Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
สุดยอดครับ อาจารย์
ได้ติดตามคณะเที่ยวโบราณคดีสัญจร วันที่๑๓ธค. ๒๕๖๓ตามที่ ศ.ดร.ศักดิ์ชัย บรรยาย ทุกภาพ ทุกเจดีย์ ทำให้เข้าใจได้อย่างลึกซึ้งครับ ๑วันที่ลำพูน
สุดยอดครับ
ท่านไม่นำเสนอยุคต้นสมัยเชียงแสนหล่ะครับ ที่ก้อนอิฐแถวกำแพงเมืองเชียงแสน ตรวจคาร์บอน14 อายุถึง1,500-1,600ปีเลย
เอาข้อมูลจากไหนมาครับที่ผมเคยเห็นแค่ 700-800ปี
ขอบคุณอาจารย์ศักดิ์ชัยและคณะผู้จัดทำชุดสาระความรู้แผ่นดินไทยในแต่ละยุคสมัยชุดนี้คะขอให้ทำต่อเนื่องตลอดไปนะคะ เพราะมีประโยชน์มากๆๆคะ ทำให้คนรุ่นใหม่ได้รับความรู้ที่ถูกต้องมีหลักฐานข้อมูลที่แตะต้องได้ ทำให้รู้ตัวรู้ตนว่าคือใครและบรรพบุรุษได้สืบสานวัฒธนธรรมนี้มาสู่ปัจจุบันสมัยได้อย่างไร และเราจะสืบสานต่ออย่างไรหรือจะไม่ทำอย่างไร ก็เพื่อหวังให้ผู้คนทุกวัยทั้งไทยและเทศไม่ว่าจะเชื้อชาติใดที่อาศัยอยู่ณผืนแผ่นดินไทยยึดถือเป็นบ้านเกิดเมืองนอน ปลุกจิตสำนึกตนเองเกิดมีความภาคภูมิใจในบ้านเมืองของตน ขอบพระคุณที่มีชุดสาระความรู้ดีๆนี้คะ
ขอบคุณมากค่ะเป็นประโยชน์ ได้ความรู้จริงๆจากผู้มีความรู้ระดับศาสตราจารย์ ขอบคุณจากหัวใจ
ขอบคุณมากที่ให้ความรู้ครับ
ขอบคุณความรู้ดีๆที่มอบให้ครับ
รอตอนต่อไปครับ
#คำว่าล้านนา มาจากศัพท์ภาษาบาลีที่ถูกจารึกไว้บนหลักศิลาจารึกวัดเชียงสา (จ.เชียงราย) เมื่อพ.ศ.2096 และในท้ายคัมภีร์ใบลานโบราณที่พบในจังหวัดน่านและอื่นๆเขียนไว้ว่า" ทสลกฺขเขตฺตนคร" (ทส = สิบ ลกฺข = แสน เขตฺต = นา นคร = เมือง เมื่อรวมคำแล้วจึงได้คำแปลว่าเมืองสิบแสนนา/เมืองล้านนา)🇹🇭🏞️🌾🌄🌏💝🇹🇭🏞️🌾🌄🌏💝🇹🇭
คำว่า"ล้านนา" แปลว่า นาหนึ่งล้านไร่ และคำว่า"นาหนึ่งไร่" ของคนล้านนาจะหมายถึงนาหนึ่งช่องตารางที่ถูกกั้นไว้ด้วยคันนาซึ่งจะกว้างเท่าไหร่ก็ได้ขึ้นอยู่กับลักษณะของพื้นที่ ไม่ใช่หนึ่งไร่เท่ากับสี่ร้อยตารางวาตามมาตราวัดพื้นที่ของคนไทยภาคกลาง (ถ้ารู้ลักษณะของทุ่งนาภาคเหนือว่าต่างจากนาภาคกลางอย่างไรก็จะเข้าใจในคำอธิบายนี้ แต่ถ้าไม่รู้ก็แนะนำให้เสริชดูรูปในกูเกิ้ลก็ได้ว่ามันต่างกันยังไงบ้าง)
