บรรทัดที่ 1 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่า...ธมฺมกายญฺจ ทีเปนฺติ เกวลํ รตนากรํ วิโกเปตํ น สกฺโกนฺติ โก ทิสฺวา นปฺปสีทติฯ"บุคคลใดยัง "ธรรมกาย"ให้สว่างแล้วทั้งสิ้น อันเป็นบ่อเกิดแห่งรัตนะทั้งหลาย อันบุคคลทั้งหลายไม่มีผู้ใดจะทำร้ายได้ ใครเล่าเมื่อเห็นแล้วจะไม่ปลาบปลื้มยินดีนั้น ไม่มี"3. ขุ.อป. ปัจเจกพุทธาปทาน 32/2/20 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 2 หน้า 20 บรรทัดที่ 9 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึงว่า...ภวนฺติ ปจฺเจกชินา สยมฺภูฯ มหนฺตธมฺมา พหุธมฺมกายา..."พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้สยมภู ทรงเป็นผู้มีธรรมอันใหญ่ มี "ธรรมกาย" มาก"4. ขุ.อป. มหาปชาบดีโคตรมีเถรีอปทาน 33/157/284ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 33 ข้อ 157 หน้า 284 บรรทัดที่ 12 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ไว้ว่าสํวทฺธิโตยํ สุคต รูปกาโย มยา ตว อานนฺทิโย ธมฺมกาโย มม สํวทฺธิโต ตยาฯ"ข้าแต่พระสุคต รูปกายของพระองค์นี้ อันหม่อมฉันยังให้เติบโตแล้ว แต่ "ธรรมกาย" อันน่ารื่นรมย์ของหม่อมฉัน พระองค์ให้เติบโตแล้ว"และในพระไตรปิฎกฉบับหลวง (2514) เล่มที่ 26 หน้า 334 มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" ดังนี้5. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สรภังคเถรคาถา ข้อ 365...เมื่อก่อน เราผู้ชื่อว่า "สรภังคะ" ไม่เคยได้เห็นโรค คือ อุปาทาน ขันธ์ 5 ครบบริบูรณ์ทั้งสิ้น โรคนั้น อันเราผู้ทำตามพระดำรัสของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ได้เห็นแล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่า วิปัสสี พระสิขี พระเวสสภู พระกกุสันโธ พระโกนาคม พระกัสสป ได้เสด็จไปแล้วโดยทางใดแล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า "โคดม" ก็ได้เสด็จไปแล้วโดยทางนั้น พระพุทธเจ้า 7 พระองค์นี้ ทรงปราศจากตัณหา ไม่ทรงถือมั่น ทรงหยั่งถึงความสิ้นกิเลส เสด็จอุบัติแท้โดย "ธรรมกาย" ผู้คงที่ ทรงเอ็นดูอนุเคราะห์สัตว์ทั้งหลาย ได้ทรงแสดงธรรม คือ อริยสัจ 4 อันได้แก่ ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ (สมุทัย) ความดับทุกข์ (นิโรธ) ทางเป็นที่สิ้นทุกข์ (มรรค) เป็นทางไม่เป็นไปแห่งทุกข์ อันไม่มีที่สุดในสงสาร เพราะกายนี้แตกและเพราะความสิ้นชีวิตนี้ การเกิดในภพใหม่อย่างอื่นมิได้มี เราเป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากสรรพกิเลสและภพทั้งปวง
thai gritหมายความว่าหลวงพ่อสดปล่อยให้ลูกศิษย์เดินผิดต่อไป?
เราไม่ทราบแน่ชัดว่า หลวงพ่อสดท่านได้มีการทำความเข้าใจเรื่องธรรมกายต่อลูกศิษย์ลูกหาท่านหรือไม่ ? อย่างไร ? หลังจากที่ท่านได้ฝึกกรรมฐานกับหลวงพ่อโชดกวัดมหาธาตุแล้วแต่เรื่องนี้ ถ้าคิดกันอย่างเรา ๆ...ก็มองว่ามันเป็นเรื่องยากที่จะไปแก้ความเข้าใจผิด ๆของผู้คนจำนวนมาก หลังจากที่ได้แพร่กระจายไปเยอะแล้วแม้ในปัจจุบัน ถ้าว่ากันด้วยหลักฐานที่เป็นต้นฉบับอย่างพระไตรปิฎกของเราที่ยึดถือกันอยู่ ผู้คนก็ยังไม่เข้าใจว่าทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นมาตรฐานที่จะตัดสินว่า อะไรใช่หรือไม่ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้าเมื่อไม่เข้าใจ ก็จึงพยายาม "ตะแบง" ออกไป โดยไปเอาพระไตรปิฎกจีนบ้าง หรือจากที่อื่นบ้างมาอ้าง เพื่อจะทำให้เรื่องธรรมกายเป็นจริงเป็นจังขึ้นมา ทั้ง ๆที่ในพระไตรปิฎกของเราเอง เรื่องธรรมกายไม่ใช่เรื่องเด่น หรือสำคัญอะไรที่ต้องไปพิจาราณาเป็นพิเศษสุดท้าย ไม่รู้จะอ้างอะไร ก็ไปอ้างผลการปฏิบัติของตน ๆ ว่าธรรมกายเป็นอย่างนี้อย่างนั้น เพราะตนได้ปฏิบัติเห็นเป็นอย่างนั้นทั้ง ๆที่นำมาอ้างไม่ได้เลย...!!!
วัดพระธรรมกายก็ไม่ได้ผิดเพี้ยนสอนถูกต้องอย่าอคตินักเลยคะ...เคยเข้าไปฝึกไปฟังไปได้ยินไปสัมผัสมั้ย...ตอบเลยคะไม่เคย...อคติล้วนๆคะ
แน่ใจ.หรือ โอภาส คือแสงสว่าง จะเป็นรูปตามจิตหรือเจตสิกปรุงแต่ง ธรรมกายจัดอยู่ในกลุ่มนี้ อย่าติดอยู่เลย เสียเวลาเปล่า ชั้นนี้เรียกญาณ3คือุทยัพญาณ ให้กำหนด เห็นหนอๆดึงสติกลับมามันจะดับ ..มันเป็นวิปัสสนูกิเลสนะ...สิบอกให้.
@northlucifer ผมคิดว่าคุณคงมีความแค้นกับวัดพระธรรมกายมาก แต่จงแยกให้ออกระหว่าง วิชาธรรมกาย กับวัดพระธรรมกายนะคับ การกล่าวว่าวิชาธรรมกายเป็นของนอกรีดนั้น มันแสดงให้เห็นว่าคุณไม่มีปัญญา ในการคิดอ่าน วิเคราะห์เลย ธรรมกายมีในพระไตรปิฏก มากมายหลายแห่งมากกว่า 20 จุด ดังนั้นหาก ไม่รู้จริงอย่าแสดงความเห็น โดยเพราะว่าคุณไม่ชอบวัดธรรมกาย วัดพระธรรมกายไม่มีคนเป็นวิชาธรรมกายแม้แต่คนเดียว ตั้งแต่เจ้าอาวาสยันลูกศิษย์ หากท่านต้องการพิสูจน์ว่าวิชาธรรมกาย มีจริงหรือไม่ เชิญพิสูจน์ ได้ที่วัดปากน้ำในวันอาทิตย์.
นาทีที่ประมาน 30
บ่นไรกัน กูรู้แค่ทำดีไม่หวังผล และไม่เบียดเบียนผู้อื่นเป็นพอ ไม่ทำให้คนอื่นเดือดร้อน
วิชชาธรรมกายเป็นการปฏบัติสมาธิภาวนาแบบสมถะภาวนา ใช้อาโลกกสิณ คือ กศิณแสงสว่างเป็นแนวปฏิบัติ ซึ่งส่วนใหญ่จะรู้กันดีว่าเป็นปนวทางที่ง่ายกว่าแนวสติปัฎฐาน 4 ซึ่งเป็นแนววิปัสสนากรรมฐาน เมื่อปฏิบัติได้ถึงธรรมกายในระดับต้นแล้วถ้าปฏิบัติต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ก็จะได้ธรรมกายที่ละเอียดขึ้น ในระดับที่สูงขึ้น จนถึงธรรมกายอรหัตผล แต่ในการปฏิบัติแรกเริ่ม ถ้าใช้นิมิตเป็นองค์พระแก้วใส ก็จะยังแยกไม่ออกว่าองค์พระนั้นเป็นนิมิตหรือเป็นธรรมกาย ก็เท่านั้น
แสดงธรรมแบบนี้ก็ล้วนแต่ท่องจำมาทั้งสิ้น ท่องจำเก่งก็สอบป.๙ได้เร็ว และก็ลาสิกขาบทออกไปรับเงินเดือน เสพเมถุน เสพสุรา เสพอำนาจ จะเห็นได้ชัดมากที่สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ มหาเถรสมาคมแห่งชาติ สมาคมพุทธศาสนาแห่งชาติ สมคมพุทธศาสนา เริ่มต้นด้วย ก........ฮ......ท่านเหล่านี้ไม่มีความรู้ ไม่มีความกล้าหาญพอจะชี้ชัดให้คนโง่อย่างเราเห็นความผิดของธัมมชโย
ผิดแล้ว ท่านสอนได้ชัดเจนมากหากจะอธิบายวิชชาธรรมกายของแท้ องค์นี้พระอริยบุคคล นะครับ ไม่เกี่ยวข้องกับวัดพระธรรมกาย องค์นี้วิชชาธรรมกายตามแบบหลวงพ่อสด วัดปากน้ำครับ
ธรรมกายกับธรรมกายาราม อันเดวกันป่าววะ กู งง
วัดเสาลินสร้างภาคยนต์ เรื่องไซร์อิว เทพวานรบุกสวรรค์..
ขอน้อมกราบสาธุเจ้าค่ะ
ธรรมกายก็คือ ยิ่งทำมากก็ได้มากและขึ้นจานบินย้ายไปอยู่ดุสิตบุรี หึหึ
ต้องแยกกันครับ อันนั้นเป็นแนววัดพระธรรมกาย ไม่ใช่ แนวตามความเป็นจริงของหลวงพ่อสด แต่องค์นี้ตามแบบฉบับ (สองสำนักนี้ไม่ข้องเกี่ยวกันครับ) องค์นี้พระอริยะบุคคลแท้
ธรรมกายพวกทำชัวโก้งประชาชน
ธรรมกายคือ ชิตังเม โป้ง รวย
ลูกขวาน ขอรับ วัดหลวงพ่อสดไม่ได้เกี่ยวข้องกับวัดธรรมกายคับ ถึงแม้ว่าจะนับถือครูบาอาจารย์รูปเดียวกันแต่บางอย่างก็สอนไม่เหมือนกันคับวัดหลวงพ่อสด อยู่ราชบุรี วัดนี้ของแท้คับ
เอมอร เดชอุดม คุณนี่เคยฟังสมเด็จช่วงพูดมั่งไม๊ วัดปากน้ำกับวัดธรรมกาย เป็นวัดพี่วัดน้อง รึว่าเป็นวัดเดียวกัน ช่วงเขาว่างี้ผมก็ต้องเชื่อ สรุปแล้วธรรมกายก็คืออวิชชา อย่าไปหลงมันเลยครับคุณเอมอร
ลูกขวาน ขอรับ แต่นี้วัดหลวงพ่อสดธรรมกายารามเกี่ยวไรกันล่ะกับวัดปากน้ำ
ลูกขวาน ขอรับ กรรมหนักจริงๆ
เข้าใจได้ว่านี่คือธรรมกายที่แท้จริง
เข้าวัดมากหลงพระหลงเจ้าแต่ก็ไปบ้าง
กราบขอบพระคุณพระเดชพระคุณหลวงพ่อเจ้าค่ะ
สาธุหลวงพ่อ ท่านบรรยายธรรม แจ้ง ฟังเข้าใจ ตรงกับหลวงปู่สด สาธุสาธุสาธุ❤
น้อมกราบพระเดชพระคุณหลวงพ่อ
น้อมกราบสาธุเจ้าค่ะ
การทำสมาธิ ก็เพื่อเจริญสติ นั้นคือต้องปฏิบัติสมาธิให้เกิดสติทุกขณะจิต การนั่งสมาธิเป็นเพียงแค่แบบฝึกหัดขั้นต้นวิธีนึงเท่านั้น ให้เรียนรู้ว่าจะสร้างสมาธิได้อย่างไรจึงจะมีสติ ให้เกิดสัมปชัญญะได้ต่อไป เพื่อมาพัฒนากาย วาจา ใจ ให้เจริญขึ้น ขอให้พิจารณาเทอดท่านผู้เจริญ
ธรรมะคือการปฏิบัตสัมผัสได้ด้วยใจเรียกอีกอย่างว่าธรรมชาติทุกสิ่งอย่างเป็นผลจากตามการกระทำคือคำสอนดั้งเดิมจากพระพุทธเจ้า ธรรมกายคือการปฏิบัตที่สัมผัสได้ด้วยกายคือธรรมที่ต้องมีวัถุเป็นสิ่งแลกเปลี่ยนเสมอ ใช้ใจสัมผัสไม่ได้ต้องใช้ตามองเห็นเท่านั้น บุญของธรรมะใช้การทำความดีแลกมา แต่บุญของธรรมกายใช้เงินทองที่นำไปถวายเป็นการแลกบุญสะสมมากบุญก็มากตาม พุทธศาสนาชนสามารถเลือกที่จะสะสมบุญได้ตามแบบที่ชอบและเชื่อเถอะ สาธุ
ท่านเป็นครูบาอาจารย์วิชชาธรรมกายตามแบบหลวงพ่อสดแห่งวัดปากน้ำ โดยแท้ครับ ท่านไม่เกี่ยวข้องอันใดกับลัทธิธรรมกายเลยนะครับ ของท่านวิชชาธรรมกายแท้ แต่วัดพระธรรมกายเป็นของธรรมปลอม ขอให้พิจารณาด้วยครับ องค์นี้พระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
วิชชาธรรมกาย ไม่มีในคำสอนของพระพุทธเจ้า มีแต่ในคำเทศนาของหลวงพ่อสด และลูกศิษย์ของท่านนำมาขยายความต่อเท่านั้น...!!!
วิชชาธรรมกาย เป็นเพียงสมมุติบัญญัติขึ้นครับ อีกอย่างพระไตรปิฏกที่มี ณ ปัจจุบันก็ใช่ว่าครบถ้วยสมบูรณ์ และคำว่าธรรมกายนั้น (กายธรรม) ปรากฏในฝ่ายมหายาน อันเป็น 1 ใน 3 ของกายพระตถาคตเจ้าครับ
คุณบอกว่า "อีกอย่างพระไตรปิฏกที่มี ณ ปัจจุบันก็ใช่ว่าครบถ้วยสมบูรณ์" เพราะคุณไม่รู้จักพระไตรปิฎกดีเพียงพอ...!!!
เมื่อไม่รู้จักพระไตรปิฎกดีเพียงพอ คุณก็เลยไม่เห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก คุณจึงไม่รู้ว่าทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นเกณฑ์ หรือเป็นมาตรฐานที่ตัดสินว่าอะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือไม่ใช่...!!!
ถ้าคิดว่า "อีกอย่างพระไตรปิฏกที่มี ณ ปัจจุบันก็ใช่ว่าครบถ้วยสมบูรณ์" ทำไมคุณจึงเชื่อว่าอาจารย์ของคุณ(ในคลิปนี้)บวชเป็นพระถูกต้องตามพระธรรมวินัยของพระพุทธองค์...??? เพราะท่านก็บวชมาโดยใช้บทบัญญัติที่บันทึกไว้ในพระไตรปิฎกของเรานี้ โดยไม่ได้เกี่ยวข้องกับฝ่ายมหายานแต่อย่างใด...!!!
แต่ครั้นพอพูดถึงคำสอนที่สอนกันโดยไม่มีในพระไตรปิฎก คุณก็อ้างว่าพระไตรปิฎกของเราไม่สมบูรณ์ ต้องไปอ้างถึงคัมภีร์ฝ่ายจีนมาช่วย
คุณจึงกำลังทำสิ่งที่เรียกว่า "ทำพระธรรมวินัย" ซึ่งเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าให้วิปริต...!!!
พระไตรปิฏกผมศึกษาเอาเพียงแก่นเช่น อานาปานสติสูตร มหาสติสัมปัฏฐาน4 ปฏิจมุปปบาท ธาตุ4 และอาการ32 รวมไปถึงกรรมฐาน 40 กองหมวดที่เหลือบ้าง เพราะผมเชื่อว่าต่อให้อ่านพระไตรปิฏกทั้งเล่มก็ใช่ว่าจะสำเร็จอรหันต์ได้เลยทันทีเพราะคำสอนพระพุทธเจ้าไม่ใช่เข้าใจง่ายขนาดนั้นต้องปฏิบัติถึงจะเข้าใจชัด ส่วนที่ไม่มีในพระไตรปิฏก ก็เช่น เรื่องการแบ่งภาคจิตของผู้บำเพ็ญพุทธภูมิสู่โลกทิพย์เมื่อสำเร็จพระอนาคามีขั้นสูงสุดจะมีอีกกายในโลกทิพย์(ผมยืนยันว่ามีอยู่จริงเรื่องการแบ่งภาคจิตแม้ไม่มีในพระไตรปิฏก) การมีอยู่หรือไม่มีอยู่ของพระศิวะและมหาเทพในฮินดู เป็นต้น ส่วนที่ผมเชื่อว่าหลวงป๋า ท่านบวชถูกต้องและปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมวินัยเพราะ สิ่งที่ท่านปฏิบัติและสอนตรงตามพระกรรมฐาน 40 กอง อันได้แก่ การเจริญกสิณแสง มโนมยิทธิ และมหาสติสัมปัฏฐานสี่ และอริยสัจ4 ที่มีศีล สมาธิ ปัญญา ครบถ้วน ทั้งหมดไม่ได้ออกนอกคำสอนของพระพุทธเจ้าเลยแม้แต่น้อย เพราะทั้งหมดตั้งไว้ในกรรมฐาน40 กองตรงตาม คัมภีร์วิสุทธิมรรคทั้งสิ้น ส่วนการวิปัสสนากรรมฐานนั้นขึ้นอยู่กับจริตส่วนบุคคล ซึ่งอันนี้เป็นส่วนของปัญญาในการสำเร็จ บางคนอาจจะพิจารราความไม่เที่ยงของฌาณ อรูปฌาณ ความไม่เที่ยงของรูป-นาม หรือความไม่เที่ยงของธรรมกายในแต่ละรูปกายธรรม เป้นต้น ส่วนชื่อวิชชาธรรมกายก็เป็นเพียงสมมุติให้มีชื่อขึ้น เช่น มโนมยิทธิ มหาสิตสัมปัฏฐานสี่ อาการ32 กสิณ10 ทั้งหมดนี้ก็เป็นสมุติบัญญัติว่ามันเป็นแบบนี้อย่างนี้ทั้งสิ้นครับ อย่างกรณีการปฏิบัติของผมก็กึ่งอานาปานสติสูตร (ดูลมหายใจเข้าออกที่ท้อง) และกึ่งวิชชาธรรมกาย (เห็นวงกลมแก้วจากศูนยืกลางกาย)และโคจรลมปราณพลังจักรวาลตามแบบลัทธิเต๋า(เมื่อจะออกจากสมาธิ) และวิปัสสนาในอุปจารสมาธิ (ธาตุ4 อาการ32 อสุภะ) ถ้าผมจะบัญญัติขึ้นมาบ้างก็ทำได้นะครับ เพราะผมก็ไม่ได้ทำตรงตามพระไตรปิฏก เพราะโคจรพลังจักรวาล
เพิ่มเติมนะครับ พิจารณา พระพุทธประวัติจากพระโอษฐ์ "ดูก่อนอนุรุทธะ ท.! ความรู้ได้เกิดแก่เราว่า สมัยใดสมาธิของเราน้อยสมัยนั้นจักขุก็มีน้อย, ด้วยจักขุอันน้อย เราจึงจำแสงสว่างได้น้อย เห็นรูปก็น้อย.สมัยใดสมาธิของเรามากไม่มีประมาณ สมัยนั้นจักขุของเราก็มาก ไม่มีประมาณ,ด้วยจักขุอันมากไม่มีประมาณนั้น เราจึงจำแสงสว่างได้มากไม่มีประมาณเห็นรูปได้มากไม่มีประมาณ, ตลอดคืนบ้าง ตลอดวันบ้าง ตลอดทั้งคืนทั้งวันบ้าง." พระพุทธเจ้าทรงใช้โอภาสนิมิต(กสิณแสง) และรูปนิมิตบ้าง (มโนมยิทธิ) เป็นสมถะกรรมฐาน เพียงแต่ส่วนมากพระองค์ใช้อานาปานสติสูตรเป็นเบื้องบาทปฏิบัติสมถะครับ ซึ่งสองส่วนก่อนนี้ตรงกับวิชชาธรรมกายตามที่ผมกล่าวไว้ชัดเจนว่ามีอยู่จริง เพียงแต่ไม่ได้บัญญัติชื่อว่าวิชชาธรรมกายเท่านั้นเองครับ เพราะวิชชาธรรมกาย ประกอบด้วย กสิณแสง-มโนมยิทธิ-มหาสติสัมปัฏฐาน4 ตามลำดับ ส่วนวิปัสสนาขึ้นอยู่กับจริตแต่ละบุคคล
ด้วยอานุภาพธรรมกาย
เป็นธรรมเครื่องบำบัดทุกข์ บำรุงสุข
นับเป็นธรรมาวุธอันคมกล้ายิ่งนัก
ไม่ควรที่ผู้ไม่รู้ จะพึงวิพากษ์วิจารณ์โดยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
เพราะจะมีผลดุจเดียวกับเด็กทารกลูบใบมีดอันคมกริบเล่น
หรือเข้าทำนองเด็กกำถ่านไฟ
เพราะภาคมารนั้นสอดละเอียด"อวิชชา" เข้ามาในธาตุธรรมเห็นจำ คิดรู้ ของสัตว์ ปิดหู ปิดตา ปิดใจของสัตว์
มิให้เห็นนรก สวรรค์ นิพพาน ตามที่เป็นจริง
ไม่รู้จักบาปบุญคุณโทษ ทั้งลับและเปิดเผย
ก็หลงคิดผิด เห็นผิด รับรู้ผิดๆ จึงพูดผิดๆ กระทำผิด
สอนคนอื่นผิดๆ หรือหลงตามผู้อื่นผิดๆ
แล้วภาคมารก็เก็บเหตุนั้นส่งไปปรุงเป็นวิบากให้ผล
(ผลอกุศลกรรม) เป็นเหตุให้เป็นความทุกข์ในภพปัจจุบัน
และภพหน้าที่เป็นทุคติ เพราะผลจากความชั่วที่สัตว์โลกหลงปฏิบัติตามอธรรมของเขาทั้งสิ้น
ส่วนภาคพระก็พยายามประมูลฤทธิ์ในธาตุธรรมที่สุดละเอียดของสัตว์ เพื่อสอดละเอียด"วิชชา" เปิดหู เปิดตา เปิดใจของสัตว์
ให้รู้ ให้เห็นนรก สวรรค์ นิพพาน ตามที่เป็นจริง
ให้รู้จักบาปบุญคุณโทษทั้งลับและเปิดเผย
เพื่อให้สัตว์โลกได้รู้ถูกเห็นถูก นำคนอื่นถูกๆ
ให้ได้รับผลที่เป็นความเจริญรุ่งเรืองและสันติสุข
ด้วยมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และที่สุดของความพ้นทุกข์
เป็นบรมสุข คือพระนิพพาน
สาธุครับ หลวงป๋าท่าน กล่าวไว้ชัดเจนมากครับ
กราบสาธุครับ
การฝึกตามวิชชาธรรมกาย จุดประสงค์หลักอันเดียวกัน ไม่ว่าวัดไหน หรือ สำนักไหนก็ตาม
คนต่างหากที่ทำให้เพี้ยนไป ให้ดูที่ตัวเราเป็นหลักก่อน เข้าวัดจะเอาอะไร จุดประสงค์อะไร
เพ่งโทษ จับผิด เงินทอง ลาภ บุญ บาป เลือกเอาครับ
สาธุ
อนุโมทนาบุญด้วยเจ้าคะ...
