Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
ขอขอบคุณเรื่องราวดีๆจากคลิปวีดีโอต้นฉบับด้วยนะครับua-cam.com/video/7dk79yn_6Gk/v-deo.htmlsi=Z3-ZoDjF461xbWYz
ดูวิดีโอภาพช้างตั้งด่านไถ่เอาอ้อยจากรถบรรทุกที่เขาใหญ่จะทึ่งไปกว่านี้ ถ้าจะมีที่กันดารของแท้ ก็ไปที่ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ที่ ต้องขี่ทั้งรถ 4WD มอเตอร์ไซค์ และ เดินเท้าข้ามเขาหลายลูก ขนหีบบัตรเลือกตั้ง ไปส่งศาลากลางจังหวัด หลังนับที่หน่วยลือกตั้งแล้ว หรือ ไปหมู่บ้านกระเหรี่ยงเลตองคุ แถวอุ้มผาง เมืองตาก ที่กว่าจะเจอหมู่บ้านต่อไป ต้องเดินเท้าตัดด่านช้างในทุ่งใหญ่นเรศวรระยะทางร่วม 100 กิโลเมตร ที่ห้ามการสร้างถนนตัดผ่านโดยเด็ดขาดเพราะเป็นมรดกโลก และ รถต้องข้ามผ่านเขตแดนพม่าก่อนวกเข้าไทยอีกที เพราะ มีภูเขาขวางอยู่ตัดถนนลำบากมาก
รัษาคนลาวua-cam.com/video/6534WJXpe5M/v-deo.htmlsi=0yzO6F5dJnExydZa
อบต.(องค์การบริหารส่วนตำบล) คือหน่วยงานที่ประชาชนในท้องถิ่นในแต่ละตำบล เขาจะบริหารจัดการตนเอง เขาจะค่อย ๆ พัฒนาไปตามกำลังงบประมาณที่มี การทำถนนคอนกรีต อบต.จะค่อยๆทำไป เมื่อมีงบประมาณมาเพิ่มเขาก็จะทำต่อจากที่ทำไว้แล้วนั้น จนกว่าจะเสร็จตลอดทั้งสาย ภายในเขตตำบลที่รับผิดชอบ .... ที่เราเห็นเป็นดินแดงต่อกับถนนคอนกรีต คือที่กำลังรองบประมาณจะทำต่อไปนั้นเองครับ ทำไว้ให้ประชาชนใช้สัญจรติดต่อกันแต่ละหมู่บ้านอย่างสะดวกสบาย และขนส่งผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาดครับ
บ้างหมู่บ้านก้ช่าวบ้านช่วยรวมเงินกันสร้างขึ้นด้วยหลายๆหมู่ไปตามชนบทจะเห็นบ้างข้างถนนมีชื่อคนร่วมสู้ราง
ฟังให้ดีนะครับ ถนนดินแดงอยู่ดีๆเป็นถนนคอนกรีต เหตุการแบบนี้คือ มันเป็นพื้นที่รอยต่อของแต่ละเขตการปกครองแต่ละ อบต. ครับ เช่น 1. ฝั่งถนนดินแดงเป็นพื้นที่ของ อบต.เอ ก็หมายถึงช่วงถนนที่เป็นดินแดง คือพื้นที่ที่ยังไม่จำเป็นต้องทำถนนคอนกรีต คือเอางบประมาณไปพัฒนาจุดอื่นที่จำเป็นก่อน2. ฝั่งถนนคอนกรีต เป็นพื้นที่ของ อบต.บี ก็หมายถึง เช่น อบต.นี้เค้าพัฒนาถนนส่วนอื่นหมดแล้ว และตรงนี้ก็มีงบหรืองบเหลือก็ทำถนนคอนกรีตให้เลย++ สรุป งบพัฒนาท้องถิ่นแต่ละ อบต.ได้มาไม่เท่ากัน และความจำเป็นเร่งด่วนของแต่ละ อบต.ก็ไม่เหมือนกัน การทำถนนจึงเป็นแบบที่เห็น แต่คงอีกไม่นานก็เจียดเงินมาทำคอนกรีตให้ถึงกัน ท่านไม่ต้องห่วง ท่านไม่ต้อง งง ท่านไม่ต้องแปลกใจ
ทางดินแดงในไทยไม่ใช้ทางย้อนอดีตครับผม เป็นทางตัดไหม่ตัดเข้าไปให้ชาวบ้านตามไร่นา สังเกตดูเสาไฟฟ้าพึ่งจะมาติดตั้ง ปีหน้า แอดมิน มาดูไหม่นะครับ ลาดยางเรียบเลยละ😊
เขาทำตามงบที่ใด้มาครับ...ที่แอ็ดถามว่าป้าบอะไรน่ะคือป้ายของ.อ.บ.ต.หรือองค์การบริหารตำบลที่เขาบอกเล่าว่าใช้งบก่อสร้าง..หรือจะมีการทำต่ออีกในอนาคตถ้ามีงบมาอีก...
ใครเจอทางดินแดงถือว่าเป็นผู้โชคดีในรอบปีนะครับ น้ำไหล ไฟสว่าง ทางดี ...
ดีแล้ว ถ่ายตามความเป็นจริง หน่วยงานไหน มาดูผลงานด้วยนะ😂 อันไหนไม่เสร็จ ทำให้เสร็จ
ถนนคอนกรีตคือถนนสายระหว่างหมู่บ้าน ใช้งบจาก อบต.(องค์การบริหารส่วนตำบล )ส่วนถนนลาดยางจะสร้างระหว่างอำเภอ สร้างด้วยงบจากหน่วยงานรพช.(สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท) ถ้าระดับเชื่อมจังหวัด ถนน4เลนขึ้นไป จะสร้างหรือรับผิดชอบโดยกรมทางหลวง คร่าวๆค่ะ
❤❤❤❤
เป็นคอนกรีตหมดแล้ว ถ้าคุณเห็นทางลูกรังนั้นแสดงว่าคุณโชคดีมากๆเลยเพราะมันหายากมากแล้วครับ
คุณมีบุญมากที่เห็นแบบนี้
ส่วนใหญ่ทางสิมีหน่วยงานแต่ละเขตรับผิดชอบคับ บางส่วนที่ยังไม่ต่อกันกะต้องรองบประมาณค่อยๆ ต่อเติมไปในแต่ละปีงบประมาณครับ😊
เขาเรียก ถนนเกษตรกร..สำหรับขนเกษตรที่ทำได้ออกไปขาย หรือไปเก็บรักษา...
