Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
เนื่องจากคลิปยาวมากกกกสามารถเลือกดูตามเรื่องที่สนใจและดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ตามนี้ครับ0:00 Intro0:44 เข้าใจฐานภาษี2:03 การจัดเก็บภาษีของประเทศไทย3:07 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา3:59 การหักค่าใช้จ่ายที่ไม่เท่ากัน5:04 การหักค่าลดหย่อนที่แตกต่าง6:09 สิทธิ์ลดหย่อนเป็นของคนรายได้สูง?7:47 คนมีรายได้สูง มีทางเลือกลดภาษีมากกว่า9:57 โอกาสลดภาษีของคนที่จดบริษัท12:23 ภาษีมรดกและภาษีการรับให้13:02 ภาษีมรดกกับโอกาสในการจัดการ15:27 ภาษีการรับให้ถ้าไม่สูงจริงไม่ต้องเสีย16:23 ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง18:06 ภาษีมูลค่าเพิ่มเท่าเทียมกันจริงเหรอ?19:41 สรุปและตัวอย่างเปรียบเทียบ23:12 ความเหลื่อมล้ำและการจัดการของรัฐบทความ- ภาษีกับการลงทุนระยะยาวของคนไทย : www.pier.or.th/abridged/2020/21/- How Do Taxpayers Respond to Tax Subsidy for Long-term Savings? Evidence from Thailand’s Tax Return Data : www.pier.or.th/dp/143/- ปัญหาและผลกระทบจากการบังคับใช้ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 : dl.parliament.go.th/handle/lirt/556599
ขอให้คนรวยไฮโซโดนเก็บภาษี 80%คนทำงาน 35,000เดือนหมื่น
ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะพรี่หนอม เข้าใจง่ายมาก เคลียร์มากๆ
ขอบคุณมากครับ
ขอบคุณคะ
สอบถามครับถ้ามารดาโอนที่ดินและบ้านให้ลูก ต้องเอาไปยื่นรายได้ภาษีบุคคลธรรมดาด้วยไหมครับ
ฟังดูถ้าไม่คิดตามก็เหมือนจะจริงแต่บางเรื่องก็ดูจะ bias มากเกินไปอย่างเรื่อง VAT หรือเรื่อง Q1 ถ้าเอาตามจริงคนที่อยู่ใน Q1 เขาไม่เสียภาษีนะครับเพราะรายได้ไม่ถึงส่วนเรืื่อง VAT อย่กได้ข้อเสนอแนะหน่อยครับว่าทำยังไงถึงจะยุติธรรมได้มากกว่านี้
ถ้าจากผลการศึกษา กลุ่ม Q1 ยังเสียภาษีครับ เนื่องจากเป็นการใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้ยื่นแบบฟอร์มภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในช่วงปี 2009-2016 ซึ่งในกรณีของมนุษย์เงินเดือน (เงินได้ประเภทที่ 1) ยังไม่ได้รับการปรับค่าใช้จ่ายจาก 60,000 บาทเป็น 100,000 บาท และยังได้สิทธิ์ค่าลดหย่อนส่วนตัวที่ 30,000 บาทครับ ดังนั้นคนกลุ่มที่เงินเดือนประมาณ 20,000 บาทขึ้นไป จะเริ่มเสียภาษีแล้วครับ *การปรับค่าใช้จ่ายเป็น 100,000 และค่าลดหย่อนเป็น 60,000 เริ่มในปี 2017 เป็นต้นไปครับ ส่วนเรื่องของ Bias จริงๆ แล้วในคลิปพยายามจะบอกทุกมุมมองที่แตกต่างกันของทุกฝ่ายครับ อย่างกรณี VAT อาจจะไม่ได้อยู่ที่ % ของการเก็บภาษีครับ (จาก concept ประหยัดต่อขนาดที่ว่า) แต่เป็นเรืองของการทำให้ประชาชน มีสวัสดิการพื้นฐานหรือการเข้าถึงทรัพยากรบางอย่างได้อย่างเท่าเทียมมากกว่าครับ ทั้งในเรื่องของรายได้พื้นฐานที่ทำให้การเสีย VAT ไม่ได้เป็นภาระค่าครองชีพของคนบางกลุ่ม แต่อย่างไรก็ตามมันก็ไม่มีทางทำให้ทุกฝ่ายพอใจหรือเท่าเทียมในมุมของภาษีได้ครับ เพียงแต่รัฐมีหน้าที่กำหนดนโยบายโดยรวมไม่ให้เอื้อประโยชน์ต่อประชาชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมากกว่าครับประมาณนี้นะครับ แลกเปลี่ยนกันครับ :)
ที่อยากให้เปลี่ยนคือขยายฐานภาษีออกจากเดิมให้กว้างกว่านี้หน่อย ผมฐานภาษี 30% ซื้อลดหย่อนเต็มแมก ทุกอย่าง แต่ภาษีแต่ละปีเห็นแบบหน้ามืดครับ รวมๆ มากกว่าค่าผ่อนบ้านผมเกือบสามเท่า
กระจ่างมากครับ เนื้อหาดี
อาชีพค้าขายบ้านๆ แทบจะไม่เคยเสียภาษีเงินได้
ค้าขายบ้านๆเสียvatรวมๆ มากกว่า ภาษีเงินได้ อีกมั้งอย่าลืมครับ ของที่เขาซื้อมาขายเสียvat นะครับ😁
@@-.-5122 ขอที่เขาชื้อมาขายเสีย vat แต่เขามาขายราคา on Top คนชื้ออีกที
@@toomimitoo7787 คนละส่วนกันแล้วครับ เค้าจะon topเท่าไหร่ เรื่องของเขา พูดถึงภาษี ครับ ตอนซื้อมา ก็=เสียภาษีแล้วผมจะพูดถึงประเด็นที่ เจ้าของคอมเม้นที่ พูดถึงพ่อค้าแทบจะไม่เสียภาษีเงินได้..มีเยอะครับ พวกทำงานมีเงินเดือน เสียภาษีเงินได้ปีละไม่กี่บาท ชอบอคติกับพวกค้าขายว่าไม่เคยเสียภาษีทั้งที่คำว่า ภาษี ปีๆนึง ได้จากพวกค้าขายนี้ มากกว่าอีกมั้งครับ
@@-.-5122 เสียภาษีที่ไม่เสียจริงไงครับ เพราะคนที่เสียคือคนชื้อ
@@toomimitoo7787 เหอะๆ ตรรกะไรครับเนี้ย 😁งั้นไอ้พวกพนักงานรายเดือน คนเสียก็นายจ้างสิครับ...สมมุติ ผมซื้อขนมจากเซลล์มา 8บาทไม่รวมvat หน้าซองเขียน10.-ผมสามารถ ontop 10.7 บาทได้หรือ
เป็นอีกช่อง ที่อยากให้มีคนติดตามเยอะๆจริงๆ เพราะความรู้ตรงนี้ หรือสิ่งที่ตกผลึกได้จากทุกคลิป มันคือนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง เพราะถ้าเราไม่รุ้ เราก้อได้แต่มโนตามคนอื่น หรือ bias อะไรบางอย่างไป .. ขอบคุนครับ
ขอบคุณมาก ๆ ครับ เป็นแรงใจที่ดีในการทำคลิปของผมเลยครับ
ประชาชนที่เลี่ยงภาษีก็เยอะ555..ไม่มีใครรู้..
จริงคนจนเสียเปรียบคนรวยจริงๆ เพราะคนจนหลีกเลี่ยงพลิกแพลงไม่เป็น ถ้าจนท.ออกสำรวจท้องที่ตามจริงจะดีกว่านั่งดูข้อมูลจากกรมต่างๆ
ทุกวันนี้มาเก็บแต่รายได้กับบริโภค แต่ทรัพย์สินคือคนรวย ไม่เก็บเท่าไหร่
ผมซื้อปลาทูนึ่งสองตัวมาราคาหกสิบบาท ท่านว่าผมเสียภาษีหรือไม่ครับ?