น่ารัก
กราบขอบพระคุณหลวงพ่อ ให้ความกระจ่าง เกี่ยวกับคำว่าธรรมกาย ทำให้รู้สึกอยากไปทุกๆวัด ที่สอนวิชาธรรมกาย รวมทั้งวัดพระธรรมกาย ที่กำลังโด่งดัง เป็นที่สนใจ อยู่ในขณะนี้
สาธุ หลวงพ่อ ได้กล่าวไว้ได้เจริญแล้ว
การสนทนาธรรมได้ประโยชน์ทุกครั้ง
สาธุ สาธุ สาธุ
สาธุ สาธุ ผมเป็นคนไม่ค่อยชอบวัดพระธรรมกายของธัมชโยนะครับเพราะดูแล้วธรรมกายของธัมชโยดูไม่ค่อยจะดี แต่เมื่อผมฟังคลิปนี้แล้วก็รู้สึกว่าธรรมกายเนี้ยก็รู้ว่าธรรมกายคือสภาวะหนึ่งที่บริสุทธิ์แต่ถูกอาสวะปกปิดไว้แต่สามารถบรรลุได้ดั่งหลักตถาคตครรภ์ในหลักของพุทธศาสนานิกายมหายาน พอฟังแล้วก็ได้รู้เรื่องดีๆมากขึ้นขอบคุณผู้ที่ลงคลิปด้วยนะครับ
เจษฎา ทุ่มนุ่ม ขออภัย..ท่านว่ากันแต่เรื่องทิพย์อำนาจต่างๆ ซึ่ง*ผิด*มากๆจากหลักพุทธธรรม คือไม่ถือเป็นสำคัญ หัวใจอยู่ที่สมาธิทำให้ใจสงบ ละจากกิเลส รัก โลภ โกรธ หลง เหตุของทุกข์ ---ดับทุกข์ ไม่ให้สนใจภาวะทิพยอำนาจจากญาณ--นั่นก็ หลง-หลงอำนาจ ยังไม่หลุดพัน ถึงยังพระนิพพานใดๆเลย แต่นึกว่าเหนือมนุษย์-ท่านเรียกว่า-วิปัสสนึก..มิใช่ วิปัสสนา พุทธปัญญาใดๆ
+Chanarong Suphavejkornkij วิชชาธรรมกายยังเป็นเพียงสมถะกรรมฐาน ยังจะต้องไปต่อ คือยกจิตขึ้นสู่วิปัสนากรรมฐาน จึงจะเกิดปัญญาพิจารณาไปตามลำดับขั้นมาถึงตรงนี้ก็สุดแท้แต่บารมีว่าจะละกิเลสคือพญามารได้หมดทุกกองหรือไม่
Ekapong Promgird สาธุ สาธุ สาธุค่ะขอบคุณ
+เจษฎา ทุ่มนุ่ม ท่านนี้ไม่เกี่ยวข้องกับวัดพระธรรมกายครับ (เสมือนน้ำจืดกะน้ำเค็ม) ของท่านเป็นวิชชาธรรมกายที่ถูกต้องตามแบบฉบับหลวงพ่อสดครับ ต่างจากธัมมี โดยสิ้นเชิง
+Ekapong Promgird เข้าใจผิดแล้วครับ วิชชาธรรมกายยังมีต่อในหมวดวิปัสสนาคือ มหาสติสัมปัฏฐานสี่ ดูกายในกาย ครับเข้าสู่วิปัสสนา เมื่อกายหนึ่งเกิดขึ้นกายนั้นก็ตั้งอยุ่และดับไปตามไตรลักษณ์ครับ
ถูกก็ธรรม ผิดก็เป็นธรรม เฉยก็ธรรม เพียงแต่เราไปเข้าใจ ทั้ง 3 สิ่งนี้ เราก็ไม่ทุกข์แล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่บน 3โลกธาตุนี้ เป็นโลกสมมุติทั้งสิ้น แล้วเราจะเอาอะไรอีก (ทุกอย่างเป็นแค่โวหารบัณยัติ)สมมุติทั้งสิ้น แยกจิต ออกจากขันต์ห้าได้ ก็ นิพานแล้ว
สัมมา อะระหัง..สาธุสาธุสาธุ ในธรรมของพระพุทธองค์
สาธุ...สาธุ...สาธุ
หลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่ในสายกลางยืดหยุนพอดี มีสติและไม่ประมาท ให้ทานละซึ่งกิเลส ตรงนี้สำคัญให้ทานทำบุญคือการไม่หวังสิ่งตอบแทนแม้กระทั้งบุญ เพราะคือการละลิเลส เมตตา
ประฏิบัติดี พูดดี
ผมจำคำของสมเด็จโตจากลูกศิทย์ของท่าน มื้อใดฉันอร่อยจะคายออกมา ฉันให้อาหารที่ไม่อร่อยเพื่อละกิเลสจากรสที่ได้สัมผัส
ผมก็บวชแสนรูป แสนแรกโครงการของวัดพระธรรมกาย ผมถือว่า(ความเห็นส่วนตัว)วัดนี้ทำให้ผมรู้จักอะไรหลายๆอย่างที่ยังไม่รู้ในพระพุทธศาสนาเบื้องต้น และที่สำคัญทำให้ผมรู้จักหลวงปู่สด ซึ่งตอนนั้นผมกำลังจะไปทางเทพสามฤดูของลัทธิฮินดูซะมากแต่วัดนี้ก็ทำให้ผมมั่นใจในพระพุทธศาสนา และผมก็มาศึกษาทางเวปหลายๆแห่งเพื่อค้นหาความจริงว่าทำใมเขาว่าวัดพระธรรมกายจัง ตอนนั้นผมยังไม่รู้อะไร แต่ผมมั่นในวิชาธรรมกายอยู่นะ แต่คลอนแครงกับวัด
สาธุพวกที่มืดบอดฟังหลายๆครั่ง
สาธุครับ
ดูสถานที่พระท่านแสดงธรรม ก็พอเห็นพระคุณเจ้าชอบความหรูหราฟุมเฟือยเกินความเหมาะสมนะ ท่านยังมาอธิบายหลักธรรมกาย หรือพระนิพพานน่าฟัง แต่ดูแล้วยังหางไกลจากนิพพานนะหลวงพ่อ
สาธุ...ครับ
กราบสาธุ
การฝึกธรรมกายนั้น ย่อมไปถึงที่สุดแห่งทุกข์ได้เช่นกัน หากแต่เมื่อฝึกถึงที่สุดแห่งธรรมกายแล้ว ต้องไปต่อ ต้องฝึกสติเพิ่มให้สติเป็นปกติอารมณ์และใช้สมาธิที่ฝึกมาดีแล้วนั้นเข้าพิจารณาจะช่วยให้ท่านไปถึงที่สุดได้
การเดินทางธรรมกายนั้นหากจะเปรียบเป็นหนทางเดินสู่พระนิพพานแล้วใชร์ ก็เป็นหนทางที่ระหว่างทางมีสถานที่ท่องเที่ยวให้ท่านแวะชมมากมาย บางคนก็ติดอยู่ระหว่างทางเหล่านั้นเพราะเห็นว่าร่มรื่นดีแล้ว และด้วยเหตุว่าบางจุดในระหว่างทางรื่นรมณ์ สดชื่นจนบางคนก็สำคัญว่าคือปลายทางแล้วไม่ไปต่อกันมากมาย
ดังนั้นท่านใดที่ฝึกกรรมฐานแล้วรู้สึกว่าถึงที่สุดแล้วจะทำอย่างไรต่อดี ขอให้ฝึกต่อไปเยี่ยงที่เคยฝึกมานั่นแหละครับ
วิชาธรรมกาย คือ การทำกายของเราให้เป็นธรรม อันที่จริงก็เป็นอันเดียวกันกับ พุทโธนั้นแหละ แต่ชื่อต่างกันแค่นั้น ดูวิธีการปฏิบัติแล้ว จะเน้นไปทางกสิณ ทางอภิญญา แล้วก็เข้ามาเป็นวิปัสสนา สองอย่างนี้มีในประไตรปิฏก ไม่ต่างกันเลย.
ใช่แล้วครับ เป็นการเน้นอาโลกสิณ และ พุทธานุสติกรรมฐาน จับภาพพระ เพื่อไม่ให้หลงในอารมณ์ของกสิณ พูดง่ายๆว่า ไม่เกินที่พระพุทธองค์สอนครับ
สาธุครับ.หลวงป๋า
จากหลวงพ่อฤาษีลิงดำกล่าวถึงหลวงพ่อสดวัดปากน้ำ
การตั้งใจไว้เพื่อ นิพพาน นี่ ผมเคยถามหลวงพ่อวัดปากน้ำภาษีเจริญ เรียกว่า หลวงพ่อสด ก็แล้วกัน
วันนั้นผมไปหาท่าน ท่านยังไม่ได้เป็นพระครู ยังไม่ได้เป็นเจ้าคุณ เมื่อท่านเป็นแล้ว ท่านก็บอกว่า เขาเอาหัวโขนมาตั้งให้ มาสวมให้ แต่ฉันจะไม่เต้นไปตามจังหวะโขน ฉันจะเต้นไปตามปกติของฉันตามเดิม พระองค์นี้น่ารักมาก ผมนับถือท่านมาก
ท่านเคยบอกว่า
"ควรจะหวังพระนิพพาน ผมก็ถามว่า คนอย่างกระผมจะไปนิพพานกับเขาได้หรือครับ
ท่านก็บอกว่า เราตั้งใจไว้ก่อน เหมือนคนขึ้นยอดไม้ เธอขึ้นต้นไม้ ตั้งใจ เราจะขึ้นให้สุดยอด ถ้าบังเอิญ เราตั้งใจขึ้นสุดยอด แรงมันไปไม่ถึง มันก็ต้องไปถึงกิ่งใดกิ่งหนึ่ง เป็นที่พักจนได้ ถ้าเราตั้งใจต่ำ ดีไม่ดีมันขึ้นไม่ถึงเลย"
ท่านบอกว่า
"หวังนิพพานก็เช่นเดียวกัน ถ้ากำลังอย่างอ่อน ก็ไปค้างที่สวรรค์ได้ กำลังอย่างกลาง ก็ไปค้างที่พรหม ถ้าเราเกิดจิตไม่นิยมมนุษย์โลก เทวโลก และ พรหมโลก หรือไม่นิยมร่างกายด้วยความจริงใจ เราก็ไปนิพพาน"
#คติของหลวงพ่อสดนี้ดีมาก ขอบรรดาท่านพุทธบริษัท และญาติโยมทั้งหลาย พยายามปฏิบัติตามไว้เถอะ ตัวท่านตาย แต่ความดีของท่านยังไม่ตาย ผมยอมรับนับถือองค์นี้ท่านดีจริงๆ วิชชาความรู้นี้ ผมก็เรียนกับท่านไว้เย้อะ ที่นำมาใช้นี่ ก็เอาของท่านมาใช้เย้อะเหมือนกัน ท่านก็บอกเป็นของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ของท่าน ท่านค้นคว้าเอามา เป็นพระองค์แรก ที่ทำให้คนมีความเข้าใจเรื่องสวรรค์ เรื่องนรก ได้ชัดแจ้งแจ่มใส และเรื่องนิพพานด้วย
___________
___________
เทศนาธรรมจาก
พระราชพรหมยาน
หลวงพ่อวีระ ถาวโร
(หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)
____________
ที่มา
จากหนังสือมโนมยิทธิและประวัติของฉัน
หลวงพ่อพระราชพรหมยาน
หน้า ๑๑๔-๑๑๕
_____________
สาธุ ครับ
สาธุ สาธุ
สาธุ สาธุ สาธุ
อยากรู้ต้องลงมือทำเอง. !!.ข้าน้อยกำลังเช่นกัน.😊สงบดี
ภิกษุเอย เพียงมีศีลาจารวัตร
เพียงมีภูมิปริยัติคงแก่เรียน
เพียงพากเพียรปฏิบัติจนได้ฌาน
เพียงอยู่ในสถานสงบสงัด
ถ้าขจัดกิเลสไม่ได้หมด เธออย่านิ่งนอนใจ
ว่า เธอได้รับสุขในบรรพชา
ที่สามัญชนทั่วไปมิได้สัมผัส.......(พุทธวจนะ)
วัดนี้ (วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม) เป็นวัดเดียวกันกับ วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี หรือไม่ ?
ตอบ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เป็นคนละสำนักปฏิบัติธรรม - คนละคณะบริหาร - คนละนโยบายวัตถุประสงค์ - คนละกิจกรรม กับ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เป็นสาขาของวัดพระธรรมกาย หรือไม่ ?
ตอบ กรุณาอ่านคำตอบข้อแรก
วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เป็นสายเดียวกับวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ หรือไม่ ?
ตอบ หลวงพ่อ พระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล ป.ธ.6) เจ้าอาวาสวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เป็นศิษย์ของพระคุณหลวงพ่อ พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) รองเจ้าอาวาสและอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
พระคุณหลวงพ่อ พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) นั้นท่านเป็นศิษย์โดยตรง และสืบทอดวิชชาธรรมกายทั้งหมด จากพระเดชพระคุณ หลวงพ่อวัดปากน้ำ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)*
ส่วนเจ้าประคุณ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (วรปุญฺญมหาเถร ป.ธ.9) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ องค์ปัจจุบัน ก็เป็น พระอนุสาวนาจารย์ ของหลวงพ่อ พระเทพญาณมงคล และท่านยังเป็นรองประธานสถาบันพุทธภาวนาวิชชาธรรมกาย แห่งนี้ด้วย
หากต้องการพิสูจน์ว่าธรรมกาย เข้าถึงได้จริงหรือไม่เชิญที่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญในทุกวันอาทิตย์ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม และ สายคุณลุงการุณย์บุญมานุช ถ้าคุณไปทั้งสามที่นี้แล้ว ยังไม่เห็นคุณ ก็ตัดสินไปเลยว่าธรรมกายไม่มี จริง แต่ถ้าคุณไปครบ ทั้งสามที่ ผมยืนยันว่าคุณจะเข้าถึงธรรมกายได้อย่างแน่นอน.....นิพพานัง ปรมัง สุงขัง นิพพานเป็นเป็นสุขอย่างยิ่ง...
