Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
เราเป็นขรก.บำนาญจุฬา ส่วนลูกสาวทำงานบริษัทดัง ทุกคนในบ้านมีสวัสดิการดีรองรับ ยกเว้นลูกชายที่เพิ่งจบ ยังไม่ทำงาน ไม่รู้ทำไงดี🤔เลยมาฟังน้องพูดดีกว่า อธิบายมีระบบดี ฟังง่าย👍เคยมีกูรูหุ้นท่านนึงบอกทำประกันรู้ว่าต้องจ่ายเท่าไหร่ แต่ถ้าเป็นโรคร้ายไม่รู้ต้องจ่ายถึงไหน😢
รถยังทำประกันเลย ชีวิตเราแท้ๆ ไม่คิดอยากมีหลักประกันให้ตัวเองบ้างรึ ทำซะตั้งแต่ยังไม่เป็นโรค
กำลังจะทำค่ะ แต่มีปัญหาสุขภาพ เสียดายมากค่ะ และบริษัทประกันอาจจะขอเพิ่มเบี้ยค่ะ ยังสงสัยว่าถ้าเบี้ยสูงมากหลังเกษียณจะจ่ายยังงัย อยากให้พี่หนอมทำคลิปราคาค่าเบี้ยที่เหมาะสมกับรายได้ค่ะ รอติดตามคลิปดีๆจากพี่หนอมนะคะ เป็นกำลังใจให้ค่ะ 🙏♥️🙏
ขอบคุณครับ ไว้ทำคลิปละเอียดให้อีกทีนะครับ แต่คำแนะนำเบื้องต้นอาจจะจำกัดแค่ความเสี่ยงที่เราต้องการครับ หากจ่ายไม่ไหว + ใช้สวัสดิการรัฐบางส่วนครับ
@@TAXBugnomsChannel ขอบคุณมากค่ะพี่หนอม 🙏
เข้าใจง่าย เคลียร์ ชัดเจน ให้แง่คิด ดีมากๆ เลยค่ะพี่หนอม ขอบคุณสำหรับความรู้มากๆเลยนะคะ
เป็นฟรีแลนซ์ ไม่มีสวัสดิการอะไร ถ้าต้องการจะทำประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย (กับบริษัทประกันชีวิต) แบบที่ครอบคลุมค่ารักษาทั้ง OPD และ IPD จะเหมาะสมไหมครับ
ขอบคุณพี่หนอมครับ จากใจอาชีพตัวแทนประกัน ❤️
ถ้าเป็นฟรีแลนซ์ ไม่มีสวัสดิการอะไร ถ้าต้องการจะทำประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย (กับบริษัทประกันชีวิต) แบบที่ครอบคลุมค่ารักษาทั้ง OPD และ IPD จะเหมาะสมไหมครับ
ชอบฟังเกี่ยวกับประกันค่ะ ทำให้เรากลับมาคิดทบทวน ว่า ขาดอะไรมั้ย เป็นกำลังใจให้คนทำ content ด้วยนะคะ
ขอบคุณมาก ๆ เลยครับ
เบี้ยประกันสุขภาพจะปรับขึ้นทุก 5 ปี จนกระทั้งในช่วงอายุ 55-60 65-70 75+ คนส่วนใหญ่ไม่น่าจะจ่ายไหว เพราะตอนนั้นเกษียณแล้วไม่มีรายได้
ต้องทำแบบไลฟ์ทามรีเทรินค่ะ ดีงามมากเอาเงินปันผลจากเงินออมมาจ่ายเบี้ยสุขภาพ
ผมมาเจอคลิปนี้ในวันที่บริษัทประกันโทรมาทุกวัน😂