ล้านนาในยุคที่เจริญที่สุดขยายดินแดนขึ้นไปถึงเชียงตุง เมืองนาย ฝั่งซ้ายแม่น้ำสาละวิน บางส่วนของตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์
ไทยอาณาจักรน่านเจ้า(เจ้าแห่งอาณาจักรเหนือ)กัมพูชา(เจ้าแห่งอาณาจักรใต้_จีนเรียกฟูนันคืออาณาจักรฟูนัน_หรืออาณาจักรขอม(กรอมแปลว่าต่ำไทยเรียกว่าขอม)ในอาณาจักรขอมก็แคว้นอิศานปุระมีอาณาเขตครอบคลุมเวียดนามลาวไทยในสมัยอาณาจักรขอมปัจจุบันแคว้นอิศานปุระอาณาจักรขอมคือภาคอีสานและภาคกลางบางส่วนของไทยในปัจจุบันเช่นปราสาทเมืองสิงห์ที่สิงห์บุรี__ปราสาทเขาพนมรุ้งที่บุรีรัมย์(คำว่าเขาพนมรุ้งคนไทยเรียกตามความถนัดลิ้นส่วนชื่อเดิมทึ่คนกัมพูชาเรียกจะพูดเป็นภาษาเขมรว่าพนมรูง__พนมแปลว่าภูเขา__รูงแปลว่าโพรง__ถ้ำ__ที่มีขนาดใหญ่(ภูเขาที่มีโพรงถ้ำ)ซึ่งก็คือปล่องภูเขาไฟพนมรุ้งซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้องค์ปราสาทประมาณ๕๐๐เมตรปากปล่องเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ๕๐เมตร
เพิ่มอีกนิดครับ ศิลปะล้านนาทุกชิ้นเกิดขึ้นในสมัยสองสมณะทูตหลังพระนิพพาน ๒๑๘ ปีลงมาเรานับปีผิดครับ ผิดตรง ๕๖๐ เราเอามาบวกแล้วเอา ๖๒ ปีต่อมาว่าเป็น๖๒๒ ปี ลองทบทวนจากหลักฐานครับ
ขอเพลงเปิดหน่อยครับผม
มีไฟล์เอกสารไหมครับ อยากได้มาเรียน
ขอบคุณครับ แต่ทำไมด่วนฟันธงว่า"ล้านนา"ถูกต้องกว่า"ลานนา"ล่ะครับ ฟังความด้านเดียวจากนักวิทยานิพนธ์มืออาชีพเท่านั้นหรือ? ความรู้เชิงช่างระดับ ดร.วันนี้ยังไม่เท่า "สล่า"สมัยนั้นเลย ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่มีคำว่า "ลานข่วงแก้ว" ไชยเชษฐากษัตริย์เชื้อลาวเป็นคนแรกที่จารึกแนวคิดเมือง"ล้าน"ของตัวเองไว้ เช่นหลัก ชม.7 (พ.ศ.2096)ที่ชอบเอามาอ้างกัน บอกเป็นกษัตริย์2แผ่นดิน ล้านช้าง ล้านนา ทั้งที่ตอนนั้นตนเองเร่ร่อนไม่มีแผ่นดินจะอยู่ด้วยซ้ำ เพราะเชียงทอง(หลวงพระบาง)มีษัตริย์ใหม่แล้ว พอกลับมาเชียงใหม่เขาก็ตั้งพระเมกุฏินั่งแทน ไปเชียงแสนก็พม่าเต็มไปหมด ต้องมาอาศัยเช่าวัดนางจันดีแถมแก้เหงาด้วยการทำจารึกตอแหลนี้ขึ้นมาอีก ยังไม่พอไปทำจารึกที่พระธาตุสรีสองรัก(จ.