พบแต่ความดีไม่มีทุกข์สาธุ
สาธุ
ผมว่านะ เอาง่ายๆเลย เราควรใช้ชีวิตเราในทางที่ถูกที่ควร ไม่เบียดเบียนใครไม่รังแกใคร เป็นคนดีของสังคม ในทุกๆทาง แค่นี้ละ ผมว่านะเป็นการสรุปของแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาเลย ไม่ต้องไปอะไรมากมาย คำสอนต่างๆสุดท้ายล้วนต้องการให้เราเป็นคนดีทั้งนั้นละ (ตอบแบบผู้ไม่รุ้ อาศัยเดาจากความเป็นจริงล้วน)
ที่คุณพูดก็มีส่วนถูก...!!! แต่ปัญหาก็คือว่า แล้วคุณจะใช้แนวทางใดมาเป็นแบบในการดำเนินชีวิตล่ะ..?
ถ้าของพุทธเรา ก็มีคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นแนวทาง...แล้วคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่ที่ไหน ?
ถ้าเป็นสมัยพุทธกาล เราอาจจะไปฟังพระพุทธเจ้าตรัสสั่งสอนโดยตรง แต่ลุมาถึงปัจจุบัน คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่ในพระไตรปิฎก
หลวงปู่, หลวงพ่อ ครูบาอาจารย์ทั้งหลายที่กล่าวสอน ถ้าเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ก็จะต้องอ้างอิงจากพระไตรปิฎกเท่านั้น จะไปอ้างจากที่อื่น ๆ หรืออ้างว่ารู้ขึ้นมาเองไม่ได้...!!!
ปัญหาเรื่องธรรมกายอยู่ตรงนี้ ตรงที่มีในพระไตรปิฏก แต่ไม่ใช่แบบที่นำมากล่าวสอนจนเป็นปัญหาอยู่ในปัจจุบัน
แต่บางพวกบางกลุ่มที่นำเอาเรื่องธรรมกายมากล่าวสอนจนเกิดปัญหา ก็พยายามจะยัดเยียดให้ได้ว่า นี่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า อ้างในพระไตรปิฏกไม่ได้ ก็หันไปหยิบจากที่อื่น ๆมาอ้าง
จนถึงที่สุด อ้างอะไรไม่ได้ ก็หันไปอ้างว่าครูบาอาจารย์ของตนเป็นผู้รู้ขึ้นมาเอง...!!!
การณ์เป็นอย่างนี้ คุณว่ามันเชื่อถือได้ไหมล่ะ ?
Otato Nookhookใช่ครับ ผมเข้าในที่คุณพูดครับ ก็สำหรับผมนะครับ แค่ให้เป็นคนดีก็พอแล้วล่ะคับ 555 ทั้งทางกฎหมาย และทางจรรยาบรรครับ ทำไรก็ยึดตามหลัก พอดี พอเพียง เท่านี้เราก็จะอยู่ในสังคมได้อย่างสบายๆแล้วครับ พอได้มั้ยครับ
ของแท้จริงๆ โมทนาด้วย แต่วัดนี้ไม่ใช่วัดธรรมกายเน่อ โปรดเข้าใจ :)
ผมเกลียดวัดธรรมกายมาก แต่ผมเคารพหลวงพ่อสดและวิชาธรรมกายมากเหมือนกัน แยกให้ออก อย่าได้ยินชื่อ ธรรมกาย แล้วว่าด่ะไปซะหมด ถ้ายังทำอย่างนี้ตายไปก็ลงนรกด่ะกันทุกคนนะครับ ขอเตือน วัดธรรมกายที่ผมเกลียดนี่ผมก็เกลียดอย่างมีความรู้ และรู้ว่าเกลียดเพราะอะไร ไม่ใช่สักแต่ว่าเกลียด และไม่ได้เกลียดตามใคร และหากท่านไหนอยากทราบว่าผมเกลียดเพราะอะไรถามได้ส่วนตัวครับ ยินดีอธิบาย
Bank Chandaeng ใช่ครับ ผมละขี้เกียจตอบพวกบรรดาที่ได้ยินแค่คำว่าธรรมกายก้มาใส่ใหญ่เลยว่าหลอกลวงบ้าง ไม่ไช่พ้นทุกข์บ้าง พวกธรรมกายบ้าง ฟังแล้วรู้เลย พวกขาดการศึกษาฟังตามๆกันมา ดากันสนุกปาก แต่เห็นศิษย์สายเดียวช่วยกันตอบเยอะก้รู้สึกดีครับ
Bank Chandaeng ดั่งคำที่ว่า ตาดีก้รู้ ญาณดีก้เห็น
SN1289 Attapol คุณมีญาณหรือครับ กลับญาณแม่ได้แน้วครับ ไชยบูรณ์เรียกอยุ่บนเครื่องแล้วนะจ๊ะ
01 NT TH สรุปคุณมึงก็ยังไม่ได้สึกษาเลยหนอ เดินไปเดินมาไหนหนอ
SN1289 Attapol ผมว่าคุณมึงเลิกศึกษาเถอะ เพราะกำลังคิดว่าคุณมึงน่าจะเมาตดไชยบูรณ์มากกว่า อยุ่กับปัจุบันนะครับ อย่าฟันเฟื่อง เพราะมันยังไม่ถึง อย่านะจ๊ะ ถ้าดีจริงคงไม่มีใครเขาเกรียดได้ขนาดนี้หลอก นะจ๊ะ
อย่าเข้าใจผิด ว่าเป็นวัดพระธรรมกาย
ที่นี่วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม ท่านเผยแผ่ธรรมะเป็นธรรมทาน(ท่านไม่ได้ขาย)
หลวงป๋าสำหรับคนทั่วไปอาจไม่รู้จัก แต่สำหรับในวงการสงฆ์นั้นท่านเป็นผู้ได้รับความยกย่อง ได้รับความยอมรับและนับถือกัน เพราะท่านได้สละชีวิตตนเพื่อนพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง ทำทุกอย่างเพื่อให้พระพุทธศาสนาอยู่คู่กับประเทศไทยต่อไป ผลงานของท่านลองถามกูเกิลดูครับ
วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม กับวัดธรรมกาย คนละสำนักปฏิบัติ คนละผู้บริหาร คนละจุดประสงค์ คนละกิจกรรม แนวทางที่ถูกที่ควรเป็นจริงแท้ศึกษาได้ที่วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม ราชบุรี วัดปากน้ำภาษีเจริญ
ทำวัดเช้า.เย็นอยู่บ้านเส็รจแล้วก็นั่งสมาธิที่บ้านก็ได้คะถ้าใจสวบก็ได้อานิสงมากเหืมอนกันคตักบาตย์ทำอาหารตามปกตืตรงไหนมีสร้างโบสสร้างวัดเราก็ไปทำตามกำลังด้วยใจก็มีอนิสงฆ์
สรุปดีค่ะ
วัดนี้อยู่ ราชบุรี สายหลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ คนละวัดกับ วัดธรรมกาย สรุปอย่าเถียงกันรุนแรงนะ ยังไงก็ศาสดาองค์เดียวกันนะ สาธุ สาธุ ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา พุทโธ พุทโธ เมตตา อรหัง
ฟังแล้วงง
วัดธรรมกายกับวัดธรรมกายาราม และมีวิชาธรรมกาย
-๑๒-
บทที่ ๕ สติปัฏฐาน ๔
๑. สติปัฏฐาน ๔
สติปัฏฐาน หมายถึง ที่ตั้งของสติ คือในการเจริญอริยมรรคนั้นจะต้องมีการตั้งสติให้ถูกต้องที่เรียกว่าสัมมาสติ ซึ่งการตั้งสติที่ถูกต้องที่แสดงไว้ก็คือสติปัฏฐาน ๔ หรือที่ตั้งแห่งการระลึก ๔ อย่างอันได้แก่
๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือฐานกาย โดยใช้สิ่งที่เป็นกายมาเป็นที่ระลึก
๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือฐานเวทนา โดยใช้เวทนามาเป็นที่ระลึก
๓. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือฐานจิต โดยใช้จิตมาเป็นที่ระลึก
๔. ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือฐานธรรม โดยใช้ธรรมมาเป็นที่ระลึก
การเจริญอริยมรรคโดยสรุปก็คือ การพิจารณาขันธ์ทั้ง ๕ ให้เห็นถึงเหตุปัจจัยของมันและเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และความเป็นอนัตตาของมัน จนจิตหลุดพ้นจากความยึดมั่นในขันธ์ทั้ง ๕ นี้ ซึ่งขันธ์ทั้ง ๕ นี้ถ้าจะสรุปเป็นหมวดหมู่เพื่อนำมาพิจารณาแล้วก็จะได้ ๔ กลุ่ม คือ กาย, เวทนา, จิต, และธรรม (ธรรมชาติที่มีอยู่ในขันธ์ทั้ง ๕) ที่เรียกว่า สติปัฏฐาน ๔ คือขั้นแรกเราจะต้องพิจารณาตั้งแต่ฐานกายไปหาเวทนา, จิต, และธรรม เพื่อให้เกิดดวงตาเห็นธรรมก่อน แล้วจึงค่อยเลือกเจริญฐานใดฐานหนึ่งหรือจุดใดจุดหนึ่งที่เราชอบต่อไป
๒. หมวดกายานุปัสสนา
“ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออกเสียได้...” ซึ่งสิ่งที่จัดว่าเป็นกายนั้นก็ได้แก่
๑.อานาปานสติ คือการกำหนดสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู่ทุกลมหายใจเข้า-ออก
๒.อิริยาบถ ๔ คือการกำหนดอิริยาบถยืน เดิน นั่ง และนอนของร่างกาย
๓.สัมปชัญญะ คือการกำหนดความรู้สึกตัวทั่วพร้อมในการเคลื่อนไหวของร่างกาย
๔. อสุภะ คือการพิจารณาร่างกายว่าเป็นสิ่งปฏิกูล น่ารังเกียจ น่าขยะแขยง ไม่สะอาด
๕. ธาตุ ๔ คือการพิจารณาร่างกายว่าเกิดมาจากธาตุ ๔ ปรุงแต่งขึ้นมา
๖.มรณะสติ คือการพิจารณาถึงความตายของร่างกาย โดยการเพ่งพิจารณาจากซากศพในลักษณะต่างๆแล้วน้อมเข้ามาในร่างกายของเราเองว่าไม่พ้นที่จะต้องเป็นเช่นนั้น
๗. ทุกข์และโทษ คือการพิจารณาถึงทุกข์และโทษต่างๆที่จะเกิดขึ้นแก่ร่างกายของเรา เช่น โรคต่างๆ เป็นต้น
การพิจารณาเห็นกายในกายก็หมายถึงว่า ให้พิจารณาสิ่งที่เป็นกายแต่ละอย่างจากกายทั้งหมดที่มีอยู่ โดยพิจารณาให้เห็นจริงทั้งภายใน (คือของเราเอง) และภายนอก (คือของคนอื่น) และมีปรกติพิจารณาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้เห็นปัจจัยอันปรุงแต่งให้กายนี้เกิดขึ้นมาบ้าง ให้เสื่อมไปบ้าง ทั้งเกิดและเสื่อมบ้าง หรือเมื่อกายนั้นเกิดขึ้นแล้วตั้งอยู่ต่อหน้า ก็กำหนดว่าเป็นเพียงเพื่อให้เกิดความรู้ (ญาณ) เพื่ออาศัยระลึก อย่าให้ตัณหา (ความอยาก ซึ่งก็คือ ความพอใจและไม่พอใจ) และทิฏฐิ (ความเห็นที่ยึดถือไว้ไม่ยอมวาง) เกิดขึ้น และไม่ยึดมั่นอะไรๆในโลกด้วย (คือไม่ยึดมั่นสิ่งใดๆว่าเป็นตัวตน-ของตน)
๓. หมวดเวทนานุปัสสนา
“ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออกเสียได้...”