พอจะเข้าใจความรู้สึก ที่หลายๆคนฝั่งลาว ตื่นเต้น หรือ ชื่นชม ถนนหนทางที่ประเทศไทยนะครับ อันนี้ก็ขึ้นอยู่กับผู้ใหญ่ที่บริหาร ปกครองประเทศครับ
่าวโบ้หลายๆเด้อถ่ายคริบให่เบิ่ง
ขอบคุณลุงครับ
ชอบมากเลยครับจัดความจริง
ถนนดินแดง เป็นที่ดินของเอกชน ทางการไม่สามารถทำถนนได้ครับ ต้องเวนคืนก่อน ถึงสร้างถนนได้
รอยต่อของเขตการปกครองของแต่ละอบต.ครับแต่ไม่เกินปีก็จะเชือมต่อครับ
น่าจะเป็นรัดที่เขาใช้สมัยเดินเท้าไปนาไร่และติดต่อบ้านคนได้ใช้จริงๆไปไร่
ทำตามงบประมาณที่ได้มาล่ะครับ รัฐบาลเขาจัดให้ รัฐบาลที่ได้ชื่อว่ามาจากรัฐประหารแต่บริหารได้สุดยอดขนาดนี้ ลุงตุ่สุดยอดดดดด
ดีมากที่บ่าวโบ้นำเสนอ ิาจจะเป็นหมู่บ้านตกสำรวจแต่คงไงไม่นานคงลาดยางใยไม่ช้า
สวัสดีตอนเช้าค่ะ
เขาเหดยังบอ่แหล้วทีเหํ๊นดินแดงแตุละปีเขาเ,ฮ็ดตามงบประมาน
เมื่อรัฐบาลดี หน่วยงานพัฒนา ผู้นำชุมชนตั้งใจทำงานเพื่อท่องถื่น ภายยใน ๗ - ๘ ปี ทุกพื้นที่ในประเทศก็จะเจริญ.....
วันนี้หนาว ก่างวัน6% มีลมแรงค่ะ ตอนกางคืน ลบ0 ค่ะ ถนไปนาไปไร่
อรุณสวัสดิ์..เด้อ.บ่าว.หลุย..ยูทูปเปอร์..คนดี..คนดัง..ทาง.สปป..ลาวเฮา..มื้อนี้วันที่.10/1/67..ตื่นมาก็มาชมคลิป..ของบ่าวหลุย..มีสาระอะไรดีๆ.มานำเสนอต่อสาธารณะชน..ให้ใด้.อัปเดดกัน...สู้.ๆ.ขอเป็นกำลังใจให้บ่าวหลุย..สู้ๆต่อไป..เน๊าะ..จาก.f.c.ฝั่งไทยเด้อ..เมืองอุบลฯเฮานี่ล่ะ.ฝากความคึดฮอดคึดเถิงไปหา.บ่าวโบ้..โซล่า..นำแหน่เด้อ...บ่าวหลุยเอ้ย..สบายดี..สวัสดีครับ.❤❤❤❤❤
น่าจะเป็นหมู่บ้านตั้งใหม่ บ่าวโบ้ ถ่ายจากข้างใน ออกมาข้างนอกคักๆ
งบมาปีละ100เมตรในการสร้างถนนคอนกรีต งบ อบต ให้หมู่บ้านละ300,000บาท สมมุติว่าหมู่บ้านนั้นมีหมู่1,2,3 ก็แปลว่าหมู่บ้านนั้นได้900,000บาท
ทางลูกรัง ในป่าชุมชน จะปล่อยไว้ให้เป็นธรรมชาติ ไม่ลาดยาง ไม่เทปูคอนกรีต
ถนนในชนบทบ้างหมูบ้านมีถึง15.20สาย แตละหมูบ้านในไทยตรงไหนทีชาวบ้านเรียกร้องไห้ทำถนน ทาง.อบต เขาก้อเอาเข้าสภา สภาของอบต ไนสภาโหวตไห้ผานก้อสร้างถนนได้เลย พร้อมลาดยางหรือคอนกรีต ทีบ้านผมนะ
.สบาดีบ่าวลุย .อยู่ไทยจะมีการกระจายอำนาจการพัฒนา ถ้าเป็นคอนกรีต จะเป็นการก่อสร้างของ องค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.)ทำได้ในเขตตำบล ถ้าถนนลาดยาง ตำบลเชื่อมตำบล จะเป็นของ องค์การบริหารส่วนจังหวัด(อบจ.)หรือบางครั้งก็เป็นของ โครงการเร่งรัดพัฒนาชนบท (กรป.กลาง) หรือ หน่วยงานทหารช่าง..ซึ่งมีหลายหน่วยงาน.เกือบจะว่าแย่งกันทำ หรือแบ่งกันทำ
บ่าลุยคือการพัฒนาที่ไทย เขาจะทำกันเป็นหมู่บ้าน เป็นตำบล คือแต่ละปีหมู่บ้านใหนได้งบประมาณเท่าไรก็ทำกันไปตามงบประมณที่ได้ ปีนี้ได้มาเท่านี้ก็ทำแค่นี้ ปีหน้าได้งบมาอีกก็ทำต่อไปเรื่อยจนกว่าแล้วเสร็จ
สร้างตามงบที่อบต.ได้รับเป็นช่วงๆๆหรือตอนๆ
แต่ละปี อบต.และเทศบาลจะมีงบประมาณในการก่อสร้างถนนหนทาง สมมุติว่าปีนี้มีเงินงบประมาณในการก่อสร้างถนน คสล.(คอนกรีตเสริมเหล็ก) 100 บาท สมมุตินะครับ แล้วก่อสร้างได้100เมตร แต่ถนนยาว150 เมตร ปีต่อไปถ้างบประมาณอีกก็สร้างต่อให้เสร็จคับ
บ่าวลุยบ่ต้องแปลกใจที่ไทยเขาทำถนนไปตามทุ่งนา ตามสวนยางเพราะเขาต้องการให้เกษตรกร ใช้ในการขนส่งสินค้าการเกษตร ถนนดีก็เป็นการลดต้นทุนไปด้วย จะเห็นใด้ว่าถนนที่เป็นลูกรังจะเหลือน้อยเต็มที
และไม่ต้องแปลกใจ ถนนไปถึงไหน? ไฟฟ้า และ แสงสว่าง ก็ไปถึงที่นั่น เช่นกัน นะครับ
ทางที่บ่าวโบ้ไปนั้นมันเป็นทางไปเก็บเห็ดละโงกเก็บเห็ดป่าไปขายทางไปดงไปป่าใหญ่ระวังหลงป่างูเหลือมคาบไปกินเด้อบ่าวลาวอย่าเข้าไปมั่วๆเด้อ
ถนนดินแดง รองบประมาณครับ
บ้านพี่จร้าใกล้ๆๆกันเลย
