Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
รถยนตร์น้ำมันเมื่อเกิดไฟไหม้ส่วนใหญ่ๆๆเราจะรู้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร ส่วนรถไฟฟ้าเรารู้แต่ว่าเกิดจากแบ๊ตเตอรี่แต่ไม่รู้ว่าเราจะป้องกันไม่ให้แบ๊ตเตอรี่เกิดไฟไหม้ได้อย่างไร เหมือนกับว่าเทคโนโลยี่ในปัจจุบันยังไม่สามารถแยกแบ๊ตเตอรี่ดีออกจากแบ๊ตเตอรี่ที่จะมีปัญหาได้
หากในแพกเดัยวกันมีบางตัวมีปัญหา ก็เริ่มไม่สบายใจแล้ว การไล่เปลี่ยนบางตัว ก็ไม่ชัวร ระบบการจัดการ มี BMS ทำหน้าที่ปรับระบบ บาลานซ์เซล ควบคุมอยู่ก็ไม่มั่นใจ จึงยังเป็นเรื่องเปราะบาง ที่เป็นกังวล
ขอทราบที่มาของข้อมูลนี้ที่ชัดเจนหน่อยครับ
ลอง search คำว่าส่วนประกอบ Electrolyte EV battery ลิเธียมไอออน และ search คำว่า Thermal runaway ของแบตเตอรีลิเธียมไอออน
ปัญหาแบบนี้ดูเหมือนว่า Electrolyte ที่เป็นของเหลวจะมีความเสี่ยงในกรณีมากกว่าแต่ถ้าในอนาคต มีการพัฒนาแบตแบบ Solid state ได้แล้ว ความเสี่ยงแบบนี้ก็จะน้อยลงไปได้พอควรเลยครับ เพียงแต่อาจต้องรอสัก 3-5 ปีถึงน่าจะมีแบตแบบนี้นำมาใช้งาน หรือว่า รอซื้อระสักปี 2030 ความเสี่ยงแบบนี้ก็น่าจะน้อยลงไปได้ประมาณหนึ่งครับ ถ้ารอไม่ได้การจะใช้งานก็ไม่ควรจะ ทำให้เกิดความเครียดในการทำปฎืกริยาเคมี เช่น หลีกเลี่ยงการชาร์ตไฟด้วยแรงดันสูงมากๆ (หรือพวกที่จะชาร์ตเร็ว) เป็นประจำต่อเนื่องและควรให้แบตมีความจุระหว่าง 40-60% เป็นส่วนใหญ่จะทำให้เซลมีความเครียดต่ำ ดังนั้นภ้าไม่ได้จะใช้รถนานก็ไม่ควรจะ ชาร์ตแบตเกิน 80% ทิ้งไว้นาน หรือ ไม่ควรปล่อยให้แบตมีความจุต่ำเกินกว่า 20% บ่อยๆ ใช้รถพอมีความจุเหลือ 30 พอเห็นสถานีชาร์ตก็รีบนำรถไปชาร์ตแต่อย่างชาร์ตเกิน 80% กรณีที่จะชาร์ตแบตให้เต็ม 100% ก็ควรชาร์ตด้วยกระแสสลับด้วยแรงดันต่ำที่บ้าน และแน่ใจว่า พรุ่งนี้จะนำรถไปใช้งานจริงๆ จึงค่อยชาร์ตรถให้เต็ม 100% ถ้าทำแบบนี้ก็จะช่วยที่จะไม่เพิ่มความเครียดของปฏิกริยาเคมีของรถไฟฟ้าได้มากได้ ก็อาจจะลดความเสี่ยงจะเกิดอุบัติเหตุ รวมถึงช่วยยืดอายุของแบตเตอรี่ได้ดีด้วย
Solid State ที่ทุกคนรอ หวังว่าปัญหาจะน้อยลง พูดถึงการดูแล รถยนต์ไฟฟ้าที่ใช้ Electrolyte เหลว เรื่องพฤติกรรม วินัยส่วนตัวต้องระมัดระวัง ใหม่ๆคงใช่ ต่อๆไปก็ เริ่มมีนิสัยเดิม ขี้เกียจ เผลอแป้บเดียว รถเดี้ยงแล้ว ใจเย็น รออีกนิด
เราอาจจะลืมรถไฟฟ้าใช้แบตไปได้เลยครับ เพราะตอนนี้มันมีเทคโนโลยี 2 อย่างซึ่งดีกว่า 1.การใช้ของเหลว 2 ชนิดผสมกันแล้วทำให้เกิดไฟฟ้าขึ้นมา เป็นแนวคิดใหม่ล่าสุด มีคนทดลองทำแล้วครับ2.การใช้ไฮโดรเจน ไม่ว่าจะเป็นการสันดาปโดยตรง หรือ ผ่านเซลเชื้อเพลิงเพื่อผลิตเป็นไฟฟ้าไปขับมอเตอร์รถไฟฟ้าทั้งสองแบบ สามารถเติมเชื้้อเพลิงเหมือนที่เราเติมน้ำมัน ไม่ต้องเสียเวลาชาร์จครับส่วนเรื่องแบต ไม่ว่าเป็นแบตประเภทไหนก็ตาม ความจุยิ่งเยอะก็ยิ่งอันตรายครับ โดยเฉพาะลิเธียมที่เป็นโลหะที่ไวต่อปฏิกริยาเคมีมาก ๆ ที่จริงควรใช้เป็นแบตลิเธียมเหล็กจะปลอดภัยกว่าแต่ความจุมันน้อยกว่า LTO พอสมควร ก็เลยไม่ใช้กัน