ซึ่งสิ่งที่จัดว่าเป็นเวทนาก็ได้แก่
๑. เมื่อเสวยเวทนาอันเป็นสุข ก็ย่อมรู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันเป็นสุข
๒. เมื่อเสวยเวทนาอันเป็นทุกข์ ก็ย่อมรู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันเป็นทุกข์
๓. เมื่อเสวยเวทนาอันเป็นอทุกขมสุข ก็ย่อมรู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันเป็นอทุกขมสุข
๔. เมื่อเสวยเวทนาใดๆอันประกอบด้วยอามิส (กามารมณ์) ก็ย่อมรู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันประกอบด้วยอามิส
๕. เมื่อเสวยเวทนาใดๆอันไม่ประกอบด้วยอามิส ก็ย่อมรู้ชัดว่าว่าเราเสวยเวทนาอันไม่ประกอบด้วยอามิส (เช่น สุขเวทนาจากสมาธิ เป็นต้น)
การพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายก็หมายถึงว่า ให้พิจารณาสิ่งที่เป็นเวทนาแต่ละอย่างจากเวทนาทั้งหมดที่มีอยู่ โดยพิจารณาให้เห็นจริงทั้งภายในและภายนอก และมีปรกติพิจารณาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้เห็นปัจจัยอันปรุงแต่งให้เวทนานี้เกิดขึ้นมาบ้าง ให้เสื่อมไปบ้าง ทั้งเกิดและเสื่อมบ้าง หรือเมื่อเวทนานี้เกิดขึ้นแล้วตั้งอยู่ต่อหน้า ก็กำหนดว่าเป็นเพียงเพื่อให้เกิดความรู้ เพื่ออาศัยระลึก อย่าให้ตัณหาและทิฏฐิเกิดขึ้น และไม่ยึดมั่นอะไรๆในโลกด้วย
๔. หมวดจิตตานุปัสสนา
“ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออกเสียได้...”
สิ่งที่เป็นจิตก็ได้แก่
๑.เมื่อจิตมีราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ
๒.เมื่อจิตปราศจากราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตปราศจากราคะ
๓.เมื่อจิตมีโทสะ ก็รู้ชัดว่าจิตมีโทสะ
๔. เมื่อจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ชัดว่าจิตปราศจากโทสะ
๕. เมื่อจิตมีโมหะ ก็รู้ชัดว่าจิตมีโมหะ
๖.เมื่อจิตปราศจากโมหะ ก็รู้ชัดว่าจิตปราศจากโมหะ
๗. รู้ชัดซึ่งจิตหดหู่ ว่าจิตหดหู่
๘. รู้ชัดซึ่งจิตฟุ้งซ่าน ว่าจิตฟุ้งซ่าน
๙. รู้ชัดถึงความเป็นจิตใหญ่ (อยู่ในฌาน) ว่าถึงแล้วซึ่งความเป็นใหญ่
๑๐. รู้ชัดถึงความเป็นจิตอันไม่ถึงความเป็นจิตใหญ่ ว่าถึงแล้วซึ่งความเป็นจิตอันไม่ถึงความเป็นจิตใหญ่
๑๑. รู้ชัดถึงจิตอันมีจิตอื่นยิ่งกว่า (มีอารมณ์อื่นมาแทรก) ว่าจิตยังมีจิตอื่นยิ่งกว่า
๑๒. รู้ชัดถึงจิตอันไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า
๑๓. รู้ชัดซึ่งจิตอันตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) ว่าจิตตั้งมั่น
๑๔. รู้ชัดซึ่งจิตอันไม่ตั้งมั่น ว่าจิตไม่ตั้งมั่น
๑๕. รู้ชัดซึ่งจิตอันหลุดพ้นแล้ว ว่าจิตหลุดพ้นแล้ว
๑๖. รู้ชัดซึ่งจิตอันยังไม่หลุดพ้น ว่าจิตยังไม่หลุดพ้น
การพิจารณาเห็นจิตในจิตก็หมายถึงว่า ให้พิจารณาจิตแต่ละอาการจากอาการทั้งหมดของจิต โดยพิจารณาให้เห็นจริงทั้งภายในและภายนอกและมีปรกติพิจารณาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้เห็นปัจจัยอันปรุงแต่งให้จิตนี้เกิดขึ้นมาบ้าง ให้เสื่อมไปบ้าง ทั้งเกิดและเสื่อมบ้าง หรือเมื่อจิตนี้เกิดขึ้นแล้วตั้งอยู่ต่อหน้า ก็กำหนดว่าเป็นเพียงเพื่อให้เกิดความรู้ เพื่ออาศัยระลึก อย่าให้ตัณหาและทิฏฐิเกิดขึ้น และไม่ยึดมั่นอะไรๆในโลกด้วย
๕. หมวดธรรมานุปัสสนา
“ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออกเสียได้...”
สิ่งที่เป็นธรรมก็ได้แก่
๑.นิวรณ์ ๕ โดยการพิจารณาให้รู้ชัดว่านิวรณ์แต่ละอาการมีอยู่, ไม่มีอยู่, เกิดขึ้นอย่างไร?, ละไปแล้วอย่างไร?, ไม่เกิดขึ้นมาอีกอย่างไร?
๒.อุปาทานขันธ์ ๕ โดยพิจารณาให้เห็นชัดว่าขันธ์แต่ละขันธ์เป็นอย่างไร?, เกิดขึ้นอย่างไร?, ความดับสลายไปเป็นอย่างไร?
๓.อายตนะภายในและภายนอกอย่างละ ๖ โดยพิจารณาให้เห็นชัดว่าอายตนะแต่ละคู่เป็นที่อาศัยเกิดขึ้นของสังโยชน์อย่างไร?, รู้ชัดว่าไม่เกิดอย่างไร?, ว่าละไปอย่างไร?, ไม่เกิดขึ้นอีกอย่างไร?
๔. โพชฌงค์ ๗ โดยการพิจารณาให้เห็นชัดว่า โพชฌงค์แต่ละตัวๆนั้นมีอยู่, ไม่มีอยู่, เกิดขึ้นอย่างไร?, เจริญเต็มรอบแล้วอย่างไร?
๕. อริยสัจ ๔ โดยพิจารณาให้เห็นชัดตามที่เป็นจริงว่านี้คือทุกข์, นี้คือเหตุแห่งทุกข์, นี้คือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นหนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
การพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายก็หมายถึงว่า ให้พิจารณาธรรมแต่ละอย่าง จากธรรมทั้งหมด (คือธรรมที่ทำให้เกิดทุกข์และใข้ดับทุกข์) โดยพิจารณาให้เห็นจริงทั้งภายในและภายนอกและมีปรกติพิจารณาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้เห็นปัจจัยอันปรุงแต่งให้ธรรมนี้เกิดขึ้นมาบ้าง ให้เสื่อมไปบ้าง ทั้งเกิดและเสื่อมบ้าง หรือเมื่อธรรมนี้เกิดขึ้นแล้วตั้งอยู่ต่อหน้า ก็กำหนดว่าเป็นเพียงเพื่อให้เกิดความรู้ เพื่ออาศัยระลึก อย่าให้ตัณหาและทิฏฐิเกิดขึ้น และไม่ยึดมั่นอะไรๆในโลกด้วย
๖. การเห็นแจ้งในกาย เวทนา จิต ธรรม
สติปัฏฐาน ๔ นี้ก็คือหลักปฏิบัติของอริยมรรคโดยละเอียด โดยขั้นต้นจะเป็นการศึกษาให้เกิดความรู้ในเรื่องของร่างกาย, ความรู้สึก (เวทนา), จิต, และธรรม ว่ามันอาศัยปัจจัยอะไรเกิดขึ้นมา และดับไปเพราะขาดปัจจัยอะไร เพื่อให้เกิดความรู้ที่ถูกต้องตามที่มันเป็นอยู่จริงของธรรมชาติ (เกิดดวงตาเห็นธรรม) ไม่ใช่การคาดเดาหรือจินตนาการเอาตามตำราหรือตามที่คนอื่นเขาบอกมา และขั้นต่อไปก็คือการปฏิบัติเพื่อทำลายรากเหง้าของอวิชชาที่ฝังอยู่ในจิตใต้สำนึก โดยเราอาจจะเลือกปฏิบัติเฉพาะฐานใดฐานหนึ่งก็ได้ตามแต่เราจะชอบ หรือจะมีการเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาในแต่ละฐานก็ได้ โดยจะต้องมีสติรู้ตัวว่ากำลังปฏิบัติในฐานใดอยู่ และไม่ออกนอกขอบเขตของฐานทั้ง ๔ นี้ ซึ่งการปฏิบัตินั้นก็คือการพิจารณาหรือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ จนรากเหง้าของอวิชชาได้หมดสิ้นไปจากจิตใต้สำนึกของเรา
ในการปฏิบัติสติปัฎฐาน ๔ จริงๆนั้น ถ้าเราตั้งใจเพ่งพิจารณาฐานใดฐานหนึ่งอยู่ ก็จะทำให้มีการพิจารณาฐานที่เหลืออยู่ด้วยในตัว อย่างเช่น เมื่อเราตั้งใจเพ่งพิจารณาถึงความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และอนัตตาในสุขเวทนาทางตาอยู่นั้น ก็จะมีการกำหนดรู้สุขเวทนาซึ่งเป็นฐานเวทนาอยู่ ส่วนการกำหนดที่ตานั้นก็จัดเป็นฐานกาย และจิตที่เกิดราคะในสุขเวทนานั้นก็จัดเป็นฐานจิต ส่วนการพิจารณาถึงความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และอนัตตาในสุขเวทนานั้นก็เป็นฐานธรรม เป็นต้น ซึ่งเราก็ไม่จำเป็นที่จะต้องไปพิจารณาทุกฐานก็ได้ แต่ถ้าเราสามารถพิจารณาได้ทุกฐาน ก็จะทำให้เราเกิดความรู้ที่แตกฉานมากยิ่งขึ้นได้
สรุปได้ว่าการปฏิบัติฐานใดฐานหนึ่งของสติปัฏฐาน ๔ ก็เท่ากับเป็นการปฏิบัติฐานทั้งหมดด้วย และยังเป็นการทำลายอนุสัยหรือความเคยชินของกิเลสให้ลดน้อยลงด้วย ซึ่งแม้จะทำลายอนุสัยตัวใดอยู่ก็ตาม ก็จะมีการทำลายอนุสัยที่เหลือตามไปด้วย อย่างเช่น เมื่อกำลังเจริญมรณะสติอยู่ ก็จะทำให้อนุสัยของราคะลดลง พร้อมทั้งอนุสัยของโทสะกับอวิชชาก็จะลดลงตามไปด้วย เป็นต้น
พิมนตรี บัวชื่น ถ้าเข้าถึงธรรมกาย เป็นธรรมกายพระอรหันต์=พระอรหันต์นี้แหละครับ ง่ายๆก็เป็นนิพพานเป็นไงครับเป็นพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่แต่ตัวข้างในของในวิชชาธรรมกายเรียกว่าพระธรรมกายพระอรหันต์ครับ พอละจากโลกนี้ไปอยู่นิพพานสภาพกายของเราเป็นกายธรรม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าธรรมกายนี้แหละครับ ดังนั้นตรงตามพระพุทะเจ้าที่บอกว่าทำไมนิพพานถึงไม่มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เพราะกายเรามีสภาพเป็นธรรมกายครับ
กายคนเรามีสองอย่างครับคณะที่ยังมีชีวิตอยู่เราเรียกกายหยาบเเต่ที่ตายไปเเล้วลายเป็นดวงจิตแล้วเราเรียกกายทิพย์
ไม่ว่าจะเป็นคนธรรมดาหรือเข้าถึงนิพพานเเล้วก็ตามกายจะมีเเค่สองอย่างนี้เท่านั้นครับ
