เกร็ดความรู้คู่สุขภาพ I โรคกระเพาะกับการติดเชื้อ H.pylori และการรักษามะเร็งกระเพาะอาหารระยะแรก

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 22 лип 2020
  • โรคกระเพาะอาหารเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นความเครียด ความกังวล พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การรับประทานยาที่อาจส่งผลกระทบต่อกระเพาะอาหาร ทำให้กรดออกมามากกว่าปกติ แต่ยังมีอีกหนึ่งสาเหตุที่สำคัญคือ การติดเชื้อจากเชื้อแบคทีเรียตัวร้าย Helicobacter Pylori หรือ H.pylori ซึ่งทำให้เกิดการอักเสบและแผลในกระเพาะอาหาร รวมถึงก่อให้เกิดโรคมะเร็งกระเพาะอาหารได้
  • Наука та технологія

КОМЕНТАРІ • 11

  • @swpiy658
    @swpiy658 2 роки тому

    สวัสดีตร้าเป็นโลกกระเพาะ

  • @user-yj4bo1ft8m
    @user-yj4bo1ft8m Рік тому +4

    ไปส่องกล้องมาค่ะ หมอบอกว่าติดเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหารค่ะ ได้ยามาทาน 2 สัปดาห์ หลังจากทานยาหมดไป 1 สัปดาห์ อาการดีขึ้น แต่ยังมีอาการจุกแน่นที่ลิ้นปี่อยู่บางครั้งค่ะ แต่ไม่ได้มีอาการทุกวันนะคะ อยู่ ๆ บางวันก็เป็นขึ้นมาอีก อยากทราบว่านี่คือรักษาไม่หาย หรือว่าเป็นปกติที่กระเพราะอาหารยังปรับตัวได้ไม่ดีต้องรอไปอีกซักระยะถึงจะหายขาดคะ

    • @pluk.m3918
      @pluk.m3918 Рік тому +1

      เป็นเหมือนกันครับ ไม่รู้เชื้อแบคทีเรียมันตายยัง

    • @user-pe3xo4xw3k
      @user-pe3xo4xw3k Рік тому

      ตอนนี้อาการดีขึ้นมั้ยครับ

  • @vampire6345
    @vampire6345 Рік тому +1

    การติดเชื้อแบคทีเรีย​h.pylori หมายความว่าในอนาคตจะต้องเป็นมะเร็งใช่หรือไม่ครับ ถ้าหากติดแล้วรักษา​หายแล้วสามารถตัดความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็งกระ​เ​พาะอาหาร​ออกได้หรือไม่ครับ

  • @user-pn3fn3zb9o
    @user-pn3fn3zb9o 3 роки тому

    เป็นโรคกระเพาะกินมะนาวไดไมคับ

    • @swpiy658
      @swpiy658 2 роки тому

      สวัสดีค่ะตอนนี้เป็นโรคกระเพาะมาหลายปีแล้วคร้า

  • @mlcomputertrang
    @mlcomputertrang 4 роки тому

    ขออนุญาตครับ มีงานวิจัยรองรับไหมครับว่า การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา ทำให้เป็นโรคกระเพาะ รบกวนคุณหมอ อ้างอิง งานวิจัยหน่อยครับ
    เพราะคนทั่วโลกกำลังเปลี่ยนสุขภาพ โดยใช้เครื่องมือ Intermittent fasting แล้ว ภิกขุในศาสนาพุทธ ถ้าทำตามพระศาสดาบัญญัติ ก็ กินวันละ 1 มื้อเท่านั้นนะครับ
    แล้วจะเป็นโรคกระเพาะได้หรือครับ ถ้าเช่นนั้นพระศาสดาจะสร้างข้อปฏิบัติให้เกิดโรคหรือครับ

    • @125Rapat
      @125Rapat 4 роки тому +2

      เรื่องนี้การทำงานวิจัยทำได้ยากค่ะ เพราะผิดจริยธรรม เนื่องจากมีข้อมูลชัดเจนแล้วว่า ร่างกายมนุษย์มีนาฬิกาชีวิตของตนเองแต่ละคนไม่เหมือนกันค่ะ หากรับประทานอาหารวันละ 1 มื้อ ตรงตามเวลาทุกวัน ถือว่ารับประทานอาหารตรงเวลานะคะ การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลาหมายความว่า รับประทานอาหารแต่ละวันไม่เหมือนกัน 2 มื้อบ้าง 3 มื้อบ้าง ไม่ตรงกับเวลาเดิมที่เคยรับประทานค่ะ