เลย)ว่าตนเป็น "เขยล้านเพย" คือไปตั้งชื่ออยุธยาให้เขาใหม่ตามแนวคิดเมือง"ล้าน"เข้าให้อีก ยังครับยัง!! พอกลับไปนั่งเชียงทองได้ก็เปลี่ยนชื่อบาลีของเชียงทองจาก"สัตตนาคนหุต"คือช้างทั้ง7ที่เรียงตามกันมาโดยถือเอาภูช้างทั้ง7(บางตำราบอกแม่น้ำ7สาย)เป็นนิมิตทำเล เปลี่ยนไปเป็น"สตนาคนหุต"ที่แปลว่าร้อยช้างนับเรียงต่อเนื่องกันมา มีบัณฑิตบอกว่า นหุต น่ะนับต่อกันมาได้ 10,000 พอดี เลยได้ช้างมา 1,000,000 ตัวพอดิบพอดี...ก็ยังงงๆอยู่ ตกลงคนที่ได้ดีเพราะไม้โทและทฤษฎี"เมืองระดับล้าน"ของไชยเชษฐานี่จะยอมรับด้วยไหมว่าอยุธยาน่ะเป็น "ล้านเพย (คือล้านเพีย)" ด้วย ด้วยความเคารพรักและขออภัยที่กล่าวถึง อ.ดร.ฮันส์ เพนท์ และอ.ดร.ประเสริฐ ณ.นคร ผู้อ่านจารึกหลัก ชม.7 ได้ปลุกกระแส "ล้านนา"ขึ้นมาในวงกว้าง แต่ถ้าจะย้อนไปครั้งที่ทหารไทยไปปลดแอกลาวและเชียงตุงสมัยสงครามอินโดจีนแล้วขนจารึกนี้กลับมาไว้ที่ มณฑลทหารบกที่7 (ลำปาง) หนนั้นมีการศึกษากันมาแล้ว และไม่มีใครยอมรับการ"ตู่เอาเอง"ของไชยเชษฐาเลย อีกทั้งเคยอ่านจารึกที่เก่ากว่า ชม.7 มาแล้ว อยู่ที่ อ.แจ้ห่ม(จ.ลำปาง)พ.ศ.2094 ที่มีคำว่า "เจ้าหมื่นลานนาโหราธิบดี" แต่ทุกท่านหนนั้นกลับยอมรับว่า "ล้านนา และ ลานนา ถูกทั้งคู่" และไม่เคยคิดจะหาประโยชน์จากการมีหรือไม่มี"ไม้โท"เพื่อสร้างผลงานใดๆให้กับตน
ເຮັ້ຍເອີຍ, ຮຽນມາແຕ່ໃສ ວ່າໄຊຍะເຊດຖາ ບໍ່ມີແຜ່ນດິນຢູ່. มืงเรี้ย สุดๆๆ ..ไม่รู้อย่า....
@@vannavong9723 ขอบคุณครับท่านผู้รู้ที่พูดแต่...เรี้ย...อันเป็นสาระมาก
อย่างเพิ่งเอายุคสมัยในประวัติศาสตร์ไปแบ่งฝ่ายโน้นฝ่ายนี้สิครับ ต้องมองว่าอารยะธรรมไม่ใช่เกิดขึ้นจากคนพื้นถิ่นเป็นเบื้องต้น ต้องมองว่าคนป่าคนดงทั้งภูมิภาคได้รับอารยะธรรมจากดินแดนที่เจริญมาก่อนเราก่อน
@@vannavong9723 เสือกจัง ไอ่ลาว😂
