Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
สำหรับมือใหม่ที่ฟังแล้วยังสงสัย หรือไม่เข้าใจวิธีการและหลักการในการฝึกฝนเจริญสติ ขอแนะนำให้ดูคลิปใน [ส่วนที่ 1]ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.htmlจะรวบรวมประเด็นที่ผู้ฝึกฝนควรรู้ โดยไล่ดูตามลำดับที่จัดเรียงไว้ ก็น่าจะช่วยลำดับความเข้าใจให้ได้มากขึ้นหลวงพ่อเทียนใช้คำว่า "เห็นความคิด หรือ ดูความคิด" ไม่ได้หมายถึง ให้เราเอาจิตใจไปเฝ้าจ้องว่า เมื่อไหร่จะเกิดความคิด เมื่อไหร่ใจจะเผลอคิด-เผลอไปในอารมณ์ต่างๆ หรือ เมื่อเผลอคิดไปแล้ว ก็ไปตามดูความคิด ว่ามันคิดอะไร ไปหาสาเหตุไปหานิยาม ไปหาทางแก้ หรือเผลอใจไปปรุงแต่งเป็นความรู้สึก-อารมณ์ต่างๆ เช่น ไปหงุดหงิด ไปยินดี-ยินร้ายกับมันฯลฯ ...ไม่ใช่แบบนั้น!!!แต่หลวงพ่อเทียนต้องการสื่อความหมายถึง "การเห็นความคิด หรือดูความคิด" โดยไม่หลงเข้าไปในความคิด ไม่หลงไปตามความคิดหรืออารมณ์ ไม่ไปปรุงแต่งต่อเติม ฯลฯเปรียบเหมือนเราเป็นคนดูมัน-เห็นมันห่างๆ จากข้างนอก โดยเราไม่ได้เข้าไปคลุกวงในกับมัน ไม่เข้าไปพัวพันกับมันวิธีฝึกฝน ก็เป็นวิธีฝึกเจริญสติ หรือฝึก "ความรู้สึกตัว" เดิมๆ ที่ "มือใหม่" ได้ถูกย้ำเตือนบ่อยๆ คือ ฝึกให้มีความรู้สึกตัวกับการเคลื่อนไหวร่างกายในทุกอิริยาบถ และ/หรือ ให้เจตนาสร้างการเคลื่อนไหวร่างกาย (สร้างจังหวะ) แล้วรู้สึกเบาๆ สบายๆ กับกายที่เคลื่อนไหวให้จิตใจตั้งอยู่กับ "ความรู้สึกตัว" หรือการระลึกรู้ในการเคลื่อนไหวของร่างกาย (ไม่ใช่เอาจิตใจไปเฝ้าจ้องเพื่อจะเห็นหรือตามดูความคิด-อารมณ์ต่างๆ) เมื่อ "รู้สึกตัว" ไปสักพัก จิตใจมันจะเผลอคิดขึ้นมาเองตามธรรมชาติของมันสำหรับผู้ฝึกใหม่ ... กว่าจะรู้ตัว รู้ทัน หรือระลึกได้ว่า ตัวเองกำลังเผลอคิดอยู่ก็อาจจะเผลอคิดไปแล้วนานหลายนาที แต่เมื่อฝึกฝนมากๆ เข้า สติแข็งแรงขึ้น เราจะรู้ทัน "การเผลอคิด" ได้ไวขึ้น และบ่อยขึ้นเอง เมื่อฝึกจนชำนาญมากๆ อีกหน่อยพอเผลอคิดปุ๊บ..เราก็รู้ทันปั๊บ!!!!เมื่อ "รู้ทัน-รู้ตัว-ระลึกขึ้นมาได้ว่าตัวเองกำลังเผลอคิด กำลังเผลอไปกับอารมณ์ต่างๆ" แล้วควรทำอย่างไรต่อไป?? ก็ให้ทิ้งความคิด-อารมณ์ต่างๆ ทันที!! .. เมื่อใดที่รู้ตัวว่าเผลอคิดปุ๊บ ก็ให้ทิ้งความคิดไปทันทีไม่ไปคิดต่อ ไม่ปรุงแต่งต่อเติม ไม่ไหลไปตามความคิด-อารมณ์ต่างๆ ไม่ต้องไปหาความหมาย ไม่ต้องไปหาสาเหตุใดๆ ทั้งสิ้น ....