ประเทศไทยอิ่ก20ปรเรื่องพัฒนาในด้านอุปโภคคงหมดที่จะทำตาอต่ไปเมทองไทยก็มีเงินคงคลังเหลือเยอะรัฐคงเริ่มโครงกสรด้านอื่นๆเข้าแทนการศึกษสฟรัตลอดชรวิตประชาชนมีเงิน้ดทอนใช้มุกคนให้ทุนการประกอบอาชึพดอกเบร้บต่ำสุดร่อยละ0.5ต่อปีและแจกเมล็ดพันธ์ฟรีตามประชาชนต้องดารและค่าน้ำำไฟฟ้าครึ่งราคาจะทำให้ประชาชนมีอยู่มีกินอย่างอุดมสมบูรณ์อยาสงถ้สวินตลอดไปนะครับนร้คือฝันของและรัฐบาลครับปม
รองบประมานการก่อสร้างปีต่อไปครับ
ถนนสี่แลนนี้เขาเอาไว้ไปนาครับไม่ใช่ที่เที่ยวครับ สองข้างทางจึงเป็นป่าครับ
บ่าวลุยทางลูกรังรองบประมาณอ.บ.ตเดี่ยวเขาก็สร้างจ้ะ
ไปทั่วทีบทั่วแดน..ระวังหลงเด้อบ่าว ข่อยยังบ่อเคยไปเลย...เสียอย่างเดียวบ่อติดป้ายบอกทางเลย..บอกเผิ่นเฮ็ดป้ายติดแน่เด้อบ่าวโบ้
ช่องตรีสาวลาว คนต่างแดน.กะมีหลายกว่าช่องบ่าวโบ้เด้อถนนชนบท
ถ้าจะออกถนนใหญ่ต้องเป็นการทางหลวงทำ อบต. หรือหน่วยอื่นทำไมได้ต้องให้กรมทางหลวงอนุญาตหรือมาทำเองครับ เพราะถนนทางหลวงมันกว้างมาก ในหมู่บ้านทำได้ในเขตของตัวเอง ไปทำเกินทางหลวงไม่ได้ กฏหมายมีไว้ครับ
คนเฮาบ่อฮู้จักความสุขดอกบ่าว คนทุกข์กะทุกข์แบบคนทุกข์ คนรวยกะทุกข์แบบคนรวย ทุกข์คือกันเหมิดนั้นหละ
บ่าวลุยคนอารมณ์ดี
คิดว่า เป็นถนนดินแดงเป็นถนนระหว่างหมู่บ้าน ที่องค์การบริหารส่วนตำบลเขาจะใช้งบประมาณต่อปีได้ไม่เยอะ อาจทำถนนได้ปีละ 1หรือ2กิโลเมตร แต่จะทำต่อจนเสร็จ นั่นไม่ใช่ทางสายหลัก
อ.ตระการพืชผล อยู่ จ.อุบลราชธานี ครับ
บ่าวโบ้สายลุย เก่ง ❤❤❤❤👍👍👍
แสดงว่างบประมาณงบก่อนครับแบบนี้ ปีหน้าสร้างต่อครับ รองบประมาณอยู่ครับ ไม่นานเกินรอ
บ้านข่อย ยังมีทางดินหินแดงๆคือกัน บางพื่นที่กะยังเหมือนๆบ้านเจ้านั้ล่ะ เดินปลอดภัยเด้อ
ถนนไปนาไปไร่ อ บ ต นั้นๆต้องสร้างตามงบประมาณของแต่ละ อบต รึว่าเทศบาลของพื้นที่ เขาเรียกถนนเพื่อการเกษตรของ หมู่บ้านรึเชื่อมต่อระ ว่างตำบล รึอำเภอ
มีแต่ทางครับ ป้ายกะบ่มี ไผไปกะหลงเด้อข้ันเป็นจั่งซี่😂 ในหมู่บ้านโข่โหล่เข่เหล่..แต่ถนนทางนอกบ้านปานทางไฮเวติ้บ่าว...😅..คำตอบต้องไปถาม ออบอตอครับ..หม่องมีประโยชน์หม่องบ่มีประโยชน์ ออบอตอประเทศเฮา เขาบ่รู้ตั้วครับบ่าว😂
ประเทศไทยเดินทางไม่เกิน2 กิโลเมตรต้องมีทางตัดผ่าน โยงไยเหมือนใยแมงมุมกับบ้านไปเส้นไหนก็ถูก
มันคนละเขตตำบลครับบ่าวลุย แต่ละตำบลจะดูแลในเขตของตนครับ
เป็นบ้านผมเองครับบ่าวลูย
เขาจะทำตามงบแต่ละปีครับ ไม่ได้สร้างครั้งเดียวยาวๆเลย เพราะงบอบต.มีจำกัด แต่อีกหน่อยมันก็ครบครับ
เข้าติดแผงโชล่าเชลครับ
ถนนดินแดงมีทุกที่ แต่เป็นถนนตัดใหม่ รองบประมาณทำคอนกรีตอยู่จ้า
ถนนระหว่างหมู่บ้านของไทยไม่ใด้ทำครั้งเดียวเสร็จนะครับ ทำปีละนิดปีละหน่อยตามงบประมาณที่มี แต่เราทำทุกปีผ่านมา20-30ปีถนนเราเลยต่อกันไปหมด ทางบ้านผมตอนนี้เหลือทางไปเก็บเห็ดกำลังทยอยเทคอนกรีต ไปเรื่อยๆ
บางเขต ก็สร้างแล้ว บางเขต ยังไม่ได้สร้าง รออนุมัติ งบประมาณ
ถนนไม่มีการดูแลเลย บ้านใหนสู ดูหญ้าข้างๆถนนซิ
กทม เย็นๆครับ
อวยน้อยๆพองามนะบ่าวโบ้สะออนมากเกินไปแทนที่เพื่อนๆของบ่าวโบ้จะซมเซยอาจจะตรงข้ามก็ได้
ถ้าคนลาวร่วมใจกัน สามัคคีกันให้กองทัพลาวปฏิวัติประเทศลาว เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตยที่แท้จริง แล้วใช้กฏหมายแบบประเทศไทย ที่รัฐธรรมนูญที่ใช้ควบคุมการปกครองไปนะเทศ ไม่เกิน40ปี ลาวจะเจริญตามทันประเทศไทยแน่ มีทหารลาวและระบบราชการลาวเท่านั้นที่จะเปลี่ยนแปลงพรรคพวกคอมมิวนิสต์ออกจากการปกครองประเทศลาวไป ลาวก็จะพัฒนาชาติให้ก้าวหน้าด้วย โดยให้ประเทศไทยและประชาชนไทยเป็นพี่เลี้ยง คนลาวจะไม่จนและล้าหลังอีกต่อไป!