ขอใช้พื้นที่ตรงนี้แสดงความคิดเห็นพอสมควรต๋ามสติปัญญาความสามารถตี่มีเด้อครับท่านอาจ๋ารย์ฯดังนั้นคำว่า ลานหมายถึงสถานที่โล่งๆมักจะมีพื้นที่ใช้สอยกว้างขวางเป็นอย่างมาก อาทิเช่นคำว่าลานนา-แลนาฯเป็นต้น แต่คำว่า ข่วง หมายถึงสถานที่โล่งแต่จะมีพื้นที่ใช้สอยแคบกว่าคำว่าลาน เช่นกล๋างข่วงบ้าน-วัดหัวข่วง เป็นต้นฯ
ล้านนาจริงๆกินเนื้อที่ไปถึงเชียงตุงหรือเปล่าครับจารย์
ไปถึงเชียงตุง สิบสองปันนา
นา = โต้งนา
ขอบพระคุณอาจารย์เป็นอย่างสูงเลยครับโดยเฉพาะอย่างยิ่งคลิปที่2 เป็นความรู้ที่ทรงคุณค่าคู่แผ่นดินมากๆครับขอเป็นกำลังใจให้ทีมงานผลิตผลงานดีๆเช่นนี้ต่อไปอีกเรื่อยๆนะครับ
สุดยอดครับ อาจารย์
ได้ติดตามคณะเที่ยวโบราณคดีสัญจร วันที่๑๓ธค. ๒๕๖๓ตามที่ ศ.ดร.ศักดิ์ชัย บรรยาย ทุกภาพ ทุกเจดีย์ ทำให้เข้าใจได้อย่างลึกซึ้งครับ ๑วันที่ลำพูน
สุดยอดครับ
ท่านไม่นำเสนอยุคต้นสมัยเชียงแสนหล่ะครับ ที่ก้อนอิฐแถวกำแพงเมืองเชียงแสน ตรวจคาร์บอน14 อายุถึง1,500-1,600ปีเลย
เอาข้อมูลจากไหนมาครับที่ผมเคยเห็นแค่ 700-800ปี
ขอบคุณอาจารย์ศักดิ์ชัยและคณะผู้จัดทำชุดสาระความรู้แผ่นดินไทยในแต่ละยุคสมัยชุดนี้คะขอให้ทำต่อเนื่องตลอดไปนะคะ เพราะมีประโยชน์มากๆๆคะ ทำให้คนรุ่นใหม่ได้รับความรู้ที่ถูกต้องมีหลักฐานข้อมูลที่แตะต้องได้ ทำให้รู้ตัวรู้ตนว่าคือใครและบรรพบุรุษได้สืบสานวัฒธนธรรมนี้มาสู่ปัจจุบันสมัยได้อย่างไร และเราจะสืบสานต่ออย่างไรหรือจะไม่ทำอย่างไร ก็เพื่อหวังให้ผู้คนทุกวัยทั้งไทยและเทศไม่ว่าจะเชื้อชาติใดที่อาศัยอยู่ณผืนแผ่นดินไทยยึดถือเป็นบ้านเกิดเมืองนอน ปลุกจิตสำนึกตนเองเกิดมีความภาคภูมิใจในบ้านเมืองของตน ขอบพระคุณที่มีชุดสาระความรู้ดีๆนี้คะ
ขอบคุณมากค่ะเป็นประโยชน์ ได้ความรู้จริงๆจากผู้มีความรู้ระดับศาสตราจารย์ ขอบคุณจากหัวใจ
ขอบคุณมากที่ให้ความรู้ครับ
ขอบคุณความรู้ดีๆที่มอบให้ครับ
รอตอนต่อไปครับ
#คำว่าล้านนา มาจากศัพท์ภาษาบาลีที่ถูกจารึกไว้บนหลักศิลาจารึกวัดเชียงสา (จ.เชียงราย) เมื่อพ.ศ.2096 และในท้ายคัมภีร์ใบลานโบราณที่พบในจังหวัดน่านและอื่นๆเขียนไว้ว่า" ทสลกฺขเขตฺตนคร" (ทส = สิบ ลกฺข = แสน เขตฺต = นา นคร = เมือง เมื่อรวมคำแล้วจึงได้คำแปลว่าเมืองสิบแสนนา/เมืองล้านนา)