ทำไมตัวอย่างเปรียบเทียบ ค่าใช้จ่าย 60% ของบุคคลธรรม เป็นแบบนี้อ่ะครับ ต้องสูงสุด 100000 ไม่ใช่หรอครับ
60% คือแบบเหมาค่ะ ถ้าคุณไม่ทำบัญชีนำส่งสรรพากร เขาจะใช้วิธีหักค่าใช้จ่ายจากรายได้ค่ะ ซึ่งก็โหดสลัดอยู่ดีถ้าคุณทำโครงการกับรัฐ ดังนั้นถ้าอยากหัก 100%ก็ต้องทำบัญชีนำส่งค่ะ
60% เป็นค่าใช้จ่ายในกลุ่มธุรกิจครับ (เงินได้ประเภทที่ 8) ครับ ส่วน 100,000 เป็นของมนุษย์เงินเดือน (เงินได้ประเภทที่ 1) ครับ
@@TAXBugnomsChannel @TAXBugnoms อ้อ ครับ เห็นนาทีที่ 10 ในช่อง บุคคลธรรมดาเป็นแบบนั้น เรยงง แต่เข้าใจละครับ ตอนนี่อธิบายถึง ธุรกิจ
เวลายึด ยึดเร็ว เวลาขอคืน ตรวจแล้ว ตรวจอีก เอาเรื่องขอลดอีกต่างหาก
ถ้าประเทศใช้เงินที่สมควรใช้อันนี้เห็นด้วย แต่ที่ผ่านมาไร้สาระมาก
เนื้อหาดีครับ แต่เรื่องนี้ ถ้าเป็นคนรายได้น้อย เขาจะไม่ค่อยสนใจระบบภาษี พยายามสอนก็ไม่สนใจ เห้อ
ขอบคุณครับ
VAT 7 บาท ของคนค่าแรงรายวัน320บาท กับ คนเงินเดือน50000บาท ไม่เท่ากันครับ / หักค่าใช้จ่ายของ 40(1) 100,000บาท อันนี้ใช้มากี่ปีแล้วครับ ค่าครองชีพแพงขึ้นไปขนาดไหน เงินเฟ้อตามกาลเวลา เอาจริงๆ100,000บาท พอกับค่าใช้จ่ายหรอครับ???
เข้าใจว่ารัฐต้องการสรับสนุนให้ประชาชนทำงานแสวงหาโอกาสจนทำให้เกิดรายได้และนำส่งภาษีเข้ารัฐ ถ้ามุมมองกลับว่า ทำรายได้เยอะก็ต้องเสียเยอะ โดยหากไม่มีลดหย่อน มันก็มองได้ว่าไม่เป็นธรรม ระหว่างคนที่ใช้ทรัพยากรอย่างเดียว กับคนที่ทำให้เกิดรายได้และเศรษฐกิจที่เติบโต และมุมด้านภาระที่รัฐต้องรับผิดชอบต่อประชาชนในอนาคต
สรุปคนเทรดforexโดนทิ้งของจริง
เนื่องจากคลิปยาวมากกกก
สามารถเลือกดูตามเรื่องที่สนใจและดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ตามนี้ครับ
0:00 Intro
0:44 เข้าใจฐานภาษี
2:03 การจัดเก็บภาษีของประเทศไทย
3:07 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
3:59 การหักค่าใช้จ่ายที่ไม่เท่ากัน
5:04 การหักค่าลดหย่อนที่แตกต่าง
6:09 สิทธิ์ลดหย่อนเป็นของคนรายได้สูง?
7:47 คนมีรายได้สูง มีทางเลือกลดภาษีมากกว่า
9:57 โอกาสลดภาษีของคนที่จดบริษัท
12:23 ภาษีมรดกและภาษีการรับให้
13:02 ภาษีมรดกกับโอกาสในการจัดการ
15:27 ภาษีการรับให้ถ้าไม่สูงจริงไม่ต้องเสีย
16:23 ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
18:06 ภาษีมูลค่าเพิ่มเท่าเทียมกันจริงเหรอ?