ประเทศไทยแบ่งเขตการพัฒนาครับถ้าจ.วก็อบจ.ทั้งจังหวัสจะมีเทศบาลและอบต.ครับช่วยกันพัฒนา
มันก็เป็นในลักษณะนี้ ทั่วประเทศและคุณโบ้ มันก็ไม่แปลก
สวัสดีค่ะบ่าวลุย
ถนนเขตรอยต่อระหว่างตำบลหนึ่งไปยังอีกตำบล จะเป็นส่วนราชการจังหวัดนะครับ เขาเรียกว่าทาง สจ. ซึ่งเป็นงบประมาณของส่วนราชการจังหวัด ครับ
ทางไปหาอาหารป่าทุกชนิดคะ
ทางเกษตรของชาวบ้านค่ะ.จะได้ขนผลผลิตออกมาง่ายๆสดวกสบายค่ะ
อยากจะประเทศลาวพัฒนาแบบนี้นะ.ลาวจะต้องให้ประชาชนมีโอกาสเลือกตั้งจากประชาชนนะครับ
อำเภอนี้ .มีบ้านท่านเจ้าสมเด็จสังฆ ราชเมืองลาว เด้อ อดีต
คงจะเป็นถนนคอนกรีตในอีกไม่ช้าแน่นอน เพราะการของบประมาณการก่อสร้างเป็นแบบปีต่อปีหรือวาระ
เพราะประเทศไทย…มีผู้รับเหมาเยอะเเยะ…มีทั้งอยู่ในสภาผู้เเทน,อบต,อบจ,เทศบาลทุกเเห่ง ฯลฯ ถนนหนทาง…การก่อสร้าง การจัดซื้อจัดจ้างจึงเต็มไปหมด อีกทั้งวัดวาอาราม ก็มีการทอดกฐิน ,ทอดผ้าป่า บริจาคเงินกันอย่างมากมาย (อีกทั้งยังเอามาลดหย่อนภาษีได้อีก)…ถึงเเม้ว่า…จะมีระบบวัดครึ่งกรรมการครึ่ง…เเต่โดยภาพรวมเเล้วก็ยังเกิดการพัฒนาได้อย่างสูง…ส่งผลให้การก่ิอสร้างของประเทศไทยเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมาก…
เขาทำถนนตามเงินงบประมาณแต่ละปี ปีหนึ่งอาจทำได้ความยาวประมาณ 5 กิโลเมตร ปีต่อไปได้งบประมาณใหม่ก็จะทำต่อไปอีก 5 กิโลเมตร (ถ้า สปป.ลาวทำถนนดีๆ แต่ทำไปเรื่อยๆ มีงบประมาณทุกปี ถนนใน สปป.ก็จะดีขึ้น ไม่เอาเงินไปทำถนนโรยดินแดงหรือหิน ทำแบบนี้แล้วมันก็ต้องทำใหม่ทุกปีในจุดเดิมที่เคยทำ แต่ถ้าทำดีๆ ปีแรกอาจได้ถนนคอนกรีตยาว 3 กิโลเมตร ปีหน้าเอามาทำเพิ่มอีก 3 กิโลเมตร 2 ปีได้ถนน 6 กิโลเมตร ถ้าเวลา 5 ปี ก็จะได้ถนนยาว 15 กิโลเมตร ถนนคอนกรีตไม่ได้ชำรุดพังเร็วเหมือนถนนดินแดง แต่ต้องระวังรถที่บรรทุกหนักเกิน เช่นรถขนไม้รถแบบนี้ทำให้ถนนพัง และชำรุดเร็วมาก)
ทางที่เห็นส่วนมากจะเป็นเขตแดนระหว่าง 2 ตำบลก็เลยไว้แบบนั้น
ไทยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานคือ ถนน ไฟฟ้า ประปา ให้ครบถ้วนตามกฎหมาย
เขาสร้างใว้ ขนพืชผลผลิตทางเกษตร สร้างให้แล้ว จะใช้ไม่ใช้ ก็แล้วแต่😂😂😂
ที่เป็นคอนกรีต ถนนท้องถิ่น ไม่ใช่เส้นเมนทางหลวงชนบท
คำว่า “ประเทศไทยแค่ปากซอย” ต้องมาได้แล้วครับ วืนาทีนี้😊
เงินเก็บภาษีเขาเอาไปสร้างถนนในเขตนั้น.แต่ละเขต.แต่ละอำเภอ.คือเงินภาษีของประชาชน
ถ้ามีเส้นสีเหลืองอยู่ตรงกลาง นั่นหมายถนนเชื่อมทางหลวงได้
ถนนดี คือ ความเจริญทางเศรษฐกิจ ส่งผลผลิต มัน อ้อย ยางพารา ข้าวโพด ข้าว ออกมาสู่ตลาดได้ง่าย ดังนั้นอย่าสงสัยว่า ทำ ไป ทำไม
แถวชัยภูมิบ้านผมหาไม่เจอเลยครับทาง ถนนแดง ทางลูกรัง หาไม่เจอแล้วครับ ไม่ว่าจะทางไปไร่ไปนาก็มีแต่ทางคอนกรีตเชื่อมทะลุหากันหมดทุกหมู่บ้านแล้วครับ เพราะผลงานของ อบต.ครับ เขาทำผลงานแข่งขันกันครับ ใครไม่มีผลงานก็หมายถึงตำแหน่งหน้าที่การงานของเขาต้องกระเด็นและก็อยู่ไม่ได้ครับ หากว่าไม่มีผลงานอะไร
ในตัวชุมชนหมู่บ้านทุกวันนี้ลาดยางกันหมดแล้วครับ ส่วนทางคอนกรีตจะเป็นทางเกษตร ครับ
ทางไปไร่ทางไปนาไปสวนก็ดีแต่ทางบนดอยทางเหนือก็ยังไม่มีอีกหลายปีถึงจะทั่วถึงค่อยทำไปยังไม่เจริญทั้งหมดประเทศไทยเรากำลังพัฒนาครับ
แม่คนไทยมักเบิ่งซ่องเจ้ายู่เด้อบ่าว😅😅😅😅😅
พัฒนาของแต่ละเขตจ้า
รองบประมาณใหม่อยุ่จ้า
ตัดถนนเส้นใหม่ครับ
เดี๋ยวเขาก็ทำต่อครับ ไม่ต้องตกใจ😂
ไทยเจริฐเพราะ..ประชาชนปกครองประเทศ..ส่วนลาวปกครองด้วยคนตระกูลเดียว..และร่ำรวยตระกูลเดียวคนพรรคคอมมิวนิสต์
ระวังน้ำมันเจ้าหมดเด้อ บ่มีหม่องเติบเด้ หลายแยก แต่ละแยก กะมีหม่องต่อหากันจ้า
เขาตั้งงบไว้แค่นี้ ปีต่อไปก็ต้องทำใหม่อีกหรือมีงบพอก็ทำไปตลอดเส้นทางเลย ตอนแรกเราก็เคยสงสัยเหมือนกันว่าทำไมเขาไม่ทำให้เสร็จ สรุปคือหมดงบประมาณ
นี่ละเมืองไทยบ่าวโบ้
เงินหลายบ่รู้จะเอาไปเฮ็ดอีหยังกะเลยเอาขี้หินขี้ปูนไปเทถิ่มในป่าน้อบ่าวโบ้ นี่แหละประเทศไทย