เมาตด ฝากระโถนใหญ่เลย เป็นตุเป็นตะ
วิชาธรรมกายยังไม่ใช่นิพพานนะครับ อย่าให้อวิชชาหรือความหลงผิดมาบดบังความจริง วิชาธรรมกายยังเป็นแค่สมถะกรรมฐานครับ ยังต้องไปต่อ มาติดแค่ตรงนี้ก็จบกัน มาได้แค่ครึ่งทาง จะไปต่อก็ต้องยกจิตจากสมถะขึ้นสู่วิปัสนาคือกำหนดรู้สภาวะธรรมต้องมีสติคอยกับกับตลอดเวลา ปัญญาก็จะเกิดตามลำดับ ครับผม
Ekapong Promgird มันบ้าครับ อย่าไปสนใจ วิชาปัญญาอ่อนเลยครับ ธรรมกาย จริงๆ เค้าก็ไม่ได้สอนเหมือน ฝากระโถน ทำกลายนะครับ สอนมั่วๆ เสือกจะไปนิพพาน ปัญญาอ่อนมาก ถ้าจริง พระพุทธเจ้าคงไม่ บำเพ็ญตั้งกี่อสงไข กี่มหากัป แค่ ทำกายปัญญาอ่อน
@@plathong505 คุณนี่ไม่เข้าใจคำว่ามาทำการบ้านตอนจบ คนเหล่านี้ไม่ได้เอาพุทธภูมิ แต่เอานิพพานคนละเรื่อง กันนะคุณ
วิชาธรรมการกับวัดธรรมต่างกันนะค่ะ วิชาธรรมกายมีจริงค่ะ แต่พวกคนเหล่านั้นเอาวิชาธรรมกายไปอ้างค่ะ
วิชาธรรมกายของพระพุทธเจ้าไม่มี...มีแต่ของหลวงพ่อสด
คล้ายกับ มโนมยิทธิ ไหมคะ
ถ้าตน รู้ธรรมเยอะแล้ว พวกเราคงไม่ต้องมานั้งทุกข์ยังงี้หรอกงับ เราคงต้องเข้านิพพานไปแล้ว
ขอแนะนำหนังสือออนไลน์ครับ คือ MD 101 MD102 MD203 MD 204 MD305 MD306 MD407 และ MD408 หนังสือสมาธิ จะบอกรายละเอียดเกี่ยวกับการฝึกสมาธิไว้ดีมากครับ อ้างถึงพระสูตร และคำสอนของหลวงปู่ได้ดีครับ
หลักคำสอนที่หลวงป๋าอธิบาย เป็นแก่นแท้ของวิชาธรรมกายตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า และพระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อสด จันทสโร ) ผู้ค้นพบและเข้าถึงธรรมกาย ผู้ที่ต้องการศึกษา เรียนรู้ หลักปฎิบัติของวิชาธรรมกาย นั้งสมาธิ เชิญที่นี้ครับ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม "อย่าไปเลยครับวัดธรรมกาย ปทุมธานี วัดนี้ไม่ได้ให้ความรู้ที่ตรงตามหลักคำสอน เอาวิชาธรรมกาย มาแสวงหาผลประโยชน์ ชักจุงผู้ที่เข้ามาเรียนรู้ศึกษา ให้หมกมุ่นในวิชาธรรมกาย ผู้สอนก็แสดงตนเป็นผู้วิเศษรู้ซึ่งถึงธรรมกาย เห็นนรกเห็นสวรรค์ ผิดเพื้อนไปหมด พิจารณาดูครับ ลูกศิษวัดธรรมกาย ประทุมธานี
Jirapat Jinawan ไปวัดไหนก็แล้วแต่ศรัทธาครับ แต่ละคนชอบไม่เหมือนกัน
สติปัตฐาณ 4 เป็นมรรควิธีที่พระพุทธองศ์บัญญัติเพื่อให้ปฏิบัติิแล้ว เข้ามรรคผลนิพพานได้ แต่ธรรมกายเป็นชื่อเรียกแทนพระพุทธองศ์ มิใช่มรรควิธี
วัดธรรมกาย กะ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม มันคนละวัดกัน และคนละจุดประสงค์การปฏิบัติ ต่างกันคนละเรื่องเลย
TheZeldio วัดพระธรรมกาย
เรื่องเล่า..เคล้าธรรม...๓๙
เรื่อง....เมื่ออาตมาไปอยู่กับหลวงพ่อสดวัดปากน้ำ
พระภาวนาวิสุทธิคุณ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) ๒๑ เม.ย .๓๕
อาตมาขอเล่าเรื่องพิเศษสักเรื่องหนึ่ง เป็นเรื่องที่มีประโยชน์ อาตมาไปอยู่กับหลวงพ่อสดสองรุ่นด้วยกัน รุ่นแรก พ.ศ. ๒๔๙๓ รุ่นที่สอง พ.ศ. ๒๔๙๖
เวลาบ่ายสองโมงมีญาติโยมมาหามาก ใครมีทุกข์ร้อนให้เขียนชื่อ นามสกุล หรือวัน เดือน ปีเกิด ก็ได้ใส่บาตรไว้ ท่านจะออกรับแขกเวลาบ่ายสองโมง อาตมาก็ไปเป็นลูกศิษย์ท่าน
นอกจากนี้ยังมีการแจกพระและรูป บูชาองค์ละ ๒๕ บาท หรือ ๓๐ บาทก็มี รูปบานละ ๒๕ บาท อาตมาได้ตำรานี้มา
วันหนึ่งอาตมาบอกหลวงพ่อว่า “ขอบูชาพระสักกำเถอะ จะนำไปแจกญาติ” ท่านบอก “ไม่ได้ ต้องเอาไปองค์เดียว” อาตมาก็ไม่ทราบว่านโยบายท่านทำไมให้องค์เดียว
อาตมาก็ไปเซ้าซี้ถามท่าน ท่านก็ตอบออกมาคำหนึ่งว่า “นี่เธอให้เธอไว้มาก ๆ ถ้าเธอโลภมากเอาไปขาย เธอเป็นบาปนะ เขาไม่ได้เคารพนับถือก็ไปเที่ยวแจกเขาส่งไป ปัญหาอยู่ตรงนี้ และอีกประการหนึ่งถ้าเขาเคารพบูชา ให้เขามารับเอง” ท่านพูดมีเหตุผล
อาตมาก็บอกว่า “หลวงพ่อครับ ญาติผมเยอะนะ” ก็ยังไปเซ้าซี้กับท่านอีก วันสุดท้ายท่านบอก “ตามใจ”
อาตมาก็บอกว่า “ตามใจ อย่าให้เป็นบาปนะหลวงพ่อนะ” หยิบใส่ย่ามมา จะเป็นบาปหรือไม่ก็ไม่ทราบ ได้มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๖ เดี๋ยวนี้ไม่มีเหลือติดย่ามสักองค์เดียว
ประการที่สอง อาตมาได้ตำราอีก เวลาพักผ่อนท่านให้เข้าไปในห้อง ท่านให้คลี่กระดาษที่คนเขียนใส่บาตร อ่านให้ท่านฟังว่า เขาเขียนให้ช่วยเรื่องอะไร
อาตมาก็อ่านชื่อ ก. ชื่อ ข. นามสกุลนี้ วัน เดือน ปี นี้ ขอให้ช่วยลูกไปต่างประเทศ ขอให้ช่วยอย่างโน้นอย่างนี้
พอท่านฟัง บอก “อื้อ! ฉีกทิ้ง” ท่านบอกว่า “แผ่ไม่ออก ช่วยไม่ได้ คนนี้ช่วยไม่ได้ พรุ่งนี้เขาจะตายแล้ว” อาตมาก็ลักจดเข้าไว้ พรุ่งนี้ตายจริง ๆ
ท่านบอกว่า “คนที่ไม่มีกุศลนะ แผ่ไม่ออก”
อีกใบหนึ่งเขียนว่า “หลวงพ่อคะช่วยดิฉันด้วยค่ะ สามีทิ้งดิฉันแล้ว เขาขอฟ้องหย่าแบ่งสมบัติ วันนั้นขึ้นศาล มีบุตรด้วยกัน ๕ คน” ก็อ่านให้ท่านฟัง
ท่านบอกว่า “รายนี้เก็บไว้ ใส่อีกบาตรหนึ่ง รายนี้ช่วยได้”
วันหลังต่อมา อาตมากราบเรียนถาม “หลวงพ่อครับ ที่ช่วยได้กับช่วยไม่ได้ เป็นอย่างไรนะครับ”
ท่านบอก “ อ่านดูก็รู้แล้ว คนนี้กุศลไม่พอ กุศลไม่มี เลยช่วยไม่ได้”
ท่านอธิบายว่า “เหมือนคนช่วยตัวเองไม่ได้ จะช่วยเขาอย่างไรได้เล่า” แหม! อาตมาได้ตำรา
และท่านบอกว่า “กรรมฐานนี่ดีที่สุด ไม่ต้องใช้คาถา เรานั่งกรรมฐานก่อน ยกจิตให้เป็นกุศล มีเมตตา ไม่อิจฉาริษยาใคร หมดปัญหาไม่พอใจใคร แล้วแผ่ออกไปตามชื่อนั้น ๆ หรือจะแผ่ทั่วไปก็ได้ ถ้าเขามีกุศลพอช่วยได้ ถ้าไม่มีกุศลก็ช่วยไม่ได้”
คนเข้ามากราบท่านเวลาบ่ายสองโมง เขียนใส่บาตรเต็มเลย ได้เงินเข้าวัดมาก
ท่านบอกว่า “เราทำอะไรนะคุณนะ ถ้าโลภมากอยากได้ของเขาแล้วแผ่ไม่ได้ผล ถ้าเราไม่อยากได้ของใคร วางจิตให้เป็นกลาง ทำใจให้สบาย ทำจิตให้เป็นปกติมักจะได้”
อาตมาออกมาจากวัดได้เคล็ดลับนี้มา ก็ขอฝากไว้ด้วย
ท่านสอนอาตมาว่า “นี่เธอจะช่วยคนไหนก็ให้เขาช่วยตัวเองได้ ถ้าเขาช่วยตัวเองไม่ได้ คุณไปช่วยเขา คุณเสียเวลานะ คนช่วยตัวเองไม่ได้ ไม่ต้องสนใจ แผ่อย่างไรก็ออกไม่ได้”
อีกประการหนึ่ง คนนี้ช่วยได้แต่จิตเราไม่ดี จิตเราไม่เป็นกุศลกระแสไฟหมด จิตมันหดหมดอาลัยตายอยาก ช่วยเขาก็ไม่ได้ ขอฝากไว้ด้วยทุกคน
อาตมาได้ตำรานี้มาแผ่เมตตาได้ผลมาจนถึงทุกวันนี้
มีอยู่วันหนึ่ง หลวงพ่อสดกำลังแจกของ อาตมาก็นั่งอยู่ด้วย โยมท้วมมาบอกว่า “หลวงพ่อ มะพร้าวหมดแล้ว ข้าวสารก็หมด” ตอนนั้นยังไม่ร่ำรวยเหมือนสมัยนี้
หลวงพ่อร้อง “อือ ๆ โยมไม่เป็นไร โยมไปเถอะ เดี๋ยวเขาเอามาให้”
รุ่งขึ้นเช้า มะพร้าวมาจากบางช้าง ๒ ลำเรือ ข้าวสารมาจากไหนไม่ทราบ ขนกันแทบแย่เลย อาตมาก็ยังช่วยขน ไม่เห็นท่านว่าคาถาอะไร
อาตมาก็ได้ตำราท่านมา ท่านบอกว่า “ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งหวงยิ่งอด หมดก็ไม่มา เราไม่หวงกัน เราก็ไม่อด หมดก็มาเรื่อย ๆ”
ท่านบอกให้ยกจิตให้สูง แผ่เมตตาออกไปให้ได้ ผลจากการแผ่เมตตา ใครเป็นญาติอยู่ที่ไหนก็จะนำมาให้
อาตมาได้ใช้ตำราของท่านมาจนทุกวันนี้
เมตตาบารมีของหลวงพ่อ
คือหลวงพ่อภาวนาวิสุทธิคุณ เปี่ยมการุณเมตตาจะหาไหน
ช่วยดับทุกข์ดับร้อนช่วยรอนภัย เป็นร่มไทรให้ประชามาพักพิง ฯ
ที่มา...ขอบคุณข้อมูลจาก #Teeraphan Naksin
กลุ่มศิษย์หลวงพ่อจรัญ (วัดอัมพวัน หลวงพ่อจรัญ จ.สิงห์บุรี
sadhu
ธรรมกาโย อหัง อิติปิ
ธรรมกายคืออะไร อยู่ในนาทีที่ 48 เป็นต้นไป
คนดีเขาไม่ตีใคร
เราต้องปฏิบัติเท่านั้นจึงจะหลุดพ้น(ภาวนามัยยปัญญา)เท่านั้น ส่วนขั้นตอนการปฏิบัติแล้วแต่ละบุคคลตามกรรมแต่ละคน ไม่เท่ากัน จึงไม่เหมือนกัน ไม่มีใครถูกไม่มีใครผิด เป็นเพียงสมมุติ(บัณยัติ)
วิชาธรรมกายมิใช่ของแท้ของธรรมะ หลวงพ่อสดคนคิดค้นยังล่ะทิ้ง ให้พระคุณโชดกสอนกรรมฐานให้เลย
ไปถามหลวงปู่สดก่อนไหม ท่านเรียนกับหลวงพ่อโชดกแล้ว นอกนั้นท่านทำไรต่อ
ทีแรกผมก็ไม่รู้จักวิชาธรรมกายครับ แต่มีอยู่วันหนึ่งผมได้อ่านหนังสือแนวปฏิบัติของหลวงพ่อสด ผมลองปฏิบัติตามดู ได้ประจักษ์กับตัวเอง ตอนนี้ผมเชื่อและศรัทธาในหลวงพ่อท่านอย่างมากครับ ...
