Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
สนุกมากครับจารย์ คิดถึงโขทัยมากครับ เรียนได้ถึง ม.3ย้ายมาเรียน นาฏศิลปเชียงใหม่ก่อน คิดถึงงมากก
อาจารย์เสื้อเขียวใช่อ.เกิดศิริไหมครับ
ดนดรีล้านนาทำนองอะไรครับ
คัดลอกข้อมูลจากครูบอม สาวิน มูลธิมา วนศ.เชียงใหม่ค่ะศิลปนิพนธ์เรื่อง ฟ้อน “ถิ้งบ้อง” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของการฟ้อนรำประกอบวงกลองถิ้งบ้องอันมีวิวัฒนาการอยู่ในวัฒนธรรมล้านนา และสร้างสรรค์และประดิษฐ์ท่าฟ้อน“ถิ้งบ้อง” เป็นเอกลักษณ์เฉพาะและมีแบบแผนที่งดงาม และแรงบันดาลใจของชุดแต่งกายประกอบการแสดงที่นำเอาความมีเอกลักษณ์โดดเด่นของการแต่งกายล้านนาในปี ๒๕๐๐ ฟ้อน“ถิ้งบ้อง” มีชื่อเรียกหลากหลายในวัฒนธรรมล้านนา อาทิ ฟ้อนแห่ครัวทาน ฟ้อนโจ๊ะโล๊ะดอกข่า เป็นการฟ้อนที่ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมประเพณีของชาวล้านนามาแต่โบราณ มิได้มีท่าฟ้อนรำที่แน่ชัด แต่มีรูปแบบของแม่ท่ามือในรูปของการเลียนแบบความงดงามของดอกข่า โดยผู้ฟ้อนรำจะกระทำด้วยความบันดาลใจโดยฉับพลัน และเพื่อก่อให้เกิดความรื่นเริง สนุกสนานในการแห่แหนขบวนครัวทานรูปแบบการฟ้อน“ถิ้งบ้อง” มี ๓ ช่วง คือช่วงที่ ๑ ตีลั่นก๋องยามแลงช่วงที่ ๒ แห่แหนแต๋นแต้ ช่วงที่ ๓ แอ่นแอ้หน้าวัด ใช้วงดนตรีวงกลองถิ้งบ้อง ซึ่งเป็นวงกลองพื้นบ้านล้านนา ประกอบด้วยกลองสิ้งหม้อง กลองทั่ง โหม่ง ฉาบ กรับไม้ไผ่ และปี่แนน้อย เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงคือ เพลงหยุบมือกำ เพลงสาวน้อยป่าบง เพลงบ่เกย และเพลงภารตะคณะผู้วิจัยนายสรศักดิ์ พรหมระอางวัน นายผดุงเกียรติ ใหญ่ยิ่ง นางสาวศุภกาญจน์ กิตติกวางทอง นางสาวศศิประพร รอดภักดีอาจารย์ผู้ควบคุมศิลปนิพนธ์ ผศ. สมภพ เพ็ญจันทร์ อาจารย์ ธงชัย จีนชาติ
จังหวะ รำวง หรือเรียกตามกลองก็ได้ ถิ้งบ้อง/ซิ้งม้อง หรือก็คือชื่อของกลอง คล้ายกับกลองยาวทางภาคกลาง ครับ
@@thomanailamtha8047 เพลงภาคเหนือค่ะ ท่ารำภาคเหนือค่ะ ควรศึกษาก่อนค่อยคอมเม้นต์นะคะ
@@thomanailamtha8047 ล้านนาแต้ก่อเตอะ เพลงโจ๊ะโล๊ะดอกข่ายัง บ่ฮู้จักฟ้อน "ถึงบ้อง” มีชื่อเรียกหลากหลายในวัฒนธรรมล้านนาอาทิฟ้อนแห่ครัวทานฟ้อนโจ๊ะโล๊ะดอกข่าเป็นการฟ้อนที่ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมประเพณีของชาวล้านนามา แต่โบราณมิได้มีท่าฟ้อนรำที่แน่ชัด แต่มีรูปแบบของแม่ท่ามือในรูปของการเลียนแบบความงดงามของดอกข่าโดยผู้ฟ้อนรำจะกระทำด้วยความบันดาลใจโดยฉับพลันและเพื่อก่อให้เกิดความรื่นเริงสนุกสนานในการแห่แหนขบวนครัวทานรูปแบบการฟ้อน" ถึงบ้อง” มี ๓ ช่วงคือช่วงที่ ๑ ตีลั่นก่องยามแลงช่วงที่ ๒ แห่แหนแต้นแต้ช่วงที่ ๓ แอ่นแอ้หน้าวัดใช้วงดนตรีวงกลองถึงบ้องซึ่งเป็นวงกลองพื้นบ้านล้านนาประกอบด้วยกลองสิ่งหม้องกลองทั่งโหม่งฉาบกรับไม้ไผ่และปี่แนน้อยเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงคือเพลงหยุบมือกำเพลงสาวน้อยป่าบงเพลงบ่เกยและเพลงภารตะ
@@thomanailamtha8047 คิงหยั่งมาง่าวบ่านี้มาท่าภาคกลางหยั่งเพลงเหนือท่าฟ้อนเหนือก่าง่าว