ผมพึ่งกลับมาทบทวนเรื่องนี่พอดีเลยครับพี่หนอม พอดีผมอยากจะซื้อประกันสุขภาพให้พ่อแม่ครับ แต่กังวลเรื่องรายละเอียดของประกัน ผมเคยเห็นเคสที่เหมือนว่าป่วย แต่ไม่ตรงตามที่ประกันครอบคลุม เลยไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้กับตัวเอง มีคำแนะนำยังไงบ้างครับ🙏
หาตัวแทนมืออาชีพครับ
จำเป็นมากๆ ค่ะ ยายเป็นนิ่วในถุงน้ำดี ค่าผ่ารพเอกชนสามแสน น้องรถล้ม มีเลือดออกในสมอง ถ้าจะผ่ารพ.เอกชนห้าแสน 😢
ขอบคุณมาก ๆ ที่มาแชร์ให้ฟังครับ
แต่ค่าประกัน จ่ายค่ารักษาให้แค่นิดเดียว นี่มองว่าประกันสุขภาพไม่คุ้ม
@@abcdad2729 ประกันสุขภาพมีหลายแผนค่ะ อย่างตอนนี้ตัวที่ฮิตๆ เลยจะเป็นตัวเหมาจ่าย/ปี 1 ล้าน 5 ล้าน 10 ล้าน แล้วแต่เราจะเลือกเลย
พี่หนอมคะ อยากให้ทำคลิปเพิ่มเติมสำหรับคนที่ไม่สามารถสมัครประกันสุขภาพได้หน่อยค่ะ ว่าควรวางแผนการเงินหรือออมอย่างไรให้สามารถครอบคลุมการรักษาพยาบาลที่อาจเกิดในอนาคตได้ค่ะ ณตอนนี้ ใช้ประกันสังคมกับประกันกลุ่มของที่ทำงาน แล้วมีประวัติรักษาซึมเศร้าเลยสมัครเพิ่มไม่ได้ค่ะ
@@pissamaiii ค่ารักษาพยาบาลสำหรับวัยเกษียณ ที่เคยคำนวณไว้จะอยู่ที่ 5 ล้านบาท (ณ มูลค่าเงินในปัจจุบัน) ครับ ครอบคลุม การเจ็บป่วยโรคทั่วไป การผ่าตัด การป่วยโรคร้ายแรง ตลอด 30 ปีหลังเกษียณ คิดเฉพาะค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลนะครับ
@@TOEYSOROCK ขอบคุณมากเลยค่ะ จะได้เตรียมเก็บเงินเฉพาะส่วนของค่ารักษาพยาบาลไว้ค่ะ
คิดทำประกันสุขภาพตอนอายุ 40 ต้องดูอะไรบ้าง
หากประกันกลุ่มที่บริษัทคุ้มครองทั้งครอบครัวด้วยวงเงินประมาณสูงมากประมาณนึงอยู่แล้ว เราควรใช้หลักอะไรในการมองว่าควรประกันสุขภาพรวมถึงโรคร้ายแรงเองครับ ในกรณี้นี้ผมอายุ 37 ตั้งใจจำทำงานที่นี้ยาวๆ และมีเงินเก็บประมาณนึง
คิดว่าถ้ามีส่วนต่างเรื่องค่ายา ค่ารักษา ค่าใช้จ่ายจากประกันกลุ่ม แล้วต้องเอาเงินเก็บหรือทรัพย์สินที่คุณมีจากการทำงานอย่างหนักมาใช้จนหมดครับ ถ้าซีเรียสก็ทำ ถ้าไม่ซีเรียสก็ไม่ต้องทำครับ