19:41 สรุปและตัวอย่างเปรียบเทียบ
23:12 ความเหลื่อมล้ำและการจัดการของรัฐ
บทความ
- ภาษีกับการลงทุนระยะยาวของคนไทย : www.pier.or.th/abridged/2020/21/
- How Do Taxpayers Respond to Tax Subsidy for Long-term Savings? Evidence from Thailand’s Tax Return Data : www.pier.or.th/dp/143/
- ปัญหาและผลกระทบจากการบังคับใช้ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 : dl.parliament.go.th/handle/lirt/556599
ขอให้คนรวยไฮโซโดนเก็บภาษี 80%คนทำงาน 35,000เดือนหมื่น
ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะพรี่หนอม เข้าใจง่ายมาก เคลียร์มากๆ
ขอบคุณมากครับ
ขอบคุณคะ
สอบถามครับ
ถ้ามารดาโอนที่ดินและบ้านให้ลูก ต้องเอาไปยื่นรายได้ภาษีบุคคลธรรมดาด้วยไหมครับ
ฟังดูถ้าไม่คิดตามก็เหมือนจะจริง
แต่บางเรื่องก็ดูจะ bias มากเกินไปอย่างเรื่อง VAT หรือเรื่อง Q1 ถ้าเอาตามจริงคนที่อยู่ใน Q1 เขาไม่เสียภาษีนะครับเพราะรายได้ไม่ถึง
ส่วนเรืื่อง VAT อย่กได้ข้อเสนอแนะหน่อยครับว่าทำยังไงถึงจะยุติธรรมได้มากกว่านี้
ถ้าจากผลการศึกษา กลุ่ม Q1 ยังเสียภาษีครับ เนื่องจากเป็นการใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้ยื่นแบบฟอร์มภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในช่วงปี 2009-2016 ซึ่งในกรณีของมนุษย์เงินเดือน (เงินได้ประเภทที่ 1) ยังไม่ได้รับการปรับค่าใช้จ่ายจาก 60,000 บาทเป็น 100,000 บาท และยังได้สิทธิ์ค่าลดหย่อนส่วนตัวที่ 30,000 บาทครับ ดังนั้นคนกลุ่มที่เงินเดือนประมาณ 20,000 บาทขึ้นไป จะเริ่มเสียภาษีแล้วครับ
*การปรับค่าใช้จ่ายเป็น 100,000 และค่าลดหย่อนเป็น 60,000 เริ่มในปี 2017 เป็นต้นไปครับ
ส่วนเรื่องของ Bias จริงๆ แล้วในคลิปพยายามจะบอกทุกมุมมองที่แตกต่างกันของทุกฝ่ายครับ อย่างกรณี VAT อาจจะไม่ได้อยู่ที่ % ของการเก็บภาษีครับ (จาก concept ประหยัดต่อขนาดที่ว่า) แต่เป็นเรืองของการทำให้ประชาชน มีสวัสดิการพื้นฐานหรือการเข้าถึงทรัพยากรบางอย่างได้อย่างเท่าเทียมมากกว่าครับ ทั้งในเรื่องของรายได้พื้นฐานที่ทำให้การเสีย VAT ไม่ได้เป็นภาระค่าครองชีพของคนบางกลุ่ม
แต่อย่างไรก็ตามมันก็ไม่มีทางทำให้ทุกฝ่ายพอใจหรือเท่าเทียมในมุมของภาษีได้ครับ เพียงแต่รัฐมีหน้าที่กำหนดนโยบายโดยรวมไม่ให้เอื้อประโยชน์ต่อประชาชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมากกว่าครับ
ประมาณนี้นะครับ แลกเปลี่ยนกันครับ :)
ที่อยากให้เปลี่ยนคือขยายฐานภาษีออกจากเดิมให้กว้างกว่านี้หน่อย ผมฐานภาษี 30% ซื้อลดหย่อนเต็มแมก ทุกอย่าง แต่ภาษีแต่ละปีเห็นแบบหน้ามืดครับ รวมๆ มากกว่าค่าผ่อนบ้านผมเกือบสามเท่า
กระจ่างมากครับ เนื้อหาดี
ขอบคุณมากครับ
อาชีพค้าขายบ้านๆ แทบจะไม่เคยเสียภาษีเงินได้
ค้าขายบ้านๆเสียvatรวมๆ มากกว่า ภาษีเงินได้ อีกมั้ง
อย่าลืมครับ ของที่เขาซื้อมาขายเสียvat นะครับ😁
@@-.-5122 ขอที่เขาชื้อมาขายเสีย vat แต่เขามาขายราคา on Top คนชื้ออีกที
@@toomimitoo7787 คนละส่วนกันแล้วครับ เค้าจะon topเท่าไหร่ เรื่องของเขา พูดถึงภาษี ครับ ตอนซื้อมา ก็=เสียภาษีแล้ว
ผมจะพูดถึงประเด็นที่ เจ้าของคอมเม้นที่ พูดถึงพ่อค้าแทบจะไม่เสียภาษีเงินได้..