ให้ทิ้งความคิด-อารมณ์ต่างๆ ทันที!!! ...แล้ว "กลับมารู้สึกตัว"...คือการพาใจกลับมาตั้งไว้กับความรู้สึกตัวในการเคลื่อนไหวร่างกายเช่นเดิม!!เดี๋ยวสักพัก ใจก็อาจจะเผลอคิดไปอีก พอเรารู้ทันว่าใจมันเผลอไปอีก ก็ทิ้งความคิดทันทีแล้ว "กลับมารู้สึกตัว" ทำแบบนี้วนๆ ไปเช่นเดิมฝีกแบบนี้ซ้ำๆ บ่อยๆ ไปเรื่อยๆ จนเมื่อสติตั้งมั่น แข็งแรง ว่องไวมากขึ้น ก็จะพัฒนาไปสู่ "การเห็นความคิด โดยไม่หลงเข้าไปในความคิด"และจะพาไปสู่การปล่อยวางความคิด/อารมณ์ ได้มากขึ้น หรือเมื่อมีอะไรมากระทบกายและใจ ไม่ว่าจะ "เรื่องทุกข์หรือสุข"เราก็จะรับรู้สิ่งเหล่านั้นด้วยจิตใจที่เป็นปกติ เป็นกลางๆ ใจไม่ไหลจมดิ่งไปกับความทุกข์ และไม่หลงลอยไปกับความสุขคลายความยึดมั่นถือมั่นในเรื่องต่างๆ ได้มากขึ้นการปรุงแต่งฟุ้งซ่านจะน้อยลงเรื่อยๆ และทำให้ใจยอมรับในสัจธรรมของชีวิตได้มากขึ้นมีสติปัญญารับมือกับเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตได้ดีขึ้นซึ่งทั้งหลายเหล่านี้ มันจะเป็นไปเองตามกลไกธรรมชาติขอเพียงแค่เพียรฝึกฝนอย่างถูกต้องและต่อเนื่องมากพอเราสามารถหาโอกาสฝึกการเจริญสติ หรือ ฝึก "ความรู้สึกตัว" ให้ผสมผสานกับชีวิตประจำวัน ได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลาคำแนะนำเพิ่มเติม - แนะนำการเจริญสติ ตามแนวทางหลวงพ่อเทียน โดย พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ua-cam.com/video/GWwIGxicOMA/v-deo.html - หลวงพ่อเทียนสอบอารมณ์ ua-cam.com/video/477997jEPdg/v-deo.html- วิธีเจริญสติง่ายๆ ในชีวิตประจำวัน ua-cam.com/video/qoK88FDoO_E/v-deo.html- หลักการง่ายๆ ภายใน 1 นาที.."กลับมารู้สึกตัว" ua-cam.com/video/df0Nls10qX0/v-deo.html- ดูกายเห็นจิต ดูคิดเห็นธรรม ua-cam.com/video/0F9Uc8gt1gU/v-deo.html- เห็นความคิด-อารมณ์ โดยไม่หลงเข้าไป "อิน" จะทำได้อย่างไร? ua-cam.com/video/NwSKqJFaE6U/v-deo.html- ไฮไลท์ คือ เมื่อหลงไป แล้วกลับมาได้ ua-cam.com/video/oGLkbmKypBg/v-deo.html- เจริญสติไม่ยาก แต่ที่ว่ายาก เพราะอยากได้ดั่งใจ ua-cam.com/video/ocG1E6O-zGo/v-deo.html- สภาพเดิมของจิต คือ รู้ซื่อๆ รู้เฉยๆ ua-cam.com/video/tfsJI9_KeUw/v-deo.html- วิธีง่ายๆ เพื่อดับทุกข์ใจ ua-cam.com/video/yUyob1-DKlk/v-deo.html