- ลองตรวจสอบว่าสิทธิ์ดังกล่าวคุ้มครองไปถึงเมื่อไหร่ เพราะประกันกลุ่มมักจะคุ้มครองเฉพาะช่วงที่เราทำงานอยู่กับบริษัทนั้น เว้นแต่เขาจะมีสิทธิ์ให้สามารถซื้อต่อแผนเดิมได้เอง อันนี้ต้องลองสอบถาม HR ดู (แต่ผมเข้าใจว่าไม่น่ามีใครให้สิทธิ์แบบนี้ เพราะราคาเบี้ยที่ได้มาเป็นที่เขาเหมามาตามจำนวนพนักงานและความเสี่ยงเฉพาะกับบริษัทนั้น ๆ)- ประกันกลุ่มดังกล่าวมีประวัติการคุ้มครองกับพนักงานในบริษัทมานานเท่าไหร่ มีแนวโน้มจะยกเลิกในอนาคตหรือไม่ อันนี้อาจจะอยากหน่อยนึงในการตรวจสอบ คือมันมีโอกาสอยู่เหมือนกัน เพราะถึงจุดหนึ่ง ถ้าบริษัทประกันชีวิตหรือประกันวินาศภัยมองว่าไม่คุ้มเมื่อไหร่ เขาก็อาจจะบอกเลิกหรือถอนตัวออกจากการรับประกันไป แบบประกันใหม่โดยบริษัทเดิมหรือใหม่อาจจะไม่เท่าเดิม หรือไม่ครอบคลุมสิทธิ์ตามเดิม- ทรัพย์สินที่เก็บอยู่ เป็นของใคร มีสภาพคล่องมากไหม เรื่องค่ารักษา แนวโน้มในอนาคต บางทีสอบถามโรงพยาบาล หรือดูจากงานวิจัยต่าง ๆ ก็จะมีระบุบอกไว้อยู่ อาจจะลองไปไล่หาดู เช่น ในไทยก็จะมี HITAP ที่ทำเรื่องประเมินความคุ้มค่าอยู่ ลองหาโรคแปลก ๆ หรือโรคทั่วไปที่เป็นประเด็นให้เขาต้องประเมินความคุ้มค่าดูครับ แล้วก็พวกค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดที่อาจเกิดขึ้นระหว่างรักษาบางงานจะมีบอกไว้อยู่ วกกลับไปเรื่องทรัพย์สิน อันนี้จากประสบการณ์ที่เห็น ปัญหาจะอยู่ตรงเวลาเกิดเหตุหรือป่วยบางโรคแล้วเจ้าของทรัพย์สินไม่มีสติที่จัดการได้เอง ถ้ามีประกันจะไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าไม่มีประกันแล้วต้องขายหรือถอนออก ต้องเป็นผู้ที่มีอำนาจไม่งั้นมันก็จะมีประเด็นทางกฎหมายตามมาได้ อันนี้แนะนำว่าถ้าจะไปทางที่จะจัดการเอง ก็จัดการให้ครบถ้วนรอบด้าน ทำใบมอบอำนาจหรืออะไรไว้รอเผื่อไว้ เซฟคนที่คุณรักไว้จะดีที่สุด (เป็นการแจ้งให้คนรอบตัวทราบด้วยว่าเรามีอะไร)- ซื้อประกันสุขภาพเหมือนเราซื้อสิทธิ์ล่วงหน้า ปัจจุบันสัญญาเป็นแบบ New Health Standard หากเป็นสัญญาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา ซึ่งจะมีรายละเอียดของการเพิ่มเบี้ย หรือการยกเลิกสัญญาโดยบริษัทต่างจากสัญญาสุขภาพแบบเดิมที่เราคุ้นเคยและเป็นประเด็นกันมานาน ไม่ว่าจะเป็นการที่เพิ่มเบี้ยรายบุคคล หรือการขอยกเลิกเนื่องจากไม่คุ้มรับประกันต่อ จะทำไม่ได้ อันนี้อาจจะต้องเทียบกับประกันสุขภาพโดยบริษัทประกันภัยว่าเป็นแบบไหน มีในข้อตกลงหรือสัญญาระบุไว้อย่างไร คือการซื้อสิทธิ์ตรงนี้ ถ้าเราทำตอนที่ยังไม่มีโรค มันก็จะช่วยได้มาก และปัจจุบันก็มักจะเป็นแบบเหมาจ่าย เราอาจจะไม่ต้องทำวงเงินสูงแบบเข้าเอกชนได้สบายก็ได้ แต่อย่างน้อยให้สามารถเอาไปเคลมเคสโรงพยาบาลรัฐ หรือสิทธิ์พรีเมียมในรพ.