🇹🇭🏞️🌾🌄🌏💝🇹🇭🏞️🌾🌄🌏💝🇹🇭
คำว่า"ล้านนา" แปลว่า นาหนึ่งล้านไร่ และคำว่า"นาหนึ่งไร่" ของคนล้านนาจะหมายถึงนาหนึ่งช่องตารางที่ถูกกั้นไว้ด้วยคันนาซึ่งจะกว้างเท่าไหร่ก็ได้ขึ้นอยู่กับลักษณะของพื้นที่ ไม่ใช่หนึ่งไร่เท่ากับสี่ร้อยตารางวาตามมาตราวัดพื้นที่ของคนไทยภาคกลาง
(ถ้ารู้ลักษณะของทุ่งนาภาคเหนือว่าต่างจากนาภาคกลางอย่างไรก็จะเข้าใจในคำอธิบายนี้ แต่ถ้าไม่รู้ก็แนะนำให้เสริชดูรูปในกูเกิ้ลก็ได้ว่ามันต่างกันยังไงบ้าง)
ล้านนาในยุคที่เจริญที่สุดขยายดินแดนขึ้นไปถึงเชียงตุง เมืองนาย ฝั่งซ้ายแม่น้ำสาละวิน บางส่วนของตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์
ไทยอาณาจักรน่านเจ้า(เจ้าแห่งอาณาจักรเหนือ)กัมพูชา(เจ้าแห่งอาณาจักรใต้_จีนเรียกฟูนันคืออาณาจักรฟูนัน_หรืออาณาจักรขอม(กรอมแปลว่าต่ำไทยเรียกว่าขอม)ในอาณาจักรขอมก็แคว้นอิศานปุระมีอาณาเขตครอบคลุมเวียดนามลาวไทยในสมัยอาณาจักรขอมปัจจุบันแคว้นอิศานปุระอาณาจักรขอมคือภาคอีสานและภาคกลางบางส่วนของไทยในปัจจุบันเช่นปราสาทเมืองสิงห์ที่สิงห์บุรี__ปราสาทเขาพนมรุ้งที่บุรีรัมย์(คำว่าเขาพนมรุ้งคนไทยเรียกตามความถนัดลิ้นส่วนชื่อเดิมทึ่คนกัมพูชาเรียกจะพูดเป็นภาษาเขมรว่าพนมรูง__พนมแปลว่าภูเขา__รูงแปลว่าโพรง__ถ้ำ__ที่มีขนาดใหญ่(ภูเขาที่มีโพรงถ้ำ)ซึ่งก็คือปล่องภูเขาไฟพนมรุ้งซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้องค์ปราสาทประมาณ๕๐๐เมตรปากปล่องเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ๕๐เมตร
เพิ่มอีกนิดครับ ศิลปะล้านนาทุกชิ้นเกิดขึ้นในสมัยสองสมณะทูตหลังพระนิพพาน ๒๑๘ ปีลงมาเรานับปีผิดครับ ผิดตรง ๕๖๐ เราเอามาบวกแล้วเอา ๖๒ ปีต่อมาว่าเป็น๖๒๒ ปี ลองทบทวนจากหลักฐานครับ
ขอเพลงเปิดหน่อยครับผม
มีไฟล์เอกสารไหมครับ อยากได้มาเรียน