สำหรับผู้ที่สนใจฝึกฝนเจริญสติ (สติปัฏฐาน) ตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน 1. การเริ่มต้นฝึกฝนในแนวทางของหลวงพ่อเทียน หากสะดวกหรือสนใจที่จะได้เรียนรู้โดยตรงกับครูอาจารย์ต่างๆ ก็ลอง search หาใน google ว่าสะดวกจะไปที่ไหน หรือลองดูจาก link นี้facebook.com/Sanamnai/photos/a.365802240102946.108142.361998700483300/1319466311403196/?type=3เป็นสถานที่ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ในแนวทางของหลวงพ่อเทียน2. หรือหากจะเริ่มต้นฝึกฝนโดยดูคลิปต่างๆ จาก channel "มือใหม่หลวงพ่อเทียน" ก็ให้เข้าไปที่ [ส่วนที่ 1] ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.htmlซึ่งจะรวบรวมประเด็นต่างๆ ที่มือใหม่ควรจะรู้ เราพยายามจัดเรียงลำดับของคลิปไว้ตามหมายเลข เพื่อลำดับความเข้าใจให้มือใหม่ไม่สับสน ไล่ดูไปเรื่อยๆ ตามลำดับที่เรียงไว้หากมีข้อสงสัยอะไร ก็ทิ้งคำถามไว้ที่ใต้คลิปนั้น เราก็จะพยายามหาคำแนะนำของครูอาจารย์มาช่วยคลี่คลายให้3. หรือหากมีเวลาพอสมควร พอที่จะดูคอร์สการบรรยายที่ยาวหน่อยได้ ก็อยากให้ดูการสอนกรรมฐานแบบเข้าใจง่ายใน [ส่วนที่ 2]ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosrqwu1E23iCftSJobZU6sK8.html จะช่วยปูพื้นฐานอย่างละเอียด ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
สาธุคับ
ขอน้อมบูชาพระธรรมคำบรรยายหลวงพ่อคำเขียน สาธุ สาธุ สาธุ ครับ
สาธุ🙏 สาธุ🙏 สาธุ🙏 อนุโมทา... มิครับ
กราบสาธุ
ขออนุโมทนาสาธุๆๆ
กราบหลวงพ่อด้วยความเคารพ
🙏🙏🙏 เวทนาสักว่าเวทนา ไม่เป็นยุ่งเป็นยาก เป็นผิดเป็นถูก
กราบ สาธุ ค่ะ
กราบ สาธุ สาธุ สาธุ5 มกราคม 256514.59 น.
เมื่อเรา เห็น สักแต่ว่า เห็น , ได้ยินเสียง + กลิ่น + รดชาด + กายสัมผัส + ใจรู้สึกใดๆ.. ก็ให้"สักแต่ว่า"..เท่านี้ก็จบจิตฉับพลันปัญญาเห็น ด้วยว่าสิ่งทั้งปวงนั้นๆ "ไม่มีจริง เป็นสิ่งสมมุติที่มนุษย์อุปโหลกขึ้นมาทั้งนั้น"..สาธุ..สาธุ..สาธุ..