อำเภอ ตระการ .อุบล 23 .ตำบล ถือว่าอำเภอใหญ่
ทางในป่า บ่แม่นธรรมชาติเพิ่นสร้างให้บ้อบ่าวลุย 😂😂😂😂หยอกๆๆครับ
ถ้าเป็นทางลูกรังอยู่ แสดงว่า ตรงนั้นบ่มีคน 2ข้างจะมีแต่ป่า และอยู่บ้านนอกๆจริงๆ
ปี67.กะคงบ่มีให้เห็นแล้ว
ขอขอบคุณเรื่องราวดีๆจากคลิปวีดีโอต้นฉบับด้วยนะครับua-cam.com/video/7dk79yn_6Gk/v-deo.htmlsi=Z3-ZoDjF461xbWYz
ดูวิดีโอภาพช้างตั้งด่านไถ่เอาอ้อยจากรถบรรทุกที่เขาใหญ่จะทึ่งไปกว่านี้
ถ้าจะมีที่กันดารของแท้ ก็ไปที่ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ที่ ต้องขี่ทั้งรถ 4WD มอเตอร์ไซค์ และ เดินเท้าข้ามเขาหลายลูก ขนหีบบัตรเลือกตั้ง ไปส่งศาลากลางจังหวัด หลังนับที่หน่วยลือกตั้งแล้ว หรือ ไปหมู่บ้านกระเหรี่ยงเลตองคุ แถวอุ้มผาง เมืองตาก ที่กว่าจะเจอหมู่บ้านต่อไป ต้องเดินเท้าตัดด่านช้างในทุ่งใหญ่นเรศวรระยะทางร่วม 100 กิโลเมตร ที่ห้ามการสร้างถนนตัดผ่านโดยเด็ดขาดเพราะเป็นมรดกโลก และ รถต้องข้ามผ่านเขตแดนพม่าก่อนวกเข้าไทยอีกที เพราะ มีภูเขาขวางอยู่ตัดถนนลำบากมาก
รัษาคนลาวua-cam.com/video/6534WJXpe5M/v-deo.htmlsi=0yzO6F5dJnExydZa
อบต.(องค์การบริหารส่วนตำบล) คือหน่วยงานที่ประชาชนในท้องถิ่นในแต่ละตำบล เขาจะบริหารจัดการตนเอง เขาจะค่อย ๆ พัฒนาไปตามกำลังงบประมาณที่มี การทำถนนคอนกรีต อบต.จะค่อยๆทำไป เมื่อมีงบประมาณมาเพิ่มเขาก็จะทำต่อจากที่ทำไว้แล้วนั้น จนกว่าจะเสร็จตลอดทั้งสาย ภายในเขตตำบลที่รับผิดชอบ .... ที่เราเห็นเป็นดินแดงต่อกับถนนคอนกรีต คือที่กำลังรองบประมาณจะทำต่อไปนั้นเองครับ ทำไว้ให้ประชาชนใช้สัญจรติดต่อกันแต่ละหมู่บ้านอย่างสะดวกสบาย และขนส่งผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาดครับ
บ้างหมู่บ้านก้ช่าวบ้านช่วยรวมเงินกันสร้างขึ้นด้วยหลายๆหมู่ไปตามชนบทจะเห็นบ้างข้างถนนมีชื่อคนร่วมสู้ราง
ฟังให้ดีนะครับ
ถนนดินแดงอยู่ดีๆเป็นถนนคอนกรีต เหตุการแบบนี้คือ มันเป็นพื้นที่รอยต่อของแต่ละเขตการปกครองแต่ละ อบต. ครับ เช่น
1. ฝั่งถนนดินแดงเป็นพื้นที่ของ อบต.เอ ก็หมายถึงช่วงถนนที่เป็นดินแดง คือพื้นที่ที่ยังไม่จำเป็นต้องทำถนนคอนกรีต คือเอางบประมาณไปพัฒนาจุดอื่นที่จำเป็นก่อน
2. ฝั่งถนนคอนกรีต เป็นพื้นที่ของ อบต.บี ก็หมายถึง เช่น อบต.นี้เค้าพัฒนาถนนส่วนอื่นหมดแล้ว และตรงนี้ก็มีงบหรืองบเหลือก็ทำถนนคอนกรีตให้เลย
++ สรุป งบพัฒนาท้องถิ่นแต่ละ อบต.ได้มาไม่เท่ากัน และความจำเป็นเร่งด่วนของแต่ละ อบต.ก็ไม่เหมือนกัน การทำถนนจึงเป็นแบบที่เห็น แต่คงอีกไม่นานก็เจียดเงินมาทำคอนกรีตให้ถึงกัน ท่านไม่ต้องห่วง ท่านไม่ต้อง งง ท่านไม่ต้องแปลกใจ
ทางดินแดงในไทยไม่ใช้ทางย้อนอดีตครับผม เป็นทางตัดไหม่ตัดเข้าไปให้ชาวบ้านตามไร่นา สังเกตดูเสาไฟฟ้าพึ่งจะมาติดตั้ง ปีหน้า แอดมิน มาดูไหม่นะครับ ลาดยางเรียบเลยละ😊
เขาทำตามงบที่ใด้มาครับ...ที่แอ็ดถามว่าป้าบอะไรน่ะคือป้ายของ.อ.บ.ต.หรือองค์การบริหารตำบลที่เขาบอกเล่าว่าใช้งบก่อสร้าง..หรือจะมีการทำต่ออีกในอนาคตถ้ามีงบมาอีก...
ใครเจอทางดินแดงถือว่าเป็นผู้โชคดีในรอบปีนะครับ น้ำไหล ไฟสว่าง ทางดี ...
ดีแล้ว ถ่ายตามความเป็นจริง หน่วยงานไหน มาดูผลงานด้วยนะ😂 อันไหนไม่เสร็จ ทำให้เสร็จ
ถนนคอนกรีตคือถนนสายระหว่างหมู่บ้าน ใช้งบจาก อบต.(องค์การบริหารส่วนตำบล )ส่วนถนนลาดยางจะสร้างระหว่างอำเภอ สร้างด้วยงบจากหน่วยงานรพช.(สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท) ถ้าระดับเชื่อมจังหวัด ถนน4เลนขึ้นไป จะสร้างหรือรับผิดชอบโดยกรมทางหลวง คร่าวๆค่ะ
❤❤❤❤
เป็นคอนกรีตหมดแล้ว ถ้าคุณเห็นทางลูกรังนั้นแสดงว่าคุณโชคดีมากๆเลยเพราะมันหายากมากแล้วครับ
คุณมีบุญมากที่เห็นแบบนี้
ส่วนใหญ่ทางสิมีหน่วยงานแต่ละเขตรับผิดชอบคับ บางส่วนที่ยังไม่ต่อกันกะต้องรองบประมาณค่อยๆ ต่อเติมไปในแต่ละปีงบประมาณครับ😊
เขาเรียก ถนนเกษตรกร..สำหรับขนเกษตรที่ทำได้ออกไปขาย หรือไปเก็บรักษา...