รัฐก็เป็นอีกแนวคิดนึง- การมีเงินก้อน อาจจะไม่ได้รับประกันเรื่องสิทธิ์ที่จะได้รับการรักษา ในบางช่วงบางโอกาส เมื่อมีภาวะที่ต้องการเตียงสูง หรือต้องการสภาพแวดล้อมในการรักษาแบบพิเศษที่มีจำกัด และรพ.รัฐรับมือไม่ไหวคือเกินขีดความสามารถแล้ว หากจะเข้ารพ.เอกชน การวางสินทรัพย์อาจทำได้ลำบาก หรือเขาอาจจะไม่รับ เขาอาจจะสะดวกใจถามว่ามีประกันสุขภาพที่วงเงินเท่าไหร่มากกว่า แม้ว่าเรื่องนี้จะหมิ่นเหม่กับจรรยาบรรณ แต่ถึงเวลาหน้างานตอนนั้น เราป่วยจะตาย หรือต้องเข้ารับการรักษา เราและคนรอบตัวจะไม่มีแรงไปสู้หรือร้องเรียนเท่าไหร่- โรคร้ายแรง อันนี้บางคนอาจจะมองว่าได้มาเป็นเงินก้อน แต่เงินส่วนนี้เอาไว้ใช้เป็นค่าใช้จ่ายส่วนอื่นที่ประกันสุขภาพไม่รองรับอาจจะดีกว่า เพราะบางโรค คุณอาจจะเอาเงินไปใช้ชีวิตให้มีความสุขในช่วงท้ายของชีวิตไปเลย ไม่ก็มันจะมีพวกของใช้สิ้นเปลืองต่าง ๆ ที่ต้องใช้ระหว่างพักฟื้น พวกนี้ประกันมักจะไม่ได้ให้เบิกเต็มที่ หรือเบิกไม่ได้เลยอันนี้ยกมาส่วนหนึ่ง เพราะอันที่จริงมันมีหลายแง่มุม และต้องดูสภาพการเงินจริง ๆ กับคนรอบตัว หรือความเสี่ยงต่าง ๆ (พวกประวัติโรคในครอบครัวอะไรพวกนี้ด้วย)แนะนำว่าให้ปรึกษากับตัวแทนประกันชีวิตที่ไว้ใจได้ หรือถ้าอยากลองคุยเบื้องต้น ผมเป็นตัวแทนประกันชีวิตของกรุงเทพประกันชีวิตอยู่ถ้าสนใจก็สามารถนัดคุยเพิ่มเติมได้ครับ
ผมทำครับ ไม่รู้ว่าวันพรุ่งนี้ จะเกิดอะไรขึ้นกับเราไหม ผมผ่านมาแล้ว ไม่เสียเงินสักบาท 😢😢😢
ขอบคุณครับ
เบี้ยประกันในอนาคตเราขอตัวแทนดูล่วงหน้าได้ครับ และโรคเบาหวาน ,ไขมันในเลือดสูง ,โรคหัวใจ บริษัทประกันไม่รับครับ ญาติเจอมา
ขอบคุณมาก ๆ ครับ
พักบ้างนะครับ พี่หนอม ทำงานเยอะเกิ้น 555
กำลังปรับตารางอยู่เลยครับ ช่วงนี้หนักเกิน ฝากติดตามกันด้วยนะครับ ฮา
ประกันสุขภาพไม่ค่อยคุ้ม เช่นอายุ30 จ่าย14,000ต่อปี แต่ ได้ค่ารักษาแค่25,000ต่อปี และคือการจ่ายทิ้ง ปีต่อปี