สาธุค่ะ
ความคิดที่แสดงออก มันเคลื่อนไหว มันแสดงให้เห็น เราจึงรู้มัน
ฟังธรรมเข้าใจมากขึ้น มือใหม่่ จะพยายามฝึกฝนคะ่
ขอส่งกำลังใจให้ผู้ฝึกฝนทุกท่านค่ะ
ดี
กราบสาธุหลวงพ่อและขออนุโมทนากับผู้เผยแพร่
สาธุครับ
น้อมสาธุเจ้าค่ะ
สาธุ
กายที่ ๒ อริยาบถเมื่อยืนก็รู้ชัดว่า เรายืน หายใจออกเมื่อเดินก็รู้ชัดว่า เราเดิน หายใจเข้าเมื่อนั่งก็รู้ชัดว่า เรานั่ง หายใจออกเมื่อนอนก็รู้ชัดว่า เรานอน ทายใจเข้าดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลายแม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
สาธุสาธุสาธุเข้าใจเข้าถึงจุดนี้ คือจุดเริ่มต้นการปฏิบัติเข้ามรรคเข้าทาง
กราบสาธุในธรรมคำสอนเจ้าค่ะ
กายที่ ๓พิจารณาสัมปชัญญะ...กายที่ ๔พิจารณาปฏิกูล...กายที่ ๕พิจารณาธาตุ...กายที่ ๖(พิจารณานวสีวถิกา)พิจารณาเห็นสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ตายมาแล้ว ๑ วัน ๒ วัน ๓วัน ...กายที่ ๗พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ที่ฝูงสัตว์ต่างๆกัดกินอยู่บ้าง ...กายที่ ๘พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังมีเลือดและเนื้อยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ ...กายที่ ๙พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูกยังเปื้อนเลือดแลต่ปราศจากเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...กายที่ ๑๐พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก แต่ปราศจากเลือดและเนื้อแล้วยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...กายที่ ๑๑พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ปราศจากเส้นเอ็นผูกรัดแล้วกระเรี่ยรายไปในทิศน้อยทิศใหญ่...กายที่ ๑๒ พิจารณาสรีระที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกสีขาว เปรียบด้วยสีสังข์...กายที่ ๑๓พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูก กองเรี่ยราย เก่าเกินปีหนึ่งไปแล้ว...กายที่ ๑๔พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้าเป็นกระดูกผุละเอียดแล้ว...เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงกายอันนี้เล่าก็มีอยู่อย่างนี้เป็นธรรมดาคงเป็นอย่างนี้ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลายแม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออกพิจารณากายที่เป็นบัญญัติ......กายพิจารณากายเป็นปรมัต...........ในกายจนเห็นกายนี้ไม่เที่ยงเป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน (อนิจจัว ทุกขัง อนัตตา)สาธุ สาธุ สาธุขอความเจริญในธรรมจงมีแก่ทุกๆท่านพระสูตรนี้มีท่านพระอาจารย์สุรศักดิ์ สอนได้ดีที่สุด ครับ23/04/63 ...21.09-23.03 ...ROCK CITYHUNTER...
🙏🙏🙏ขอน้อมบูชาธรรมอันประเสริฐ ขององค์พ่อแม่ นิพพานปัจจโยโหตุ🌻🌻🌻
กราบสาธุเจ้าค่ะ
🙏🙏🙏
สาธุ 🙏 กราบ🙏กราบ🙏กราบ
สาธุ...ครับ
กราบสาธุค่ะหลวงพ่อ
มือใหม่หลวงพ่อเทียน กราบสาธุเจ้าค่ะ
แม่ชีฉวีวรรณเวชนุสิทธิ์/ฟังแล้วพิจารณาตามไป
น้อมกราบนมัสการสาธุๆๆครับ
นอ้มกราบสาธุโอวาทธรรมเจ้าคะ
กราบสาธุค่ะ
กราบสาธุๆคะ
สาธุๆๆๆ
สาธุๆๆ
สาธุๆๆคับผม
กราบสาธุครับ
สำหรับมือใหม่ที่ฟังแล้วยังสงสัย หรือไม่เข้าใจวิธีการและหลักการในการฝึกฝนเจริญสติ ขอแนะนำให้ดูคลิปใน [ส่วนที่ 1]
ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.html
จะรวบรวมประเด็นที่ผู้ฝึกฝนควรรู้ โดยไล่ดูตามลำดับที่จัดเรียงไว้ ก็น่าจะช่วยลำดับความเข้าใจให้ได้มากขึ้น
หลวงพ่อเทียนใช้คำว่า "เห็นความคิด หรือ ดูความคิด"
ไม่ได้หมายถึง ให้เราเอาจิตใจไปเฝ้าจ้องว่า เมื่อไหร่จะเกิดความคิด
เมื่อไหร่ใจจะเผลอคิด-เผลอไปในอารมณ์ต่างๆ
หรือ เมื่อเผลอคิดไปแล้ว ก็ไปตามดูความคิด ว่ามันคิดอะไร ไปหาสาเหตุ
ไปหานิยาม ไปหาทางแก้ หรือเผลอใจไปปรุงแต่งเป็นความรู้สึก-อารมณ์ต่างๆ เช่น ไปหงุดหงิด ไปยินดี-ยินร้ายกับมันฯลฯ
...ไม่ใช่แบบนั้น!!!