ผมอยากทราบครับ คำถามกลางๆ สรุป...ธรรมกาย กับ นิพพาน นี่คืออย่างเดียวกัน หรือป่าว..หรือเป็นทางผ่าน...?
นิพพานัง ปรมัง สุงขัง นิพพานเป็นเป็นสุขอย่างยิ่ง...อันนี้เห็นด้วยครับ
แนวทางที่ถูกต้องคืออะไร
ไม่มีใครตอบได้...แต่อยากพ้นทุกข์สู่นิพพานต้องไปสายท่านพุทธทาส
อยากพ้นทุกข์แล้วไปเป็นเทพต้องไปสายพระธรรมกาย
ไม่อย่างนั้นคงไม่มีแต่งคอสเพลย์เจ้าแม่กวนอิม เพราะสายนิพพานจะไม่ให้เชื่อเรื่องเทพเจ้า
ตัดไห้ได้ ปล่อยไห้ไว วางไห้ลง
ธรรมกายคืออะไร นี่ก็เป็นธรรม
ปฏิบัติจริง ต้องตัดกิเลสได้ด้วยดิ
สรุปแล้วศาสนาคือเรื่องราวของอารมณ์ล้วนๆนั้นเอง ทำไมไม่ไปศึกษา"ทฤษฎีแห่งอารมณ์"ดูกันตรงๆเลย เพราะเขาใจง่ายกว่าที่มาฟังเทศนาที่มีคำศัพท์ที่ยากแก่การเข้าใจ จงไปศึกษา"ทฤษฎีแห่งอารมณ์"กันดีกว่า
+Manit Samrejngan เป็นข้อสรุปที่ไม่น่าจะคอบคลุมความถูกต้องเท่าใดนักขอรับ
เพราะ ศาสนา จะใช่เรื่องของอารมณ์ล้วนๆ ก็หาไม่ หากหมายรวม ครอบไปถึง ความสงบนิ่งใน "ว่างเปล่า" (ภาวะที่เหตุปัจจัยมิสามารถมีปฏิกิริยาต่อกันและกันได้) ด้วย (คำอธิบายนี้หมายเฉพาะ ศาสนาพุทธเท่านนั้นมิหมายรวมศาสนาอื่นใด)
ส่วน "อารมณ์" มันเป็น "พฤติจิต" ที่เกิดจาก ความสามารถของเหตุปัจจัยที่ก่อเกิดปฏิกิริยา...ต่อกันและกันได้...
ดังนั้น...ศาสนา จึง หมายรวม 2 ส่วน คือ ส่วน ว่างเปล่า กับส่วน ปฏิกิริยาที่เกิดต่อเนื่องกันตามเหตุปัจจัย (เป็นพฤติจิต) ประมาณนี้นะ..ขอรับ !
+++
ผมเข้าใจว่าการจะไปนิพพานได้เราจะต้องเดินให้ถูกทางตามทางพระพุทธองค์เพราะฉะนั้นถ้าเราเดินผิดทางคงไม่มีโอกาสไปถึงอย่างแน่นอนผมคิดว่าเราจำเป็นต้องศึกษาหาความรู้และอาจารย์ที่รู้จริงคอยบอกเพื่อให้เราเดินตามทางที่ถูกต้อง
โคตรภูญาณ ยังไม่ประหานสังโยชน์ ยังไม่เกิดมัคคสมังคี ลองดูพระสูตรครับ
[๑๔๑] โคตรภูธรรมเป็นกุศลเท่าไร
เป็นอกุศลเท่าไร เป็นอัพยากฤต
เท่าไร
โคตรภูธรรมเป็นกุศล ๑๕ เป็นอัพยากฤต ๓ เป็นอกุศลไม่มี ฯ
[๑๔๒] โคตรภูญาณ ๘
คือ โคตรภูญาณที่มีอามิส ๑ ไม่มี
อามิส ๑
มีที่ตั้ง ๑ ไม่มีที่ตั้ง ๑ เป็นสุญญตะ ๑ เป็น
วุฏฐิตะ ๑
เป็นอวุฏฐิตะ ๑ เป็นปัจจัยแห่งสมาธิ โคตรภู-
ญาณ ๑๐
เป็นโคจรแห่งวิปัสสนาญาณ โคตรภูธรรม ๑๘
เป็นปัจจัยแห่งวิโมกข์
๓ โคตรภูธรรมมีอาการ ๑๘ นี้
พระโยคาวจรอบรมแล้วด้วยปัญญา พระโยคาวจรเป็นผู้ฉลาด
ในโคตรภูญาณ
อันเป็นเครื่องหลีกไปและในโคตรภูญาณ
อันเป็นเครื่องออกไป
ย่อมไม่หวั่นไหวเพราะทิฐิต่างๆ
ฉะนี้แล ฯ
ชื่อว่าญาณ
เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัด
เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในการออกไป
และหลีกไปจากสังขารนิมิต
ภายนอก เป็นโคตรภูญาณ ฯ
[๑๔๓] ปัญญาในการออกไปและหลีกไปจากกิเลส ขันธ์และสังขาร
นิมิตภายนอกทั้งสอง เป็นมรรคญาณอย่างไร ฯ
ธรรมกาย เป็น กายธรรมที่อยู่ในตัวของมนุษย์ทุกคน ต้องปฏิบัติสมถะภาวนา โดยอาศัยคำถาวนา หรืออาศัยกสิณ เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจไม่ให้สอดส่าย จนใจอยู่นิ่งแล้วดิ่งลงจนได้ระดับธาตุธรรมละเอียดพอ จึงจะเห็นธรรมกายภายใน ส่วนธรรมกายาราม คำก็บอกแล้วว่าสนธิคำมาจาก ธรรมกาย+อาราม แต่ชื่อเต็มคือ วัดหลวงพ่อสด (ธรรมกายาราม) สอนการปฏิบัติกรรมฐานตามแนววิชาธรรมกายของหลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
คุณทำไห้เรานึกถึงหนังจีนหลายเรื่อง ที่คนที่พวกเขากำลังมองหาเพื่อ ถ่ายทอดวิชา เขามีพร้อมด้วยคุณสมบัติและปัญญา เขาได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยใจบริสุทธิ์ ในที่สุดจึงประสบความสำเร็จ
ตกลงมีธรรมกายแท้กับธรรมกายเทียมใช่หรือไหมครับ
วิชชาธรรมกาย สะกดอย่างนี้ครับ ชอช้าง 2 ตัว ไม่ใช่วิชาธรรมกาย
ใครจะผิดจะถูกอย่ามัวเถียงกันเลย เข้าไปถามพระพุทธเจ้าโดยตรงเลย ใครปราบมารได้แม้ยังมีกิเลสก็สามารถเห็นพระพุทธเจ้าได้ เห็นนิพพานได้ และเห็นมารได้จึงจะปราบมารได้ เคยถามพระพุทธเจ้าหลายข้อขอสรุปสั้นๆให้ฟัง
1 ธรรมกายเป็นของจริง
2 พระธัมมชโยผิดไหม ท่านตอบว่าผิดแต่เราให้อภัย
3 พระสายป่าที่ปฏิบัติจนถึงที่สุดแห่งธรรมตายแล้วเข้านิพพานเลยไหม ท่านตอบเข้าไม่ได้ เพราะไม่เคยเห็นไม่รู้จักนิพพาน
4 แล้วท่านจะเข้านิพพานได้อย่างไร ท่านตอบเราลงมารับหรือใช้ให้ใครลงมารับ
5 ผู้ที่ด่าโจมตีธรรมกายบาปไหม ท่านตอบบาปคำเดียว
6 นิพพานอยู่ที่ไหน ท่านเปิดโลกนิพพานให้เห็น มีจำนวนมหาศาล ไม่รู้จะบรรยาย เพชรแก้วใสแก้วสี มีทั้งพระทั้งโยม นั่งเป็นระเบียบก็มี ลอยเป็นแถวอย่างเป็นระเบียบก็มี ดูข้างนอกเหมือนจะไม่ใหญ่โต แต่เข้าไปข้างในกว้างขวางสุดสายตา
เลอะเทอะ...!!!
มั่ว
2. พระธัมมชโยผิดไหม ท่านตอบว่าเราให้อภัย แต่ "ปาราชิก" ก็คือปาราชิก ให้หมดความเป็นพระ
เชิญรับยาช่อง 2 คับ
บางท่านบอกว่า แดนพระนิพพาน พระมหากษัตริย์ พระ และโยม อยู่ไม่ไกลกัน แต่คนละฝั่ง ไม่ทราบใช่หรือไม่ ไม่รวมกันนะท่านบอก
ธรรมกาย คือทางผ่านไปนิพพานครับ นิพพาน ก็คือนิพพาน ธรรมกายก็คือ ธรมกาย
เรียนหลายวิชาดีกว่านะ อยู่ที่ปัญญา จะตัดได้ไม่ได้อยู่ที่ใจคุณ
โคตรภู คือญาณข้ามโครต คือญาณที่เปลี่ยนบุคคลธรรมดา เป็นพระอริยเจ้ามี โสดาปัตติมรรค เป็นต้นไป สำหรับผู้ที่ยังไม่เข้าใจนะครับ
หลักฐานชั้นพระไตรปิฎก
ในพระไตรปิฎกฉบับบาลีอักษรไทย (2525) ซึ่งจัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" อยู่ 5 แห่ง โดยส่วนใหญ่อยู่ในพระสูตร ดังนี้
1. ที.ปา. อัคคัญญสูตร 11/55/91-92 ในทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค หน้า 92 ฉบับบาลี ปี พ.ศ. 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่า
ตถาคตสฺส เหตํ วาเสฏฺฐา อธิวจนํ ธมฺมกาโย อิติปี พฺรหฺมกาโย อิติปิ ธมฺมภูโต อิติปิ พฺรหฺมภูโต อิติปิฯ
"ดูก่อนวาเสฏฐะ อันว่า คำว่า "ธรรมกาย" ก็ดี "พรหมกาย" ก็ดี "ธรรมภูต" ก็ดี ผู้ที่เป็นธรรมก็ดี หรือ "พรหมภูตะ" ผู้ที่เป็นพรหมก็ดี นี้แหละเป็นชื่อของเราตถาคต"
2. ขุ.อป. อัตถสันทัสสกเถราปทาน อปทาน 32/139/243 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 139 หน้า 243 บรรทัดที่ 1 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่า
...ธมฺมกายญฺจ ทีเปนฺติ เกวลํ รตนากรํ วิโกเปตํ น สกฺโกนฺติ โก ทิสฺวา นปฺปสีทติฯ
"บุคคลใดยัง "ธรรมกาย"ให้สว่างแล้วทั้งสิ้น อันเป็นบ่อเกิดแห่งรัตนะทั้งหลาย อันบุคคลทั้งหลายไม่มีผู้ใดจะทำร้ายได้ ใครเล่าเมื่อเห็นแล้วจะไม่ปลาบปลื้มยินดีนั้น ไม่มี"
3. ขุ.อป. ปัจเจกพุทธาปทาน 32/2/20 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 2 หน้า 20 บรรทัดที่ 9 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึงว่า
...ภวนฺติ ปจฺเจกชินา สยมฺภูฯ มหนฺตธมฺมา พหุธมฺมกายา...
"พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้สยมภู ทรงเป็นผู้มีธรรมอันใหญ่ มี "ธรรมกาย" มาก"
4. ขุ.อป. มหาปชาบดีโคตรมีเถรีอปทาน 33/157/284
ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 33 ข้อ 157 หน้า 284 บรรทัดที่ 12 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ไว้ว่า
สํวทฺธิโตยํ สุคต รูปกาโย มยา ตว อานนฺทิโย ธมฺมกาโย มม สํวทฺธิโต ตยาฯ
"ข้าแต่พระสุคต รูปกายของพระองค์นี้ อันหม่อมฉันยังให้เติบโตแล้ว แต่ "ธรรมกาย" อันน่ารื่นรมย์ของหม่อมฉัน พระองค์ให้เติบโตแล้ว"
และในพระไตรปิฎกฉบับหลวง (2514) เล่มที่ 26 หน้า 334 มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" ดังนี้
5. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สรภังคเถรคาถา ข้อ 365
...เมื่อก่อน เราผู้ชื่อว่า "สรภังคะ" ไม่เคยได้เห็นโรค คือ อุปาทาน ขันธ์ 5 ครบบริบูรณ์ทั้งสิ้น โรคนั้น อันเราผู้ทำตามพระดำรัสของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ได้เห็นแล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่า วิปัสสี พระสิขี พระเวสสภู พระกกุสันโธ พระโกนาคม พระกัสสป ได้เสด็จไปแล้วโดยทางใดแล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า "โคดม" ก็ได้เสด็จไปแล้วโดยทางนั้น พระพุทธเจ้า 7 พระองค์นี้ ทรงปราศจากตัณหา ไม่ทรงถือมั่น ทรงหยั่งถึงความสิ้นกิเลส เสด็จอุบัติแท้โดย "ธรรมกาย" ผู้คงที่ ทรงเอ็นดูอนุเคราะห์สัตว์ทั้งหลาย ได้ทรงแสดงธรรม คือ อริยสัจ 4 อันได้แก่ ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ (สมุทัย) ความดับทุกข์ (นิโรธ) ทางเป็นที่สิ้นทุกข์ (มรรค) เป็นทางไม่เป็นไปแห่งทุกข์ อันไม่มีที่สุดในสงสาร เพราะกายนี้แตกและเพราะความสิ้นชีวิตนี้ การเกิดในภพใหม่อย่างอื่นมิได้มี เราเป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากสรรพกิเลสและภพทั้งปวง
thai grit
หมายความว่าหลวงพ่อสดปล่อยให้ลูกศิษย์เดินผิดต่อไป?