เราเป็นขรก.บำนาญจุฬา ส่วนลูกสาวทำงานบริษัทดัง ทุกคนในบ้านมีสวัสดิการดีรองรับ ยกเว้นลูกชายที่เพิ่งจบ ยังไม่ทำงาน ไม่รู้ทำไงดี🤔เลยมาฟังน้องพูดดีกว่า อธิบายมีระบบดี ฟังง่าย👍เคยมีกูรูหุ้นท่านนึงบอกทำประกันรู้ว่าต้องจ่ายเท่าไหร่ แต่ถ้าเป็นโรคร้ายไม่รู้ต้องจ่ายถึงไหน😢
รถยังทำประกันเลย ชีวิตเราแท้ๆ ไม่คิดอยากมีหลักประกันให้ตัวเองบ้างรึ ทำซะตั้งแต่ยังไม่เป็นโรค
กำลังจะทำค่ะ แต่มีปัญหาสุขภาพ เสียดายมากค่ะ และบริษัทประกันอาจจะขอเพิ่มเบี้ยค่ะ ยังสงสัยว่าถ้าเบี้ยสูงมากหลังเกษียณจะจ่ายยังงัย อยากให้พี่หนอมทำคลิปราคาค่าเบี้ยที่เหมาะสมกับรายได้ค่ะ รอติดตามคลิปดีๆจากพี่หนอมนะคะ เป็นกำลังใจให้ค่ะ 🙏♥️🙏
ขอบคุณครับ ไว้ทำคลิปละเอียดให้อีกทีนะครับ แต่คำแนะนำเบื้องต้นอาจจะจำกัดแค่ความเสี่ยงที่เราต้องการครับ หากจ่ายไม่ไหว + ใช้สวัสดิการรัฐบางส่วนครับ
@@TAXBugnomsChannel ขอบคุณมากค่ะพี่หนอม 🙏
เข้าใจง่าย เคลียร์ ชัดเจน ให้แง่คิด ดีมากๆ เลยค่ะพี่หนอม ขอบคุณสำหรับความรู้มากๆเลยนะคะ
เป็นฟรีแลนซ์ ไม่มีสวัสดิการอะไร ถ้าต้องการจะทำประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย (กับบริษัทประกันชีวิต) แบบที่ครอบคลุมค่ารักษาทั้ง OPD และ IPD จะเหมาะสมไหมครับ
ขอบคุณพี่หนอมครับ จากใจอาชีพตัวแทนประกัน ❤️
ถ้าเป็นฟรีแลนซ์ ไม่มีสวัสดิการอะไร ถ้าต้องการจะทำประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย (กับบริษัทประกันชีวิต) แบบที่ครอบคลุมค่ารักษาทั้ง OPD และ IPD จะเหมาะสมไหมครับ
ชอบฟังเกี่ยวกับประกันค่ะ ทำให้เรากลับมาคิดทบทวน ว่า ขาดอะไรมั้ย เป็นกำลังใจให้คนทำ content ด้วยนะคะ
ขอบคุณมาก ๆ เลยครับ
เบี้ยประกันสุขภาพจะปรับขึ้นทุก 5 ปี จนกระทั้งในช่วงอายุ 55-60 65-70 75+ คนส่วนใหญ่ไม่น่าจะจ่ายไหว เพราะตอนนั้นเกษียณแล้วไม่มีรายได้
ต้องทำแบบไลฟ์ทามรีเทรินค่ะ ดีงามมากเอาเงินปันผลจากเงินออมมาจ่ายเบี้ยสุขภาพ
ผมมาเจอคลิปนี้ในวันที่บริษัทประกันโทรมาทุกวัน😂