@@chaiyoth6711 ความเป็นไปได้ของรูปแบบการใช้งานจริง ดูน่ารถใช้แบตก็ยังน่าจะมีโอกาสจะกลายเป็นสัดส่วนในการะบบขนส่งเกินกว่า 50% ในอีก ไม่เกิน 10 ปีและน่าจะเป็นอย่างงั้นไปอีกนานนับเป็นสิบๆปีอยู่ดี
@therddhamkhamsiri9966 ค่อยเปลี่ยนไปเป็นรถไฟฟ้าระบบไฟฟ้า อย่างไรแล้วสักวันก็ต้องมาถึงครับ
@@therddhamkhamsiri9966สิ่งที่คุณคุณคาดการณ์มันจะไม่เกิดขึ้นครับ เพราะรถไฟฟ้าที่ใช้แบตเตอรี่มันมีข้อเสียมากมาย อันดับแรกเลยก็เรื่องความจุ ต่อมาก็คือเรื่องของราคา ปัจจุบันนี้รถไฟฟ้าที่ใช้แบตเตอรี่ แบตพังประกันเขาไม่เคลมให้นะครับ เราต้องคิดถึงเรื่องนี้ด้วย ต่อให้เปลี่ยนจากลิเธียมเป็น solid stateราคาแบตมันก็แพงอยู่ดี และที่สำคัญก็คือมันเสียเวลาในการชาร์จ แถมยังไม่รู้เลยว่าsolid state จะทำเป็นแบตขนาดใหญ่จุไฟเยอะๆได้ไหมคุณเคยเห็นทรานซิสเตอร์ตัวใหญ่สุดแค่ไหนล่ะครับมันมีแต่ตัวเล็กๆ ทรานซิสเตอร์บมันก็คืออุปกรณ์solid state ประเภท นึง...ส่วนทางเลือกใหม่ที่ผมบอก ตัวแรกน่าจะมาแรงและเร็วด้วย
รถยนตร์น้ำมันเมื่อเกิดไฟไหม้ส่วนใหญ่ๆๆเราจะรู้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร ส่วนรถไฟฟ้าเรารู้แต่ว่าเกิดจากแบ๊ตเตอรี่แต่ไม่รู้ว่าเราจะป้องกันไม่ให้แบ๊ตเตอรี่เกิดไฟไหม้ได้อย่างไร เหมือนกับว่าเทคโนโลยี่ในปัจจุบันยังไม่สามารถแยกแบ๊ตเตอรี่ดีออกจากแบ๊ตเตอรี่ที่จะมีปัญหาได้
หากในแพกเดัยวกันมีบางตัวมีปัญหา ก็เริ่มไม่สบายใจแล้ว การไล่เปลี่ยนบางตัว ก็ไม่ชัวร ระบบการจัดการ มี BMS ทำหน้าที่ปรับระบบ บาลานซ์เซล ควบคุมอยู่ก็ไม่มั่นใจ จึงยังเป็นเรื่องเปราะบาง ที่เป็นกังวล
ขอทราบที่มาของข้อมูลนี้ที่ชัดเจนหน่อยครับ
ลอง search คำว่าส่วนประกอบ Electrolyte EV battery ลิเธียมไอออน และ search คำว่า Thermal runaway ของแบตเตอรีลิเธียมไอออน
ปัญหาแบบนี้ดูเหมือนว่า Electrolyte ที่เป็นของเหลวจะมีความเสี่ยงในกรณีมากกว่า
แต่ถ้าในอนาคต มีการพัฒนาแบตแบบ Solid state ได้แล้ว ความเสี่ยงแบบนี้ก็จะน้อยลงไปได้พอควรเลยครับ เพียงแต่อาจต้องรอสัก 3-5 ปีถึงน่าจะมีแบตแบบนี้นำมาใช้งาน หรือว่า รอซื้อระสักปี 2030 ความเสี่ยงแบบนี้ก็น่าจะน้อยลงไปได้ประมาณหนึ่งครับ
ถ้ารอไม่ได้การจะใช้งานก็ไม่ควรจะ ทำให้เกิดความเครียดในการทำปฎืกริยาเคมี เช่น หลีกเลี่ยงการชาร์ตไฟด้วยแรงดันสูงมากๆ (หรือพวกที่จะชาร์ตเร็ว) เป็นประจำต่อเนื่อง