ขอบคุณครับ แต่ทำไมด่วนฟันธงว่า"ล้านนา"ถูกต้องกว่า"ลานนา"ล่ะครับ ฟังความด้านเดียวจากนักวิทยานิพนธ์มืออาชีพเท่านั้นหรือ? ความรู้เชิงช่างระดับ ดร.วันนี้ยังไม่เท่า "สล่า"สมัยนั้นเลย ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่มีคำว่า "ลานข่วงแก้ว" ไชยเชษฐากษัตริย์เชื้อลาวเป็นคนแรกที่จารึกแนวคิดเมือง"ล้าน"ของตัวเองไว้ เช่นหลัก ชม.7 (พ.ศ.2096)ที่ชอบเอามาอ้างกัน บอกเป็นกษัตริย์2แผ่นดิน ล้านช้าง ล้านนา ทั้งที่ตอนนั้นตนเองเร่ร่อนไม่มีแผ่นดินจะอยู่ด้วยซ้ำ เพราะเชียงทอง(หลวงพระบาง)มีษัตริย์ใหม่แล้ว พอกลับมาเชียงใหม่เขาก็ตั้งพระเมกุฏินั่งแทน ไปเชียงแสนก็พม่าเต็มไปหมด ต้องมาอาศัยเช่าวัดนางจันดีแถมแก้เหงาด้วยการทำจารึกตอแหลนี้ขึ้นมาอีก ยังไม่พอไปทำจารึกที่พระธาตุสรีสองรัก(จ.เลย)ว่าตนเป็น "เขยล้านเพย" คือไปตั้งชื่ออยุธยาให้เขาใหม่ตามแนวคิดเมือง"ล้าน"เข้าให้อีก ยังครับยัง!! พอกลับไปนั่งเชียงทองได้ก็เปลี่ยนชื่อบาลีของเชียงทองจาก"สัตตนาคนหุต"คือช้างทั้ง7ที่เรียงตามกันมาโดยถือเอาภูช้างทั้ง7(บางตำราบอกแม่น้ำ7สาย)เป็นนิมิตทำเล เปลี่ยนไปเป็น"สตนาคนหุต"ที่แปลว่าร้อยช้างนับเรียงต่อเนื่องกันมา มีบัณฑิตบอกว่า นหุต น่ะนับต่อกันมาได้ 10,000 พอดี เลยได้ช้างมา 1,000,000 ตัวพอดิบพอดี...ก็ยังงงๆอยู่
ตกลงคนที่ได้ดีเพราะไม้โทและทฤษฎี"เมืองระดับล้าน"ของไชยเชษฐานี่จะยอมรับด้วยไหมว่าอยุธยาน่ะเป็น "ล้านเพย (คือล้านเพีย)" ด้วย
ด้วยความเคารพรักและขออภัยที่กล่าวถึง อ.ดร.ฮันส์ เพนท์ และอ.ดร.ประเสริฐ ณ.นคร ผู้อ่านจารึกหลัก ชม.7 ได้ปลุกกระแส "ล้านนา"ขึ้นมาในวงกว้าง แต่ถ้าจะย้อนไปครั้งที่ทหารไทยไปปลดแอกลาวและเชียงตุงสมัยสงครามอินโดจีนแล้วขนจารึกนี้กลับมาไว้ที่ มณฑลทหารบกที่7 (ลำปาง) หนนั้นมีการศึกษากันมาแล้ว และไม่มีใครยอมรับการ"ตู่เอาเอง"ของไชยเชษฐาเลย อีกทั้งเคยอ่านจารึกที่เก่ากว่า ชม.7 มาแล้ว อยู่ที่ อ.แจ้ห่ม(จ.ลำปาง)พ.ศ.2094 ที่มีคำว่า "เจ้าหมื่นลานนาโหราธิบดี" แต่ทุกท่านหนนั้นกลับยอมรับว่า "ล้านนา และ ลานนา ถูกทั้งคู่" และไม่เคยคิดจะหาประโยชน์จากการมีหรือไม่มี"ไม้โท"เพื่อสร้างผลงานใดๆให้กับตน
ເຮັ້ຍເອີຍ, ຮຽນມາແຕ່ໃສ ວ່າໄຊຍะເຊດຖາ ບໍ່ມີແຜ່ນດິນຢູ່. มืงเรี้ย สุดๆๆ ..ไม่รู้อย่า....