พอจะเข้าใจความรู้สึก ที่หลายๆคนฝั่งลาว ตื่นเต้น หรือ ชื่นชม ถนนหนทางที่ประเทศไทยนะครับ อันนี้ก็ขึ้นอยู่กับผู้ใหญ่ที่บริหาร ปกครองประเทศครับ
่าวโบ้หลายๆเด้อถ่ายคริบให่เบิ่ง
ขอบคุณลุงครับ
ชอบมากเลยครับจัดความจริง
ถนนดินแดง เป็นที่ดินของเอกชน ทางการไม่สามารถทำถนนได้ครับ ต้องเวนคืนก่อน ถึงสร้างถนนได้
รอยต่อของเขตการปกครองของแต่ละอบต.ครับแต่ไม่เกินปีก็จะเชือมต่อครับ
น่าจะเป็นรัดที่เขาใช้สมัยเดินเท้า
ไปนาไร่และติดต่อบ้านคนได้
ใช้จริงๆไปไร่
ทำตามงบประมาณที่ได้มาล่ะครับ รัฐบาลเขาจัดให้ รัฐบาลที่ได้ชื่อว่ามาจากรัฐประหารแต่บริหารได้สุดยอดขนาดนี้ ลุงตุ่สุดยอดดดดด
ดีมากที่บ่าวโบ้นำเสนอ ิาจจะเป็นหมู่บ้านตกสำรวจแต่คงไงไม่นานคงลาดยางใยไม่ช้า
สวัสดีตอนเช้าค่ะ
เขาเหดยังบอ่แหล้วทีเหํ๊นดินแดงแตุละปีเขาเ,ฮ็ดตามงบประมาน
เมื่อรัฐบาลดี หน่วยงานพัฒนา ผู้นำชุมชนตั้งใจทำงานเพื่อท่องถื่น ภายยใน ๗ - ๘ ปี ทุกพื้นที่ในประเทศก็จะเจริญ.....
วันนี้หนาว ก่างวัน6% มีลมแรงค่ะ ตอนกางคืน ลบ0 ค่ะ ถนไปนาไปไร่
อรุณสวัสดิ์..เด้อ.บ่าว.หลุย..ยูทูปเปอร์..คนดี..คนดัง..ทาง.สปป..ลาวเฮา..มื้อนี้วันที่.10/1/67..ตื่นมาก็มาชมคลิป..ของบ่าวหลุย..มีสาระอะไรดีๆ.มานำเสนอต่อสาธารณะชน..ให้ใด้.อัปเดดกัน...สู้.ๆ.ขอเป็นกำลังใจให้บ่าวหลุย..สู้ๆต่อไป..เน๊าะ..จาก.f.c.ฝั่งไทยเด้อ..เมืองอุบลฯเฮานี่ล่ะ.ฝากความคึดฮอดคึดเถิงไปหา.บ่าวโบ้..โซล่า..นำแหน่เด้อ...บ่าวหลุยเอ้ย..สบายดี..สวัสดีครับ.❤❤❤❤❤
น่าจะเป็นหมู่บ้านตั้งใหม่ บ่าวโบ้ ถ่ายจากข้างใน ออกมาข้างนอกคักๆ
งบมาปีละ100เมตรในการสร้างถนนคอนกรีต งบ อบต ให้หมู่บ้านละ300,000บาท สมมุติว่าหมู่บ้านนั้นมีหมู่1,2,3 ก็แปลว่าหมู่บ้านนั้นได้900,000บาท
ทางลูกรัง ในป่าชุมชน จะปล่อยไว้ให้เป็นธรรมชาติ ไม่ลาดยาง ไม่เทปูคอนกรีต
ถนนในชนบทบ้างหมูบ้านมีถึง15.20สาย แตละหมูบ้านในไทยตรงไหนทีชาวบ้านเรียกร้องไห้ทำถนน ทาง.อบต เขาก้อเอาเข้าสภา สภาของอบต ไนสภาโหวตไห้ผานก้อสร้างถนนได้เลย พร้อมลาดยางหรือคอนกรีต ทีบ้านผมนะ
.สบาดีบ่าวลุย .อยู่ไทยจะมีการกระจายอำนาจการพัฒนา ถ้าเป็นคอนกรีต จะเป็นการก่อสร้างของ องค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.)ทำได้ในเขตตำบล ถ้าถนนลาดยาง ตำบลเชื่อมตำบล จะเป็นของ องค์การบริหารส่วนจังหวัด(อบจ.)หรือบางครั้งก็เป็นของ โครงการเร่งรัดพัฒนาชนบท (กรป.กลาง) หรือ หน่วยงานทหารช่าง..ซึ่งมีหลายหน่วยงาน.เกือบจะว่าแย่งกันทำ หรือแบ่งกันทำ
บ่าลุยคือการพัฒนาที่ไทย เขาจะทำกันเป็นหมู่บ้าน เป็นตำบล คือแต่ละปีหมู่บ้านใหนได้งบประมาณเท่าไรก็ทำกันไปตามงบประมณที่ได้ ปีนี้ได้มาเท่านี้ก็ทำแค่นี้ ปีหน้าได้งบมาอีกก็ทำต่อไปเรื่อยจนกว่าแล้วเสร็จ
สร้างตามงบที่อบต.ได้รับเป็นช่วงๆๆหรือตอนๆ
แต่ละปี อบต.และเทศบาลจะมีงบประมาณในการก่อสร้างถนนหนทาง สมมุติว่าปีนี้มีเงินงบประมาณในการก่อสร้างถนน คสล.(คอนกรีตเสริมเหล็ก) 100 บาท สมมุตินะครับ แล้วก่อสร้างได้100เมตร แต่ถนนยาว150 เมตร ปีต่อไปถ้างบประมาณอีกก็สร้างต่อให้เสร็จคับ
บ่าวลุยบ่ต้องแปลกใจที่ไทยเขาทำถนนไปตามทุ่งนา ตามสวนยางเพราะเขาต้องการให้เกษตรกร ใช้ในการขนส่งสินค้าการเกษตร ถนนดีก็เป็นการลดต้นทุนไปด้วย จะเห็นใด้ว่าถนนที่เป็นลูกรังจะเหลือน้อยเต็มที
และไม่ต้องแปลกใจ ถนนไปถึงไหน? ไฟฟ้า และ แสงสว่าง ก็ไปถึงที่นั่น เช่นกัน นะครับ
ทางที่บ่าวโบ้ไปนั้นมันเป็นทางไปเก็บเห็ดละโงกเก็บเห็ดป่าไปขายทางไปดงไปป่าใหญ่ระวังหลงป่างูเหลือมคาบไปกินเด้อบ่าวลาวอย่าเข้าไปมั่วๆเด้อ
ถนนดินแดง รองบประมาณครับ
บ้านพี่จร้าใกล้ๆๆกันเลย