และควรให้แบตมีความจุระหว่าง 40-60% เป็นส่วนใหญ่จะทำให้เซลมีความเครียดต่ำ ดังนั้นภ้าไม่ได้จะใช้รถนานก็ไม่ควรจะ ชาร์ตแบตเกิน 80% ทิ้งไว้นาน หรือ ไม่ควรปล่อยให้แบตมีความจุต่ำเกินกว่า 20% บ่อยๆ ใช้รถพอมีความจุเหลือ 30 พอเห็นสถานีชาร์ตก็รีบนำรถไปชาร์ตแต่อย่างชาร์ตเกิน 80% กรณีที่จะชาร์ตแบตให้เต็ม 100% ก็ควรชาร์ตด้วยกระแสสลับด้วยแรงดันต่ำที่บ้าน และแน่ใจว่า พรุ่งนี้จะนำรถไปใช้งานจริงๆ จึงค่อยชาร์ตรถให้เต็ม 100% ถ้าทำแบบนี้ก็จะช่วยที่จะไม่เพิ่มความเครียดของปฏิกริยาเคมีของรถไฟฟ้าได้มากได้ ก็อาจจะลดความเสี่ยงจะเกิดอุบัติเหตุ รวมถึงช่วยยืดอายุของแบตเตอรี่ได้ดีด้วย
Solid State ที่ทุกคนรอ หวังว่าปัญหาจะน้อยลง พูดถึงการดูแล รถยนต์ไฟฟ้าที่ใช้ Electrolyte เหลว เรื่องพฤติกรรม วินัยส่วนตัวต้องระมัดระวัง ใหม่ๆคงใช่ ต่อๆไปก็ เริ่มมีนิสัยเดิม ขี้เกียจ เผลอแป้บเดียว รถเดี้ยงแล้ว ใจเย็น รออีกนิด
เราอาจจะลืมรถไฟฟ้าใช้แบตไปได้เลยครับ เพราะตอนนี้มันมีเทคโนโลยี 2 อย่างซึ่งดีกว่า
1.การใช้ของเหลว 2 ชนิดผสมกันแล้วทำให้เกิดไฟฟ้าขึ้นมา เป็นแนวคิดใหม่ล่าสุด มีคนทดลองทำแล้วครับ
2.การใช้ไฮโดรเจน ไม่ว่าจะเป็นการสันดาปโดยตรง หรือ ผ่านเซลเชื้อเพลิงเพื่อผลิตเป็นไฟฟ้าไปขับมอเตอร์รถไฟฟ้า
ทั้งสองแบบ สามารถเติมเชื้้อเพลิงเหมือนที่เราเติมน้ำมัน ไม่ต้องเสียเวลาชาร์จครับ
ส่วนเรื่องแบต ไม่ว่าเป็นแบตประเภทไหนก็ตาม ความจุยิ่งเยอะก็ยิ่งอันตรายครับ โดยเฉพาะลิเธียมที่เป็นโลหะที่ไวต่อปฏิกริยาเคมีมาก ๆ ที่จริงควรใช้เป็นแบตลิเธียมเหล็กจะปลอดภัยกว่าแต่ความจุมันน้อยกว่า LTO พอสมควร ก็เลยไม่ใช้กัน
@@chaiyoth6711 ความเป็นไปได้ของรูปแบบการใช้งานจริง ดูน่ารถใช้แบตก็ยังน่าจะมีโอกาสจะกลายเป็นสัดส่วนในการะบบขนส่งเกินกว่า 50% ในอีก ไม่เกิน 10 ปีและน่าจะเป็นอย่างงั้นไปอีกนานนับเป็นสิบๆปีอยู่ดี
@therddhamkhamsiri9966 ค่อยเปลี่ยนไปเป็นรถไฟฟ้าระบบไฟฟ้า อย่างไรแล้วสักวันก็ต้องมาถึงครับ
@@therddhamkhamsiri9966สิ่งที่คุณคุณคาดการณ์มันจะไม่เกิดขึ้นครับ เพราะรถไฟฟ้าที่ใช้แบตเตอรี่มันมีข้อเสียมากมาย อันดับแรกเลยก็เรื่องความจุ ต่อมาก็คือเรื่องของราคา ปัจจุบันนี้รถไฟฟ้าที่ใช้แบตเตอรี่ แบตพังประกันเขาไม่เคลมให้นะครับ เราต้องคิดถึงเรื่องนี้ด้วย ต่อให้เปลี่ยนจากลิเธียมเป็น solid stateราคาแบตมันก็แพงอยู่ดี และที่สำคัญก็คือมันเสียเวลาในการชาร์จ แถมยังไม่รู้เลยว่าsolid state จะทำเป็นแบตขนาดใหญ่จุไฟเยอะๆได้ไหมคุณเคยเห็นทรานซิสเตอร์ตัวใหญ่สุดแค่ไหนล่ะครับมันมีแต่ตัวเล็กๆ ทรานซิสเตอร์บมันก็คืออุปกรณ์solid state ประเภท นึง...ส่วนทางเลือกใหม่ที่ผมบอก ตัวแรกน่าจะมาแรงและเร็วด้วย