แต่หลวงพ่อเทียนต้องการสื่อความหมายถึง "การเห็นความคิด หรือดูความคิด"
โดยไม่หลงเข้าไปในความคิด ไม่หลงไปตามความคิดหรืออารมณ์ ไม่ไปปรุงแต่งต่อเติม ฯลฯ
เปรียบเหมือนเราเป็นคนดูมัน-เห็นมันห่างๆ จากข้างนอก
โดยเราไม่ได้เข้าไปคลุกวงในกับมัน ไม่เข้าไปพัวพันกับมัน
วิธีฝึกฝน ก็เป็นวิธีฝึกเจริญสติ หรือฝึก "ความรู้สึกตัว" เดิมๆ ที่ "มือใหม่" ได้ถูกย้ำเตือนบ่อยๆ
คือ ฝึกให้มีความรู้สึกตัวกับการเคลื่อนไหวร่างกายในทุกอิริยาบถ
และ/หรือ ให้เจตนาสร้างการเคลื่อนไหวร่างกาย (สร้างจังหวะ) แล้วรู้สึกเบาๆ สบายๆ กับกายที่เคลื่อนไหว
ให้จิตใจตั้งอยู่กับ "ความรู้สึกตัว" หรือการระลึกรู้ในการเคลื่อนไหวของร่างกาย
(ไม่ใช่เอาจิตใจไปเฝ้าจ้องเพื่อจะเห็นหรือตามดูความคิด-อารมณ์ต่างๆ)
เมื่อ "รู้สึกตัว" ไปสักพัก จิตใจมันจะเผลอคิดขึ้นมาเองตามธรรมชาติของมัน
สำหรับผู้ฝึกใหม่ ... กว่าจะรู้ตัว รู้ทัน หรือระลึกได้ว่า ตัวเองกำลังเผลอคิดอยู่
ก็อาจจะเผลอคิดไปแล้วนานหลายนาที
แต่เมื่อฝึกฝนมากๆ เข้า สติแข็งแรงขึ้น เราจะรู้ทัน "การเผลอคิด" ได้ไวขึ้น และบ่อยขึ้นเอง
เมื่อฝึกจนชำนาญมากๆ อีกหน่อยพอเผลอคิดปุ๊บ..เราก็รู้ทันปั๊บ!!!!
เมื่อ "รู้ทัน-รู้ตัว-ระลึกขึ้นมาได้ว่าตัวเองกำลังเผลอคิด กำลังเผลอไปกับอารมณ์ต่างๆ" แล้วควรทำอย่างไรต่อไป??
ก็ให้ทิ้งความคิด-อารมณ์ต่างๆ ทันที!!
.. เมื่อใดที่รู้ตัวว่าเผลอคิดปุ๊บ ก็ให้ทิ้งความคิดไปทันที
ไม่ไปคิดต่อ ไม่ปรุงแต่งต่อเติม ไม่ไหลไปตามความคิด-อารมณ์ต่างๆ
ไม่ต้องไปหาความหมาย ไม่ต้องไปหาสาเหตุใดๆ ทั้งสิ้น
....ให้ทิ้งความคิด-อารมณ์ต่างๆ ทันที!!! ...แล้ว "กลับมารู้สึกตัว"
...คือการพาใจกลับมาตั้งไว้กับความรู้สึกตัวในการเคลื่อนไหวร่างกายเช่นเดิม!!