ผมพึ่งกลับมาทบทวนเรื่องนี่พอดีเลยครับพี่หนอม พอดีผมอยากจะซื้อประกันสุขภาพให้พ่อแม่ครับ แต่กังวลเรื่องรายละเอียดของประกัน ผมเคยเห็นเคสที่เหมือนว่าป่วย แต่ไม่ตรงตามที่ประกันครอบคลุม เลยไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้กับตัวเอง มีคำแนะนำยังไงบ้างครับ🙏
หาตัวแทนมืออาชีพครับ
จำเป็นมากๆ ค่ะ ยายเป็นนิ่วในถุงน้ำดี ค่าผ่ารพเอกชนสามแสน น้องรถล้ม มีเลือดออกในสมอง ถ้าจะผ่ารพ.เอกชนห้าแสน 😢
ขอบคุณมาก ๆ ที่มาแชร์ให้ฟังครับ
แต่ค่าประกัน จ่ายค่ารักษาให้แค่นิดเดียว นี่มองว่าประกันสุขภาพไม่คุ้ม
@@abcdad2729 ประกันสุขภาพมีหลายแผนค่ะ อย่างตอนนี้ตัวที่ฮิตๆ เลยจะเป็นตัวเหมาจ่าย/ปี 1 ล้าน 5 ล้าน 10 ล้าน แล้วแต่เราจะเลือกเลย
พี่หนอมคะ อยากให้ทำคลิปเพิ่มเติมสำหรับคนที่ไม่สามารถสมัครประกันสุขภาพได้หน่อยค่ะ ว่าควรวางแผนการเงินหรือออมอย่างไรให้สามารถครอบคลุมการรักษาพยาบาลที่อาจเกิดในอนาคตได้ค่ะ ณตอนนี้ ใช้ประกันสังคมกับประกันกลุ่มของที่ทำงาน แล้วมีประวัติรักษาซึมเศร้าเลยสมัครเพิ่มไม่ได้ค่ะ
@@pissamaiii ค่ารักษาพยาบาลสำหรับวัยเกษียณ ที่เคยคำนวณไว้จะอยู่ที่ 5 ล้านบาท (ณ มูลค่าเงินในปัจจุบัน) ครับ ครอบคลุม การเจ็บป่วยโรคทั่วไป การผ่าตัด การป่วยโรคร้ายแรง ตลอด 30 ปีหลังเกษียณ คิดเฉพาะค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลนะครับ
@@TOEYSOROCK ขอบคุณมากเลยค่ะ จะได้เตรียมเก็บเงินเฉพาะส่วนของค่ารักษาพยาบาลไว้ค่ะ
คิดทำประกันสุขภาพตอนอายุ 40 ต้องดูอะไรบ้าง
หากประกันกลุ่มที่บริษัทคุ้มครองทั้งครอบครัวด้วยวงเงินประมาณสูงมากประมาณนึงอยู่แล้ว เราควรใช้หลักอะไรในการมองว่าควรประกันสุขภาพรวมถึงโรคร้ายแรงเองครับ ในกรณี้นี้ผมอายุ 37 ตั้งใจจำทำงานที่นี้ยาวๆ และมีเงินเก็บประมาณนึง
คิดว่าถ้ามีส่วนต่างเรื่องค่ายา ค่ารักษา ค่าใช้จ่ายจากประกันกลุ่ม แล้วต้องเอาเงินเก็บหรือทรัพย์สินที่คุณมีจากการทำงานอย่างหนักมาใช้จนหมดครับ ถ้าซีเรียสก็ทำ ถ้าไม่ซีเรียสก็ไม่ต้องทำครับ
- ลองตรวจสอบว่าสิทธิ์ดังกล่าวคุ้มครองไปถึงเมื่อไหร่ เพราะประกันกลุ่มมักจะคุ้มครองเฉพาะช่วงที่เราทำงานอยู่กับบริษัทนั้น เว้นแต่เขาจะมีสิทธิ์ให้สามารถซื้อต่อแผนเดิมได้เอง อันนี้ต้องลองสอบถาม HR ดู (แต่ผมเข้าใจว่าไม่น่ามีใครให้สิทธิ์แบบนี้ เพราะราคาเบี้ยที่ได้มาเป็นที่เขาเหมามาตามจำนวนพนักงานและความเสี่ยงเฉพาะกับบริษัทนั้น ๆ)