ประเทศไทยอิ่ก20ปรเรื่องพัฒนาในด้านอุปโภคคงหมดที่จะทำตาอต่ไปเมทองไทยก็มีเงินคงคลังเหลือเยอะรัฐคงเริ่มโครงกสรด้านอื่นๆเข้าแทนการศึกษสฟรัตลอดชรวิตประชาชนมีเงิน้ดทอนใช้มุกคนให้ทุนการประกอบอาชึพดอกเบร้บต่ำสุดร่อยละ0.5ต่อปีและแจกเมล็ดพันธ์ฟรีตามประชาชนต้องดารและค่าน้ำำไฟฟ้าครึ่งราคาจะทำให้ประชาชนมีอยู่มีกินอย่างอุดมสมบูรณ์อยาสงถ้สวินตลอดไปนะครับนร้คือฝันของและรัฐบาลครับปม
รองบประมานการก่อสร้างปีต่อไปครับ
ถนนสี่แลนนี้เขาเอาไว้ไปนาครับไม่ใช่ที่เที่ยวครับ สองข้างทางจึงเป็นป่าครับ
บ่าวลุยทางลูกรังรองบประมาณอ.บ.ตเดี่ยวเขาก็สร้างจ้ะ
ไปทั่วทีบทั่วแดน..ระวังหลงเด้อบ่าว ข่อยยังบ่อเคยไปเลย...เสียอย่างเดียวบ่อติดป้ายบอกทางเลย..บอกเผิ่นเฮ็ดป้ายติดแน่เด้อบ่าวโบ้
ช่องตรีสาวลาว คนต่างแดน.กะมีหลายกว่าช่องบ่าวโบ้เด้อถนนชนบท
ถ้าจะออกถนนใหญ่ต้องเป็นการทางหลวงทำ อบต. หรือหน่วยอื่นทำไมได้ต้องให้กรมทางหลวงอนุญาตหรือมาทำเองครับ เพราะถนนทางหลวงมันกว้างมาก ในหมู่บ้านทำได้ในเขตของตัวเอง ไปทำเกินทางหลวงไม่ได้ กฏหมายมีไว้ครับ
คนเฮาบ่อฮู้จักความสุขดอกบ่าว คนทุกข์กะทุกข์แบบคนทุกข์ คนรวยกะทุกข์แบบคนรวย ทุกข์คือกันเหมิดนั้นหละ
บ่าวลุยคนอารมณ์ดี
คิดว่า เป็นถนนดินแดงเป็นถนนระหว่างหมู่บ้าน ที่องค์การบริหารส่วนตำบลเขาจะใช้งบประมาณต่อปีได้ไม่เยอะ อาจทำถนนได้ปีละ 1หรือ2กิโลเมตร แต่จะทำต่อจนเสร็จ นั่นไม่ใช่ทางสายหลัก
อ.ตระการพืชผล อยู่ จ.อุบลราชธานี ครับ
บ่าวโบ้สายลุย เก่ง ❤❤❤❤👍👍👍
แสดงว่างบประมาณงบก่อนครับแบบนี้ ปีหน้าสร้างต่อครับ รองบประมาณอยู่ครับ ไม่นานเกินรอ
บ้านข่อย ยังมีทางดินหินแดงๆคือกัน บางพื่นที่กะยังเหมือนๆบ้านเจ้านั้ล่ะ เดินปลอดภัยเด้อ
ถนนไปนาไปไร่ อ บ ต นั้นๆต้องสร้างตามงบประมาณของแต่ละ อบต รึว่าเทศบาลของพื้นที่ เขาเรียกถนนเพื่อการเกษตรของ หมู่บ้านรึเชื่อมต่อระ ว่างตำบล รึอำเภอ
มีแต่ทางครับ ป้ายกะบ่มี ไผไปกะหลงเด้อข้ันเป็นจั่งซี่😂 ในหมู่บ้านโข่โหล่เข่เหล่..แต่ถนนทางนอกบ้านปานทางไฮเวติ้บ่าว...😅
..คำตอบต้องไปถาม ออบอตอครับ..หม่องมีประโยชน์หม่องบ่มีประโยชน์ ออบอตอประเทศเฮา เขาบ่รู้ตั้วครับบ่าว😂
ประเทศไทยเดินทางไม่เกิน2 กิโลเมตรต้องมีทางตัดผ่าน โยงไยเหมือนใยแมงมุมกับบ้านไปเส้นไหนก็ถูก
มันคนละเขตตำบลครับบ่าวลุย แต่ละตำบลจะดูแลในเขตของตนครับ
เป็นบ้านผมเองครับบ่าวลูย
เขาจะทำตามงบแต่ละปีครับ ไม่ได้สร้างครั้งเดียวยาวๆเลย เพราะงบอบต.มีจำกัด แต่อีกหน่อยมันก็ครบครับ
เข้าติดแผงโชล่าเชลครับ
ถนนดินแดงมีทุกที่ แต่เป็นถนนตัดใหม่ รองบประมาณทำคอนกรีตอยู่จ้า
ถนนระหว่างหมู่บ้านของไทยไม่ใด้ทำครั้งเดียวเสร็จนะครับ ทำปีละนิดปีละหน่อยตามงบประมาณที่มี แต่เราทำทุกปีผ่านมา20-30ปีถนนเราเลยต่อกันไปหมด ทางบ้านผมตอนนี้เหลือทางไปเก็บเห็ดกำลังทยอยเทคอนกรีต ไปเรื่อยๆ
บางเขต ก็สร้างแล้ว บางเขต ยังไม่ได้สร้าง รออนุมัติ งบประมาณ
ถนนไม่มีการดูแลเลย บ้านใหนสู ดูหญ้าข้างๆถนนซิ
กทม เย็นๆครับ
อวยน้อยๆพองามนะบ่าวโบ้สะออนมากเกินไปแทนที่เพื่อนๆของบ่าวโบ้จะซมเซยอาจจะตรงข้ามก็ได้
ถ้าคนลาวร่วมใจกัน สามัคคีกันให้กองทัพลาวปฏิวัติประเทศลาว เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตยที่แท้จริง แล้วใช้กฏหมายแบบประเทศไทย ที่รัฐธรรมนูญที่ใช้ควบคุมการปกครองไปนะเทศ ไม่เกิน40ปี ลาวจะเจริญตามทันประเทศไทยแน่ มีทหารลาวและระบบราชการลาวเท่านั้นที่จะเปลี่ยนแปลงพรรคพวกคอมมิวนิสต์ออกจากการปกครองประเทศลาวไป ลาวก็จะพัฒนาชาติให้ก้าวหน้าด้วย โดยให้ประเทศไทยและประชาชนไทยเป็นพี่เลี้ยง คนลาวจะไม่จนและล้าหลังอีกต่อไป!