เดี๋ยวสักพัก ใจก็อาจจะเผลอคิดไปอีก พอเรารู้ทันว่าใจมันเผลอไปอีก ก็ทิ้งความคิดทันทีแล้ว "กลับมารู้สึกตัว"
ทำแบบนี้วนๆ ไปเช่นเดิม
ฝีกแบบนี้ซ้ำๆ บ่อยๆ ไปเรื่อยๆ จนเมื่อสติตั้งมั่น แข็งแรง ว่องไวมากขึ้น ก็จะพัฒนาไปสู่ "การเห็นความคิด โดยไม่หลงเข้าไปในความคิด"
และจะพาไปสู่การปล่อยวางความคิด/อารมณ์ ได้มากขึ้น
หรือเมื่อมีอะไรมากระทบกายและใจ ไม่ว่าจะ "เรื่องทุกข์หรือสุข"
เราก็จะรับรู้สิ่งเหล่านั้นด้วยจิตใจที่เป็นปกติ เป็นกลางๆ
ใจไม่ไหลจมดิ่งไปกับความทุกข์ และไม่หลงลอยไปกับความสุข
คลายความยึดมั่นถือมั่นในเรื่องต่างๆ ได้มากขึ้น
การปรุงแต่งฟุ้งซ่านจะน้อยลงเรื่อยๆ และทำให้ใจยอมรับในสัจธรรมของชีวิตได้มากขึ้น
มีสติปัญญารับมือกับเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตได้ดีขึ้น
ซึ่งทั้งหลายเหล่านี้ มันจะเป็นไปเองตามกลไกธรรมชาติ
ขอเพียงแค่เพียรฝึกฝนอย่างถูกต้องและต่อเนื่องมากพอ
เราสามารถหาโอกาสฝึกการเจริญสติ หรือ ฝึก "ความรู้สึกตัว" ให้ผสมผสานกับชีวิตประจำวัน ได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา
คำแนะนำเพิ่มเติม
- แนะนำการเจริญสติ ตามแนวทางหลวงพ่อเทียน โดย พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ua-cam.com/video/GWwIGxicOMA/v-deo.html
- หลวงพ่อเทียนสอบอารมณ์ ua-cam.com/video/477997jEPdg/v-deo.html
- วิธีเจริญสติง่ายๆ ในชีวิตประจำวัน ua-cam.com/video/qoK88FDoO_E/v-deo.html
- หลักการง่ายๆ ภายใน 1 นาที.."กลับมารู้สึกตัว" ua-cam.com/video/df0Nls10qX0/v-deo.html
- ดูกายเห็นจิต ดูคิดเห็นธรรม ua-cam.com/video/0F9Uc8gt1gU/v-deo.html
- เห็นความคิด-อารมณ์ โดยไม่หลงเข้าไป "อิน" จะทำได้อย่างไร? ua-cam.com/video/NwSKqJFaE6U/v-deo.html
- ไฮไลท์ คือ เมื่อหลงไป แล้วกลับมาได้ ua-cam.com/video/oGLkbmKypBg/v-deo.html
- เจริญสติไม่ยาก แต่ที่ว่ายาก เพราะอยากได้ดั่งใจ ua-cam.com/video/ocG1E6O-zGo/v-deo.html
- สภาพเดิมของจิต คือ รู้ซื่อๆ รู้เฉยๆ ua-cam.com/video/tfsJI9_KeUw/v-deo.html
- วิธีง่ายๆ เพื่อดับทุกข์ใจ ua-cam.com/video/yUyob1-DKlk/v-deo.html
สำหรับผู้ที่สนใจฝึกฝนเจริญสติ (สติปัฏฐาน) ตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน
1. การเริ่มต้นฝึกฝนในแนวทางของหลวงพ่อเทียน
หากสะดวกหรือสนใจที่จะได้เรียนรู้โดยตรงกับครูอาจารย์ต่างๆ
ก็ลอง search หาใน google ว่าสะดวกจะไปที่ไหน หรือลองดูจาก link นี้
facebook.com/Sanamnai/photos/a.365802240102946.108142.361998700483300/1319466311403196/?type=3
เป็นสถานที่ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ในแนวทางของหลวงพ่อเทียน
2. หรือหากจะเริ่มต้นฝึกฝนโดยดูคลิปต่างๆ จาก channel "มือใหม่หลวงพ่อเทียน"