มีเยอะครับ พวกทำงานมีเงินเดือน เสียภาษีเงินได้ปีละไม่กี่บาท ชอบอคติกับพวกค้าขายว่าไม่เคยเสียภาษี
ทั้งที่คำว่า ภาษี ปีๆนึง ได้จากพวกค้าขายนี้ มากกว่าอีกมั้งครับ
@@-.-5122 เสียภาษีที่ไม่เสียจริงไงครับ เพราะคนที่เสียคือคนชื้อ
@@toomimitoo7787 เหอะๆ ตรรกะไรครับเนี้ย 😁
งั้นไอ้พวกพนักงานรายเดือน คนเสียก็นายจ้างสิครับ
...สมมุติ ผมซื้อขนมจากเซลล์มา 8บาทไม่รวมvat หน้าซองเขียน10.-
ผมสามารถ ontop 10.7 บาทได้หรือ
เป็นอีกช่อง ที่อยากให้มีคนติดตามเยอะๆจริงๆ เพราะความรู้ตรงนี้ หรือสิ่งที่ตกผลึกได้จากทุกคลิป มันคือนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง เพราะถ้าเราไม่รุ้ เราก้อได้แต่มโนตามคนอื่น หรือ bias อะไรบางอย่างไป .. ขอบคุนครับ
ขอบคุณมาก ๆ ครับ เป็นแรงใจที่ดีในการทำคลิปของผมเลยครับ
ประชาชนที่เลี่ยงภาษีก็เยอะ555..ไม่มีใครรู้..
จริงคนจนเสียเปรียบคนรวยจริงๆ เพราะคนจนหลีกเลี่ยงพลิกแพลงไม่เป็น ถ้าจนท.ออกสำรวจท้องที่ตามจริงจะดีกว่านั่งดูข้อมูลจากกรมต่างๆ
ทุกวันนี้มาเก็บแต่รายได้กับบริโภค แต่ทรัพย์สินคือคนรวย ไม่เก็บเท่าไหร่
ผมซื้อปลาทูนึ่งสองตัวมาราคาหกสิบบาท ท่านว่าผมเสียภาษีหรือไม่ครับ?
ทำไมตัวอย่างเปรียบเทียบ ค่าใช้จ่าย 60% ของบุคคลธรรม เป็นแบบนี้อ่ะครับ ต้องสูงสุด 100000 ไม่ใช่หรอครับ
60% คือแบบเหมาค่ะ ถ้าคุณไม่ทำบัญชีนำส่งสรรพากร เขาจะใช้วิธีหักค่าใช้จ่ายจากรายได้ค่ะ ซึ่งก็โหดสลัดอยู่ดีถ้าคุณทำโครงการกับรัฐ ดังนั้นถ้าอยากหัก 100%ก็ต้องทำบัญชีนำส่งค่ะ
60% เป็นค่าใช้จ่ายในกลุ่มธุรกิจครับ (เงินได้ประเภทที่ 8) ครับ ส่วน 100,000 เป็นของมนุษย์เงินเดือน (เงินได้ประเภทที่ 1) ครับ
@@TAXBugnomsChannel @TAXBugnoms อ้อ ครับ เห็นนาทีที่ 10 ในช่อง บุคคลธรรมดาเป็นแบบนั้น เรยงง
แต่เข้าใจละครับ ตอนนี่อธิบายถึง ธุรกิจ
เวลายึด ยึดเร็ว เวลาขอคืน ตรวจแล้ว ตรวจอีก เอาเรื่องขอลดอีกต่างหาก
ถ้าประเทศใช้เงินที่สมควรใช้อันนี้เห็นด้วย แต่ที่ผ่านมาไร้สาระมาก
เนื้อหาดีครับ แต่เรื่องนี้ ถ้าเป็นคนรายได้น้อย เขาจะไม่ค่อยสนใจระบบภาษี พยายามสอนก็ไม่สนใจ เห้อ
ขอบคุณครับ
VAT 7 บาท ของคนค่าแรงรายวัน320บาท กับ คนเงินเดือน50000บาท ไม่เท่ากันครับ / หักค่าใช้จ่ายของ 40(1) 100,000บาท อันนี้ใช้มากี่ปีแล้วครับ ค่าครองชีพแพงขึ้นไปขนาดไหน เงินเฟ้อตามกาลเวลา เอาจริงๆ100,000บาท พอกับค่าใช้จ่ายหรอครับ???
เข้าใจว่ารัฐต้องการสรับสนุนให้ประชาชนทำงานแสวงหาโอกาสจนทำให้เกิดรายได้และนำส่งภาษีเข้ารัฐ ถ้ามุมมองกลับว่า ทำรายได้เยอะก็ต้องเสียเยอะ โดยหากไม่มีลดหย่อน มันก็มองได้ว่าไม่เป็นธรรม ระหว่างคนที่ใช้ทรัพยากรอย่างเดียว กับคนที่ทำให้เกิดรายได้และเศรษฐกิจที่เติบโต และมุมด้านภาระที่รัฐต้องรับผิดชอบต่อประชาชนในอนาคต
สรุปคนเทรดforexโดนทิ้งของจริง