@@vannavong9723 ขอบคุณครับท่านผู้รู้ที่พูดแต่...เรี้ย...อันเป็นสาระมาก
อย่างเพิ่งเอายุคสมัยในประวัติศาสตร์ไปแบ่งฝ่ายโน้นฝ่ายนี้สิครับ ต้องมองว่าอารยะธรรมไม่ใช่เกิดขึ้นจากคนพื้นถิ่นเป็นเบื้องต้น ต้องมองว่าคนป่าคนดงทั้งภูมิภาคได้รับอารยะธรรมจากดินแดนที่เจริญมาก่อนเราก่อน
@@vannavong9723 เสือกจัง ไอ่ลาว😂
ขอใช้พื้นที่ตรงนี้แสดงความคิดเห็นพอสมควรต๋ามสติปัญญาความสามารถตี่มีเด้อครับท่านอาจ๋ารย์ฯ
ดังนั้นคำว่า ลานหมายถึงสถานที่โล่งๆมักจะมีพื้นที่ใช้สอยกว้างขวางเป็นอย่างมาก อาทิเช่นคำว่าลานนา-แลนาฯเป็นต้น แต่คำว่า ข่วง หมายถึงสถานที่โล่งแต่จะมีพื้นที่ใช้สอยแคบกว่าคำว่าลาน เช่นกล๋างข่วงบ้าน-วัดหัวข่วง เป็นต้นฯ
#คำว่าล้านนา มาจากศัพท์ภาษาบาลีที่ถูกจารึกไว้บนหลักศิลาจารึกวัดเชียงสา (จ.เชียงราย) เมื่อพ.ศ.2096 และในท้ายคัมภีร์ใบลานโบราณที่พบในจังหวัดน่านและอื่นๆเขียนไว้ว่า" ทสลกฺขเขตฺตนคร" (ทส = สิบ ลกฺข = แสน เขตฺต = นา นคร = เมือง เมื่อรวมคำแล้วจึงได้คำแปลว่าเมืองสิบแสนนา/เมืองล้านนา)
🇹🇭🏞️🌾🌄🌏💝🇹🇭🏞️🌾🌄🌏💝🇹🇭
คำว่า"ล้านนา" แปลว่า นาหนึ่งล้านไร่ และคำว่า"นาหนึ่งไร่" ของคนล้านนาจะหมายถึงนาหนึ่งช่องตารางที่ถูกกั้นไว้ด้วยคันนาซึ่งจะกว้างเท่าไหร่ก็ได้ขึ้นอยู่กับลักษณะของพื้นที่ ไม่ใช่หนึ่งไร่เท่ากับสี่ร้อยตารางวาตามมาตราวัดพื้นที่ของคนไทยภาคกลาง
(ถ้ารู้ลักษณะของทุ่งนาภาคเหนือว่าต่างจากนาภาคกลางอย่างไรก็จะเข้าใจในคำอธิบายนี้ แต่ถ้าไม่รู้ก็แนะนำให้เสริชดูรูปในกูเกิ้ลก็ได้ว่ามันต่างกันยังไงบ้าง)
ล้านนาจริงๆกินเนื้อที่ไปถึงเชียงตุงหรือเปล่าครับจารย์
ไปถึงเชียงตุง สิบสองปันนา
นา = โต้งนา
ขอบพระคุณอาจารย์เป็นอย่างสูงเลยครับ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งคลิปที่2 เป็นความรู้ที่ทรงคุณค่าคู่แผ่นดินมากๆครับ
ขอเป็นกำลังใจให้ทีมงานผลิตผลงานดีๆเช่นนี้ต่อไปอีกเรื่อยๆนะครับ
เพิ่มอีกนิดครับ ศิลปะล้านนาทุกชิ้นเกิดขึ้นในสมัยสองสมณะทูตหลังพระนิพพาน ๒๑๘ ปีลงมาเรานับปีผิดครับ ผิดตรง ๕๖๐ เราเอามาบวกแล้วเอา ๖๒ ปีต่อมาว่าเป็น๖๒๒ ปี ลองทบทวนจากหลักฐานครับ
เพิ่มอีกนิดครับ ศิลปะล้านนาทุกชิ้นเกิดขึ้นในสมัยสองสมณะทูตหลังพระนิพพาน ๒๑๘ ปีลงมาเรานับปีผิดครับ ผิดตรง ๕๖๐ เราเอามาบวกแล้วเอา ๖๒ ปีต่อมาว่าเป็น๖๒๒ ปี ลองทบทวนจากหลักฐานครับ