- ประกันกลุ่มดังกล่าวมีประวัติการคุ้มครองกับพนักงานในบริษัทมานานเท่าไหร่ มีแนวโน้มจะยกเลิกในอนาคตหรือไม่ อันนี้อาจจะอยากหน่อยนึงในการตรวจสอบ คือมันมีโอกาสอยู่เหมือนกัน เพราะถึงจุดหนึ่ง ถ้าบริษัทประกันชีวิตหรือประกันวินาศภัยมองว่าไม่คุ้มเมื่อไหร่ เขาก็อาจจะบอกเลิกหรือถอนตัวออกจากการรับประกันไป แบบประกันใหม่โดยบริษัทเดิมหรือใหม่อาจจะไม่เท่าเดิม หรือไม่ครอบคลุมสิทธิ์ตามเดิม
- ทรัพย์สินที่เก็บอยู่ เป็นของใคร มีสภาพคล่องมากไหม เรื่องค่ารักษา แนวโน้มในอนาคต บางทีสอบถามโรงพยาบาล หรือดูจากงานวิจัยต่าง ๆ ก็จะมีระบุบอกไว้อยู่ อาจจะลองไปไล่หาดู เช่น ในไทยก็จะมี HITAP ที่ทำเรื่องประเมินความคุ้มค่าอยู่ ลองหาโรคแปลก ๆ หรือโรคทั่วไปที่เป็นประเด็นให้เขาต้องประเมินความคุ้มค่าดูครับ แล้วก็พวกค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดที่อาจเกิดขึ้นระหว่างรักษาบางงานจะมีบอกไว้อยู่ วกกลับไปเรื่องทรัพย์สิน อันนี้จากประสบการณ์ที่เห็น ปัญหาจะอยู่ตรงเวลาเกิดเหตุหรือป่วยบางโรคแล้วเจ้าของทรัพย์สินไม่มีสติที่จัดการได้เอง ถ้ามีประกันจะไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าไม่มีประกันแล้วต้องขายหรือถอนออก ต้องเป็นผู้ที่มีอำนาจไม่งั้นมันก็จะมีประเด็นทางกฎหมายตามมาได้ อันนี้แนะนำว่าถ้าจะไปทางที่จะจัดการเอง ก็จัดการให้ครบถ้วนรอบด้าน ทำใบมอบอำนาจหรืออะไรไว้รอเผื่อไว้ เซฟคนที่คุณรักไว้จะดีที่สุด (เป็นการแจ้งให้คนรอบตัวทราบด้วยว่าเรามีอะไร)
- ซื้อประกันสุขภาพเหมือนเราซื้อสิทธิ์ล่วงหน้า ปัจจุบันสัญญาเป็นแบบ New Health Standard หากเป็นสัญญาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา ซึ่งจะมีรายละเอียดของการเพิ่มเบี้ย หรือการยกเลิกสัญญาโดยบริษัทต่างจากสัญญาสุขภาพแบบเดิมที่เราคุ้นเคยและเป็นประเด็นกันมานาน ไม่ว่าจะเป็นการที่เพิ่มเบี้ยรายบุคคล หรือการขอยกเลิกเนื่องจากไม่คุ้มรับประกันต่อ จะทำไม่ได้ อันนี้อาจจะต้องเทียบกับประกันสุขภาพโดยบริษัทประกันภัยว่าเป็นแบบไหน มีในข้อตกลงหรือสัญญาระบุไว้อย่างไร คือการซื้อสิทธิ์ตรงนี้ ถ้าเราทำตอนที่ยังไม่มีโรค มันก็จะช่วยได้มาก และปัจจุบันก็มักจะเป็นแบบเหมาจ่าย เราอาจจะไม่ต้องทำวงเงินสูงแบบเข้าเอกชนได้สบายก็ได้ แต่อย่างน้อยให้สามารถเอาไปเคลมเคสโรงพยาบาลรัฐ หรือสิทธิ์พรีเมียมในรพ.รัฐก็เป็นอีกแนวคิดนึง