ประเทศไทยแบ่งเขตการพัฒนาครับถ้าจ.วก็อบจ.ทั้งจังหวัสจะมีเทศบาลและอบต.ครับช่วยกันพัฒนา
มันก็เป็นในลักษณะนี้ ทั่วประเทศและคุณโบ้ มันก็ไม่แปลก
สวัสดีค่ะบ่าวลุย
ถนนเขตรอยต่อระหว่างตำบลหนึ่งไปยังอีกตำบล จะเป็นส่วนราชการจังหวัดนะครับ เขาเรียกว่าทาง สจ. ซึ่งเป็นงบประมาณของส่วนราชการจังหวัด ครับ
ทางไปหาอาหารป่าทุกชนิดคะ
ทางเกษตรของชาวบ้านค่ะ.จะได้ขนผลผลิตออกมาง่ายๆสดวกสบายค่ะ
อยากจะประเทศลาวพัฒนาแบบนี้นะ.ลาวจะต้องให้ประชาชนมีโอกาสเลือกตั้งจากประชาชนนะครับ
อำเภอ
นี้ .มีบ้านท่านเจ้าสมเด็จสังฆ ราชเมืองลาว เด้อ อดีต
คงจะเป็นถนนคอนกรีตในอีกไม่ช้าแน่นอน เพราะการของบประมาณการก่อสร้างเป็นแบบปีต่อปีหรือวาระ
เพราะประเทศไทย…มีผู้รับเหมาเยอะเเยะ…มีทั้งอยู่ในสภาผู้เเทน,อบต,อบจ,เทศบาลทุกเเห่ง ฯลฯ ถนนหนทาง…การก่อสร้าง การจัดซื้อจัดจ้างจึงเต็มไปหมด อีกทั้งวัดวาอาราม ก็มีการทอดกฐิน ,ทอดผ้าป่า บริจาคเงินกันอย่างมากมาย (อีกทั้งยังเอามาลดหย่อนภาษีได้อีก)…ถึงเเม้ว่า…จะมีระบบวัดครึ่งกรรมการครึ่ง…เเต่โดยภาพรวมเเล้วก็ยังเกิดการพัฒนาได้อย่างสูง…ส่งผลให้การก่ิอสร้างของประเทศไทยเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมาก…
เขาทำถนนตามเงินงบประมาณแต่ละปี ปีหนึ่งอาจทำได้ความยาวประมาณ 5 กิโลเมตร ปีต่อไปได้งบประมาณใหม่ก็จะทำต่อไปอีก 5 กิโลเมตร (ถ้า สปป.ลาวทำถนนดีๆ แต่ทำไปเรื่อยๆ มีงบประมาณทุกปี ถนนใน สปป.ก็จะดีขึ้น ไม่เอาเงินไปทำถนนโรยดินแดงหรือหิน ทำแบบนี้แล้วมันก็ต้องทำใหม่ทุกปีในจุดเดิมที่เคยทำ แต่ถ้าทำดีๆ ปีแรกอาจได้ถนนคอนกรีตยาว 3 กิโลเมตร ปีหน้าเอามาทำเพิ่มอีก 3 กิโลเมตร 2 ปีได้ถนน 6 กิโลเมตร ถ้าเวลา 5 ปี ก็จะได้ถนนยาว 15 กิโลเมตร ถนนคอนกรีตไม่ได้ชำรุดพังเร็วเหมือนถนนดินแดง แต่ต้องระวังรถที่บรรทุกหนักเกิน เช่นรถขนไม้รถแบบนี้ทำให้ถนนพัง และชำรุดเร็วมาก)
ทางที่เห็นส่วนมากจะเป็นเขตแดนระหว่าง 2 ตำบลก็เลยไว้แบบนั้น
ไทยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานคือ ถนน ไฟฟ้า ประปา ให้ครบถ้วนตามกฎหมาย
เขาสร้างใว้ ขนพืชผลผลิตทางเกษตร สร้างให้แล้ว จะใช้ไม่ใช้ ก็แล้วแต่😂😂😂
ที่เป็นคอนกรีต ถนนท้องถิ่น ไม่ใช่เส้นเมนทางหลวงชนบท
คำว่า “ประเทศไทยแค่ปากซอย” ต้องมาได้แล้วครับ วืนาทีนี้😊
เงินเก็บภาษีเขาเอาไปสร้างถนนในเขตนั้น.แต่ละเขต.แต่ละอำเภอ.คือเงินภาษีของประชาชน
ถ้ามีเส้นสีเหลืองอยู่ตรงกลาง นั่นหมายถนนเชื่อมทางหลวงได้
ถนนดี คือ ความเจริญทางเศรษฐกิจ ส่งผลผลิต มัน อ้อย ยางพารา ข้าวโพด ข้าว ออกมาสู่ตลาดได้ง่าย ดังนั้นอย่าสงสัยว่า ทำ ไป ทำไม
แถวชัยภูมิบ้านผมหาไม่เจอเลยครับทาง ถนนแดง ทางลูกรัง หาไม่เจอแล้วครับ ไม่ว่าจะทางไปไร่ไปนาก็มีแต่ทางคอนกรีตเชื่อมทะลุหากันหมดทุกหมู่บ้านแล้วครับ เพราะผลงานของ อบต.ครับ เขาทำผลงานแข่งขันกันครับ ใครไม่มีผลงานก็หมายถึงตำแหน่งหน้าที่การงานของเขาต้องกระเด็นและก็อยู่ไม่ได้ครับ หากว่าไม่มีผลงานอะไร
ในตัวชุมชนหมู่บ้านทุกวันนี้ลาดยางกันหมดแล้วครับ ส่วนทางคอนกรีตจะเป็นทางเกษตร ครับ
ทางไปไร่ทางไปนาไปสวนก็ดี
แต่ทางบนดอยทางเหนือก็ยัง
ไม่มีอีกหลายปีถึงจะทั่วถึงค่อย
ทำไปยังไม่เจริญทั้งหมดประ
เทศไทยเรากำลังพัฒนาครับ
แม่คนไทยมักเบิ่งซ่องเจ้า
ยู่เด้อบ่าว😅😅😅😅😅
พัฒนาของแต่ละเขตจ้า
รองบประมาณใหม่อยุ่จ้า
ตัดถนนเส้นใหม่ครับ
เดี๋ยวเขาก็ทำต่อครับ ไม่ต้องตกใจ😂
ไทยเจริฐเพราะ..ประชาชนปกครองประเทศ..ส่วนลาวปกครองด้วยคนตระกูลเดียว..และร่ำรวยตระกูลเดียวคนพรรคคอมมิวนิสต์
ระวังน้ำมันเจ้าหมดเด้อ บ่มีหม่องเติบเด้ หลายแยก แต่ละแยก กะมีหม่องต่อหากันจ้า
เขาตั้งงบไว้แค่นี้ ปีต่อไปก็ต้องทำใหม่อีกหรือมีงบพอก็ทำไปตลอดเส้นทางเลย ตอนแรกเราก็เคยสงสัยเหมือนกันว่าทำไมเขาไม่ทำให้เสร็จ สรุปคือหมดงบประมาณ
นี่ละเมืองไทยบ่าวโบ้
เงินหลายบ่รู้จะเอาไปเฮ็ดอีหยังกะเลยเอาขี้หินขี้ปูนไปเทถิ่มในป่าน้อบ่าวโบ้ นี่แหละประเทศไทย
อำเภอ ตระการ .อุบล 23 .ตำบล ถือว่าอำเภอใหญ่
ทางในป่า บ่แม่นธรรมชาติเพิ่นสร้างให้บ้อบ่าวลุย 😂😂😂😂หยอกๆๆครับ
ถ้าเป็นทางลูกรังอยู่ แสดงว่า ตรงนั้นบ่มีคน 2ข้างจะมีแต่ป่า และอยู่บ้านนอกๆจริงๆ
ปี67.กะคงบ่มีให้เห็นแล้ว