เราไม่ทราบแน่ชัดว่า หลวงพ่อสดท่านได้มีการทำความเข้าใจเรื่องธรรมกายต่อลูกศิษย์ลูกหาท่านหรือไม่ ? อย่างไร ? หลังจากที่ท่านได้ฝึกกรรมฐานกับหลวงพ่อโชดกวัดมหาธาตุแล้ว
แต่เรื่องนี้ ถ้าคิดกันอย่างเรา ๆ...ก็มองว่ามันเป็นเรื่องยากที่จะไปแก้ความเข้าใจผิด ๆของผู้คนจำนวนมาก หลังจากที่ได้แพร่กระจายไปเยอะแล้ว
แม้ในปัจจุบัน ถ้าว่ากันด้วยหลักฐานที่เป็นต้นฉบับอย่างพระไตรปิฎกของเราที่ยึดถือกันอยู่ ผู้คนก็ยังไม่เข้าใจว่าทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นมาตรฐานที่จะตัดสินว่า อะไรใช่หรือไม่ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้า
เมื่อไม่เข้าใจ ก็จึงพยายาม "ตะแบง" ออกไป โดยไปเอาพระไตรปิฎกจีนบ้าง หรือจากที่อื่นบ้างมาอ้าง เพื่อจะทำให้เรื่องธรรมกายเป็นจริงเป็นจังขึ้นมา ทั้ง ๆที่ในพระไตรปิฎกของเราเอง เรื่องธรรมกายไม่ใช่เรื่องเด่น หรือสำคัญอะไรที่ต้องไปพิจาราณาเป็นพิเศษ
สุดท้าย ไม่รู้จะอ้างอะไร ก็ไปอ้างผลการปฏิบัติของตน ๆ ว่าธรรมกายเป็นอย่างนี้อย่างนั้น เพราะตนได้ปฏิบัติเห็นเป็นอย่างนั้น
ทั้ง ๆที่นำมาอ้างไม่ได้เลย...!!!
วัดพระธรรมกายก็ไม่ได้ผิดเพี้ยนสอนถูกต้องอย่าอคตินักเลยคะ...เคยเข้าไปฝึกไปฟังไปได้ยินไปสัมผัสมั้ย...ตอบเลยคะไม่เคย...อคติล้วนๆคะ
สาธุครับ
แน่ใจ.หรือ โอภาส คือแสงสว่าง จะเป็นรูปตามจิตหรือเจตสิกปรุงแต่ง ธรรมกายจัดอยู่ในกลุ่มนี้ อย่าติดอยู่เลย เสียเวลาเปล่า ชั้นนี้เรียกญาณ3คือุทยัพญาณ ให้กำหนด เห็นหนอๆดึงสติกลับมามันจะดับ ..มันเป็นวิปัสสนูกิเลสนะ...สิบอกให้.
@northlucifer ผมคิดว่าคุณคงมีความแค้นกับวัดพระธรรมกายมาก แต่จงแยกให้ออกระหว่าง วิชาธรรมกาย กับวัดพระธรรมกายนะคับ การกล่าวว่าวิชาธรรมกายเป็นของนอกรีดนั้น มันแสดงให้เห็นว่าคุณไม่มีปัญญา ในการคิดอ่าน วิเคราะห์เลย ธรรมกายมีในพระไตรปิฏก มากมายหลายแห่งมากกว่า 20 จุด ดังนั้นหาก ไม่รู้จริงอย่าแสดงความเห็น โดยเพราะว่าคุณไม่ชอบวัดธรรมกาย วัดพระธรรมกายไม่มีคนเป็นวิชาธรรมกายแม้แต่คนเดียว ตั้งแต่เจ้าอาวาสยันลูกศิษย์ หากท่านต้องการพิสูจน์ว่าวิชาธรรมกาย มีจริงหรือไม่ เชิญพิสูจน์ ได้ที่วัดปากน้ำในวันอาทิตย์.
นาทีที่ประมาน 30
บ่นไรกัน กูรู้แค่ทำดีไม่หวังผล และไม่เบียดเบียนผู้อื่นเป็นพอ ไม่ทำให้คนอื่นเดือดร้อน
วิชชาธรรมกายเป็นการปฏบัติสมาธิภาวนาแบบสมถะภาวนา ใช้อาโลกกสิณ คือ กศิณแสงสว่างเป็นแนวปฏิบัติ ซึ่งส่วนใหญ่จะรู้กันดีว่าเป็นปนวทางที่ง่ายกว่าแนวสติปัฎฐาน 4 ซึ่งเป็นแนววิปัสสนากรรมฐาน เมื่อปฏิบัติได้ถึงธรรมกายในระดับต้นแล้วถ้าปฏิบัติต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ก็จะได้ธรรมกายที่ละเอียดขึ้น ในระดับที่สูงขึ้น จนถึงธรรมกายอรหัตผล แต่ในการปฏิบัติแรกเริ่ม ถ้าใช้นิมิตเป็นองค์พระแก้วใส ก็จะยังแยกไม่ออกว่าองค์พระนั้นเป็นนิมิตหรือเป็นธรรมกาย ก็เท่านั้น
แสดงธรรมแบบนี้ก็ล้วนแต่ท่องจำมาทั้งสิ้น ท่องจำเก่งก็สอบป.๙ได้เร็ว และก็ลาสิกขาบทออกไปรับเงินเดือน เสพเมถุน เสพสุรา เสพอำนาจ จะเห็นได้ชัดมากที่สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ มหาเถรสมาคมแห่งชาติ สมาคมพุทธศาสนาแห่งชาติ สมคมพุทธศาสนา เริ่มต้นด้วย ก........ฮ......ท่านเหล่านี้ไม่มีความรู้ ไม่มีความกล้าหาญพอจะชี้ชัดให้คนโง่อย่างเราเห็นความผิดของธัมมชโย
ผิดแล้ว ท่านสอนได้ชัดเจนมากหากจะอธิบายวิชชาธรรมกายของแท้ องค์นี้พระอริยบุคคล นะครับ ไม่เกี่ยวข้องกับวัดพระธรรมกาย องค์นี้วิชชาธรรมกายตามแบบหลวงพ่อสด วัดปากน้ำครับ
ธรรมกายกับธรรมกายาราม อันเดวกันป่าววะ กู งง
วัดเสาลินสร้างภาคยนต์ เรื่องไซร์อิว เทพวานรบุกสวรรค์..
ขอน้อมกราบสาธุเจ้าค่ะ
ธรรมกายก็คือ ยิ่งทำมากก็ได้มากและขึ้นจานบินย้ายไปอยู่ดุสิตบุรี หึหึ
ต้องแยกกันครับ อันนั้นเป็นแนววัดพระธรรมกาย ไม่ใช่ แนวตามความเป็นจริงของหลวงพ่อสด แต่องค์นี้ตามแบบฉบับ (สองสำนักนี้ไม่ข้องเกี่ยวกันครับ) องค์นี้พระอริยะบุคคลแท้
ธรรมกายพวกทำชัวโก้งประชาชน
ธรรมกายคือ ชิตังเม โป้ง รวย
ลูกขวาน ขอรับ วัดหลวงพ่อสดไม่ได้เกี่ยวข้องกับวัดธรรมกายคับ ถึงแม้ว่าจะนับถือครูบาอาจารย์รูปเดียวกันแต่บางอย่างก็สอนไม่เหมือนกันคับวัดหลวงพ่อสด อยู่ราชบุรี วัดนี้ของแท้คับ
เอมอร เดชอุดม คุณนี่เคยฟังสมเด็จช่วงพูดมั่งไม๊ วัดปากน้ำกับวัดธรรมกาย เป็นวัดพี่วัดน้อง รึว่าเป็นวัดเดียวกัน ช่วงเขาว่างี้ผมก็ต้องเชื่อ สรุปแล้วธรรมกายก็คืออวิชชา อย่าไปหลงมันเลยครับคุณเอมอร
ลูกขวาน ขอรับ แต่นี้วัดหลวงพ่อสดธรรมกายารามเกี่ยวไรกันล่ะกับวัดปากน้ำ
ลูกขวาน ขอรับ กรรมหนักจริงๆ
สาธุครับ
สาธุ ครับ
สาธุ
จากหลวงพ่อฤาษีลิงดำกล่าวถึงหลวงพ่อสดวัดปากน้ำ
การตั้งใจไว้เพื่อ นิพพาน นี่ ผมเคยถามหลวงพ่อวัดปากน้ำภาษีเจริญ เรียกว่า หลวงพ่อสด ก็แล้วกัน
วันนั้นผมไปหาท่าน ท่านยังไม่ได้เป็นพระครู ยังไม่ได้เป็นเจ้าคุณ เมื่อท่านเป็นแล้ว ท่านก็บอกว่า เขาเอาหัวโขนมาตั้งให้ มาสวมให้ แต่ฉันจะไม่เต้นไปตามจังหวะโขน ฉันจะเต้นไปตามปกติของฉันตามเดิม พระองค์นี้น่ารักมาก ผมนับถือท่านมาก
ท่านเคยบอกว่า
"ควรจะหวังพระนิพพาน ผมก็ถามว่า คนอย่างกระผมจะไปนิพพานกับเขาได้หรือครับ
ท่านก็บอกว่า เราตั้งใจไว้ก่อน เหมือนคนขึ้นยอดไม้ เธอขึ้นต้นไม้ ตั้งใจ เราจะขึ้นให้สุดยอด ถ้าบังเอิญ เราตั้งใจขึ้นสุดยอด แรงมันไปไม่ถึง มันก็ต้องไปถึงกิ่งใดกิ่งหนึ่ง เป็นที่พักจนได้ ถ้าเราตั้งใจต่ำ ดีไม่ดีมันขึ้นไม่ถึงเลย"
ท่านบอกว่า
"หวังนิพพานก็เช่นเดียวกัน ถ้ากำลังอย่างอ่อน ก็ไปค้างที่สวรรค์ได้ กำลังอย่างกลาง ก็ไปค้างที่พรหม ถ้าเราเกิดจิตไม่นิยมมนุษย์โลก เทวโลก และ พรหมโลก หรือไม่นิยมร่างกายด้วยความจริงใจ เราก็ไปนิพพาน"
#คติของหลวงพ่อสดนี้ดีมาก ขอบรรดาท่านพุทธบริษัท และญาติโยมทั้งหลาย พยายามปฏิบัติตามไว้เถอะ ตัวท่านตาย แต่ความดีของท่านยังไม่ตาย ผมยอมรับนับถือองค์นี้ท่านดีจริงๆ วิชชาความรู้นี้ ผมก็เรียนกับท่านไว้เย้อะ ที่นำมาใช้นี่ ก็เอาของท่านมาใช้เย้อะเหมือนกัน ท่านก็บอกเป็นของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ของท่าน ท่านค้นคว้าเอามา เป็นพระองค์แรก ที่ทำให้คนมีความเข้าใจเรื่องสวรรค์ เรื่องนรก ได้ชัดแจ้งแจ่มใส และเรื่องนิพพานด้วย
___________
___________
เทศนาธรรมจาก
พระราชพรหมยาน
หลวงพ่อวีระ ถาวโร
(หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)
____________
ที่มา
จากหนังสือมโนมยิทธิและประวัติของฉัน
หลวงพ่อพระราชพรหมยาน
หน้า ๑๑๔-๑๑๕
_____________
เข้าใจได้ว่านี่คือธรรมกายที่แท้จริง
เข้าวัดมากหลงพระหลงเจ้าแต่ก็ไปบ้าง
กราบขอบพระคุณพระเดชพระคุณหลวงพ่อเจ้าค่ะ