- การมีเงินก้อน อาจจะไม่ได้รับประกันเรื่องสิทธิ์ที่จะได้รับการรักษา ในบางช่วงบางโอกาส เมื่อมีภาวะที่ต้องการเตียงสูง หรือต้องการสภาพแวดล้อมในการรักษาแบบพิเศษที่มีจำกัด และรพ.รัฐรับมือไม่ไหวคือเกินขีดความสามารถแล้ว หากจะเข้ารพ.เอกชน การวางสินทรัพย์อาจทำได้ลำบาก หรือเขาอาจจะไม่รับ เขาอาจจะสะดวกใจถามว่ามีประกันสุขภาพที่วงเงินเท่าไหร่มากกว่า แม้ว่าเรื่องนี้จะหมิ่นเหม่กับจรรยาบรรณ แต่ถึงเวลาหน้างานตอนนั้น เราป่วยจะตาย หรือต้องเข้ารับการรักษา เราและคนรอบตัวจะไม่มีแรงไปสู้หรือร้องเรียนเท่าไหร่
- โรคร้ายแรง อันนี้บางคนอาจจะมองว่าได้มาเป็นเงินก้อน แต่เงินส่วนนี้เอาไว้ใช้เป็นค่าใช้จ่ายส่วนอื่นที่ประกันสุขภาพไม่รองรับอาจจะดีกว่า เพราะบางโรค คุณอาจจะเอาเงินไปใช้ชีวิตให้มีความสุขในช่วงท้ายของชีวิตไปเลย ไม่ก็มันจะมีพวกของใช้สิ้นเปลืองต่าง ๆ ที่ต้องใช้ระหว่างพักฟื้น พวกนี้ประกันมักจะไม่ได้ให้เบิกเต็มที่ หรือเบิกไม่ได้เลย
อันนี้ยกมาส่วนหนึ่ง เพราะอันที่จริงมันมีหลายแง่มุม และต้องดูสภาพการเงินจริง ๆ กับคนรอบตัว หรือความเสี่ยงต่าง ๆ (พวกประวัติโรคในครอบครัวอะไรพวกนี้ด้วย)
แนะนำว่าให้ปรึกษากับตัวแทนประกันชีวิตที่ไว้ใจได้ หรือถ้าอยากลองคุยเบื้องต้น ผมเป็นตัวแทนประกันชีวิตของกรุงเทพประกันชีวิตอยู่ถ้าสนใจก็สามารถนัดคุยเพิ่มเติมได้ครับ
ผมทำครับ ไม่รู้ว่าวันพรุ่งนี้ จะเกิดอะไรขึ้นกับเราไหม ผมผ่านมาแล้ว ไม่เสียเงินสักบาท 😢😢😢
ขอบคุณครับ
เบี้ยประกันในอนาคตเราขอตัวแทนดูล่วงหน้าได้ครับ และโรคเบาหวาน ,ไขมันในเลือดสูง ,โรคหัวใจ บริษัทประกันไม่รับครับ ญาติเจอมา
ขอบคุณมาก ๆ ครับ
พักบ้างนะครับ พี่หนอม ทำงานเยอะเกิ้น 555
กำลังปรับตารางอยู่เลยครับ ช่วงนี้หนักเกิน ฝากติดตามกันด้วยนะครับ ฮา
ประกันสุขภาพไม่ค่อยคุ้ม เช่นอายุ30 จ่าย14,000ต่อปี แต่ ได้ค่ารักษาแค่25,000ต่อปี และคือการจ่ายทิ้ง ปีต่อปี