ก็ให้เข้าไปที่ [ส่วนที่ 1] ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.html
ซึ่งจะรวบรวมประเด็นต่างๆ ที่มือใหม่ควรจะรู้
เราพยายามจัดเรียงลำดับของคลิปไว้ตามหมายเลข
เพื่อลำดับความเข้าใจให้มือใหม่ไม่สับสน ไล่ดูไปเรื่อยๆ ตามลำดับที่เรียงไว้
หากมีข้อสงสัยอะไร ก็ทิ้งคำถามไว้ที่ใต้คลิปนั้น
เราก็จะพยายามหาคำแนะนำของครูอาจารย์มาช่วยคลี่คลายให้
3. หรือหากมีเวลาพอสมควร พอที่จะดูคอร์สการบรรยายที่ยาวหน่อยได้
ก็อยากให้ดูการสอนกรรมฐานแบบเข้าใจง่ายใน [ส่วนที่ 2]
ua-cam.com/play/PL85WQjF_Yosrqwu1E23iCftSJobZU6sK8.html
จะช่วยปูพื้นฐานอย่างละเอียด ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
สาธุคับ
ขอน้อมบูชาพระธรรมคำบรรยายหลวงพ่อคำเขียน สาธุ สาธุ สาธุ ครับ
สาธุ🙏 สาธุ🙏 สาธุ🙏 อนุโมทา... มิครับ
กราบสาธุ
ขออนุโมทนาสาธุๆๆ
กราบหลวงพ่อด้วยความเคารพ
🙏🙏🙏 เวทนาสักว่าเวทนา ไม่เป็นยุ่งเป็นยาก เป็นผิดเป็นถูก
กราบ สาธุ ค่ะ
กราบ สาธุ สาธุ สาธุ
5 มกราคม 2565
14.59 น.
เมื่อเรา เห็น สักแต่ว่า เห็น , ได้ยินเสียง + กลิ่น + รดชาด + กายสัมผัส + ใจรู้สึกใดๆ.. ก็ให้"สักแต่ว่า"..เท่านี้ก็จบจิตฉับพลันปัญญาเห็น ด้วยว่าสิ่งทั้งปวงนั้นๆ "ไม่มีจริง เป็นสิ่งสมมุติที่มนุษย์อุปโหลกขึ้นมาทั้งนั้น"..สาธุ..สาธุ..สาธุ..
สาธุค่ะ
ความคิดที่แสดงออก มันเคลื่อนไหว มันแสดงให้เห็น เราจึงรู้มัน
ฟังธรรมเข้าใจมากขึ้น มือใหม่่ จะพยายามฝึกฝนคะ่
ขอส่งกำลังใจให้ผู้ฝึกฝนทุกท่านค่ะ
ดี
กราบสาธุหลวงพ่อและขออนุโมทนากับผู้เผยแพร่
สาธุครับ
สาธุครับ
น้อมสาธุเจ้าค่ะ
สาธุ
กายที่ ๒ อริยาบถ
เมื่อยืน
ก็รู้ชัดว่า เรายืน หายใจออก
เมื่อเดิน
ก็รู้ชัดว่า เราเดิน หายใจเข้า
เมื่อนั่ง
ก็รู้ชัดว่า เรานั่ง หายใจออก
เมื่อนอน
ก็รู้ชัดว่า เรานอน ทายใจเข้า
ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก
ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า
เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก
เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า
เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า
เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า
ย่อมอยู่ หายใจออก
อนึ่ง หายใจเข้า
สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก
ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า
เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก
เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า
ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
แม้อย่างนี้ หายใจเข้า
ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
สาธุสาธุสาธุ
เข้าใจเข้าถึงจุดนี้ คือจุดเริ่มต้น
การปฏิบัติเข้ามรรคเข้าทาง
สาธุค่ะ
กราบสาธุในธรรมคำสอนเจ้าค่ะ
สาธุครับ
กายที่ ๓
พิจารณาสัมปชัญญะ...