สนุกมากครับจารย์ คิดถึงโขทัยมากครับ เรียนได้ถึง ม.3ย้ายมาเรียน นาฏศิลปเชียงใหม่ก่อน คิดถึงงมากก
อาจารย์เสื้อเขียวใช่อ.เกิดศิริไหมครับ
ดนดรีล้านนาทำนองอะไรครับ
คัดลอกข้อมูลจากครูบอม สาวิน มูลธิมา วนศ.เชียงใหม่ค่ะ
ศิลปนิพนธ์เรื่อง ฟ้อน “ถิ้งบ้อง” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของการฟ้อนรำประกอบวงกลองถิ้งบ้องอันมีวิวัฒนาการอยู่ในวัฒนธรรมล้านนา และสร้างสรรค์และประดิษฐ์ท่าฟ้อน“ถิ้งบ้อง” เป็นเอกลักษณ์เฉพาะและมีแบบแผนที่งดงาม และแรงบันดาลใจของชุดแต่งกายประกอบการแสดงที่นำเอาความมีเอกลักษณ์โดดเด่นของการแต่งกายล้านนาในปี ๒๕๐๐
ฟ้อน“ถิ้งบ้อง” มีชื่อเรียกหลากหลายในวัฒนธรรมล้านนา อาทิ
ฟ้อนแห่ครัวทาน ฟ้อนโจ๊ะโล๊ะดอกข่า เป็นการฟ้อนที่ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมประเพณีของชาวล้านนามาแต่โบราณ มิได้มีท่าฟ้อนรำที่แน่ชัด แต่มีรูปแบบของแม่ท่ามือ
ในรูปของการเลียนแบบความงดงามของดอกข่า โดยผู้ฟ้อนรำจะกระทำด้วยความบันดาลใจโดยฉับพลัน และเพื่อก่อให้เกิดความรื่นเริง สนุกสนานในการแห่แหนขบวนครัวทาน
รูปแบบการฟ้อน“ถิ้งบ้อง” มี ๓ ช่วง คือ
ช่วงที่ ๑ ตีลั่นก๋องยามแลง
ช่วงที่ ๒ แห่แหนแต๋นแต้
ช่วงที่ ๓ แอ่นแอ้หน้าวัด
ใช้วงดนตรีวงกลองถิ้งบ้อง ซึ่งเป็นวงกลองพื้นบ้านล้านนา ประกอบด้วยกลองสิ้งหม้อง กลองทั่ง โหม่ง ฉาบ กรับไม้ไผ่ และปี่แนน้อย
เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงคือ เพลงหยุบมือกำ เพลงสาวน้อยป่าบง เพลงบ่เกย และเพลงภารตะ
คณะผู้วิจัย
นายสรศักดิ์ พรหมระอางวัน
นายผดุงเกียรติ ใหญ่ยิ่ง
นางสาวศุภกาญจน์ กิตติกวางทอง
นางสาวศศิประพร รอดภักดี
อาจารย์ผู้ควบคุมศิลปนิพนธ์
ผศ. สมภพ เพ็ญจันทร์
อาจารย์ ธงชัย จีนชาติ
จังหวะ รำวง หรือเรียกตามกลองก็ได้ ถิ้งบ้อง/ซิ้งม้อง หรือก็คือชื่อของกลอง คล้ายกับกลองยาวทางภาคกลาง ครับ
@@thomanailamtha8047 เพลงภาคเหนือค่ะ ท่ารำภาคเหนือค่ะ ควรศึกษาก่อนค่อยคอมเม้นต์นะคะ
@@thomanailamtha8047 ล้านนาแต้ก่อเตอะ เพลงโจ๊ะโล๊ะดอกข่ายัง บ่ฮู้จัก
ฟ้อน "ถึงบ้อง” มีชื่อเรียกหลากหลายในวัฒนธรรมล้านนาอาทิฟ้อนแห่ครัวทานฟ้อนโจ๊ะโล๊ะดอกข่าเป็นการฟ้อนที่ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมประเพณีของชาวล้านนามา แต่โบราณมิได้มีท่าฟ้อนรำที่แน่ชัด แต่มีรูปแบบของแม่ท่ามือในรูปของการเลียนแบบความงดงามของดอกข่าโดยผู้ฟ้อนรำจะกระทำด้วยความบันดาลใจโดยฉับพลันและเพื่อก่อให้เกิดความรื่นเริงสนุกสนานในการแห่แหนขบวนครัวทานรูปแบบการฟ้อน" ถึงบ้อง” มี ๓ ช่วงคือช่วงที่ ๑ ตีลั่นก่องยามแลงช่วงที่ ๒ แห่แหนแต้นแต้ช่วงที่ ๓ แอ่นแอ้หน้าวัดใช้วงดนตรีวงกลองถึงบ้องซึ่งเป็นวงกลองพื้นบ้านล้านนาประกอบด้วยกลองสิ่งหม้องกลองทั่งโหม่งฉาบกรับไม้ไผ่และปี่แนน้อยเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงคือเพลงหยุบมือกำเพลงสาวน้อยป่าบงเพลงบ่เกยและเพลงภารตะ
@@thomanailamtha8047 คิงหยั่งมาง่าวบ่านี้มาท่าภาคกลางหยั่งเพลงเหนือท่าฟ้อนเหนือก่าง่าว