กายที่ ๔
พิจารณาปฏิกูล...
กายที่ ๕
พิจารณาธาตุ...
กายที่ ๖
(พิจารณานวสีวถิกา)พิจารณาเห็นสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ตายมาแล้ว ๑ วัน ๒ วัน ๓
วัน ...
กายที่ ๗
พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ที่ฝูงสัตว์ต่างๆกัดกินอยู่บ้าง ...
กายที่ ๘
พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังมีเลือดและเนื้อ
ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ ...
กายที่ ๙
พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก
ยังเปื้อนเลือดแลต่ปราศจากเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...
กายที่ ๑๐
พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก แต่ปราศจากเลือดและเนื้อแล้ว
ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...
กายที่ ๑๑
พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ปราศจากเส้นเอ็นผูกรัดแล้ว
กระเรี่ยรายไปในทิศน้อยทิศใหญ่...
กายที่ ๑๒ พิจารณาสรีระ
ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกสีขาว เปรียบด้วยสีสังข์...
กายที่ ๑๓
พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูก กองเรี่ยราย เก่าเกินปีหนึ่งไปแล้ว...
กายที่ ๑๔
พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า
เป็นกระดูกผุละเอียดแล้ว...เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงกายอันนี้เล่า
ก็มีอยู่อย่างนี้เป็นธรรมดา
คงเป็นอย่างนี้
ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้
ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก
ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า
เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก
เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า
เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า
เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า
ย่อมอยู่ หายใจออก
อนึ่ง หายใจเข้า
สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก
ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า
เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก
เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า
ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
แม้อย่างนี้ หายใจเข้า
ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
พิจารณากายที่เป็นบัญญัติ......กาย
พิจารณากายเป็นปรมัต...........ในกาย
จนเห็นกายนี้ไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน (อนิจจัว ทุกขัง อนัตตา)
สาธุ สาธุ สาธุ
ขอความเจริญในธรรมจงมีแก่ทุกๆท่าน
พระสูตรนี้
มีท่านพระอาจารย์สุรศักดิ์ สอนได้ดีที่สุด ครับ
23/04/63 ...21.09-23.03 ...ROCK CITYHUNTER...
🙏🙏🙏
ขอน้อมบูชาธรรมอันประเสริฐ ขององค์พ่อแม่ นิพพานปัจจโยโหตุ
🌻🌻🌻
สาธุครับ
กราบสาธุเจ้าค่ะ
สาธุค่ะ
สาธุค่ะ
สาธุค่ะ
🙏🙏🙏
สาธุ 🙏 กราบ🙏กราบ🙏กราบ
สาธุ...ครับ
กราบสาธุค่ะหลวงพ่อ
สาธุค่ะ
มือใหม่หลวงพ่อเทียน กราบสาธุเจ้าค่ะ
สาธุค่ะ
แม่ชีฉวีวรรณเวชนุสิทธิ์/ฟังแล้วพิจารณาตามไป
สาธุครับ
น้อมกราบนมัสการสาธุๆๆครับ
นอ้มกราบสาธุโอวาทธรรมเจ้าคะ
กราบสาธุค่ะ
สาธุค่ะ
กราบสาธุๆคะ
สาธุๆๆๆ
สาธุๆๆ
สาธุๆๆคับผม
สาธุค่ะ
สาธุค่ะ
🙏🙏🙏
กราบสาธุครับ
สาธุค่ะ
สาธุค่ะ
กราบสาธุค่ะ
สาธุค่ะ
สาธุค่ะ
สาธุค่ะ
สาธุค่ะ
กราบสาธุครับ