อึ้ง ! ดอนเมืองโทลเวย์..กำไรปีละพันล้าน | เจาะลึกทั่วไทย | 23 ก.ค. 67

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 3 лис 2024

КОМЕНТАРІ • 56

  • @luckluck1176
    @luckluck1176 3 місяці тому +16

    นักการเมืองและเจ้าสัว ปล้นประชาชน

  • @thanchatsuksri8451
    @thanchatsuksri8451 3 місяці тому +16

    ขยายสัมปทาน = ขายชาติเอื้อนายทุน

  • @phichitprakobdee2681
    @phichitprakobdee2681 3 місяці тому +11

    🎉🎉🎉แอบต่อสัมปทานรับแซ่บใครได้ป่าว.? แต่ ปชช. มีแต่เสียๆๆๆๆๆ😮

  • @สุขุมพิชญากร-ฒ4ม

    ประชาชนจ่ายแพงเอกชนรวยๆๆๆๆโกยลูกเดียว..ควรเป็นของรัฐ100%ครับ

  • @pouritutpungdumrong490
    @pouritutpungdumrong490 3 місяці тому +2

    ใช้เส้นนี้ทีไร❤เหมือนโดนเอาเปรียบ ถ้าไม่รีบจริงๆ ไม่ขึ้นแน่นอนครับ

  • @oxoxox352
    @oxoxox352 3 місяці тому +8

    จากขาดทุน... กลายมากำไรกระจาย... ช่วยกันอย่าใช้เส้นทางนี้เลย​ กำไร40%ขนาดนี้ยอมให้ขึ้นราคาและจะไปต่ออายุสัมปทานเพื่ออะไร

  • @phuangphenpromma1845
    @phuangphenpromma1845 3 місяці тому +4

    ตั้งแต่ สนามกอล์ฟ Pinehurst ถึง ม. ธรรมศาสตร์ หอพัก คอนโด ของ รมต. เกือบหมด

  • @luckluck1176
    @luckluck1176 3 місяці тому +8

    ทำธุรกิจอันใดถ้าเอาแต่ได้ ก็ชั่วมาก

  • @Sankalakiri
    @Sankalakiri 3 місяці тому +10

    บ้านอยู่แถวสโมสรตำรวจ เมื่อก่อนรถไม่ติดมีสะพานลอยข้ามวิภาวดีตลอดตั้งแต่แยกลาดพร้าว บางเขน หลักสี รถจะไม่ติดไฟแดงวิ่งข้ามสะพานได้ มีรถยูเทิร์นใต้สะพานลอยทุกจุด แต่รัฐให้ทุบสะพานบางเขน หลักสี่ เพื่อให้สัมปทานโทลล์เวย์ สมัยทักษิณนี่ล่ะ จำได้ รวมทั้งการขยายอายุสัมปทานด้วย
    อ่านประวัติการให้สัมปทานทางด่วนโทลเวย์ช่วงสมัยทักษิณกดราคาค่าผ่านทางปลายปี2540และโดนฟ้องก่อนถูกปฏิวัติจนมาถึงรัฐบาลใหม่เข้ามา

    • @ninpraphan2010
      @ninpraphan2010 3 місяці тому +5

      21 สิงหาคม 2532 ลงนามสัมปทาน เปิดใช้งาน 14 ธันวาคม 2537 จะเป็นรัฐบาลของดร.ทักษิณได้ยังไงครับ หน้ามืดจำผิดหรือเปล่าครับ

    • @Sankalakiri
      @Sankalakiri 3 місяці тому +1

      สรุปเรื่องเกี่ยวกับดอนเมืองโทลล์เวย์
      โครงการดอนเมืองโทลล์เวย์ มีอายุสัมปทาน 25 ปี เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 สิ้นสุดสัมปทานปี พ.ศ. 2557
      พ.ศ. 2537 เปิดให้บริการช่วงดินแดง-หลักสี่
      พ.ศ. 2539 รัฐบาลขยายอายุสัมปทานเพิ่มอีก 7 ปี โดยจะสิ้นสุดสัมปทานปี 2564 จากเดิมปี 2557 เพราะ
      ไม่สามารถส่งมอบพื้นที่ก่อสร้างได้ตามกำหนดเนื่องจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ไม่ยอมส่งมอบพื้นที่ให้
      พ.ศ. 2541 เปิดให้บริการช่วงหลักสี่-อนุสรณ์สถานแห่งชาติและช่วงอนุสรณ์สถานแห่งชาติ-รังสิต
      พ.ศ. 2549 วอลเตอร์ บาว ได้ยื่นฟ้องรัฐบาลไทยผ่านกระบวนการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศภายใต้
      ความตกลงเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนระหว่างไทย-เยอรมนี ปี พ.ศ. 2545 โดยคณะอนุญาโต
      ตุลาการมีที่ตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ แต่กระบวนการไต่สวนดำเนินการในฮ่องกง โดยอ้างว่า
      ได้รับผลกระทบจากการที่รัฐบาลไทยผิดสัญญาในโครงการก่อสร้างโทลล์เวย์หลายประเด็น เช่น
      1) ไม่อนุมัติให้ปรับขึ้นค่าผ่านทางตามกำหนดในปี 2542 และ ปี 2547
      2) ขอให้ลดค่าผ่านทางตามนี้
      - 20 บาทตลอดสาย (สำหรับรถ 4 ล้อ) และ 50 บาท (สำหรับรถ 6 ล้อขึ้นไป) ในปี 2548
      - 30 บาทตลอดสาย (สำหรับรถ 4 ล้อ) และ 50 บาท (สำหรับรถ 6 ล้อขึ้นไป) ในปี 2549-2550
      - 35 บาท (สำหรับรถ 4 ล้อ) และ 65 บาท (สำหรับรถ 6 ล้อขึ้นไป) ในปี 2550-2552
      (รัฐบาลสมัยนั้นไม่อนุมัติให้ปรับขึ้นค่าผ่านทางในปี 2547 และขอให้ลดค่าผ่านทางในปี 2548-2552
      ตามรายละเอียดด้านบน พูดง่ายๆคือเพิ่งลดราคาได้ไม่ถึง 2 ปี ทาง วอลเตอร์ บาว ก็ยื่นฟ้องในปี 2549)
      ผลพวงจากการที่รัฐเข้ามาแทรกแซงการปรับขึ้นอัตราค่าผ่านทางครั้งนั้น ไม่เพียงแต่จะกลายมาเป็นมูลเหตุ
      ให้บริษัทนำเรื่องขึ้นร้องต่อศาลปกครองและตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อเจรจาชดเชยความเสียหายหลายระลอก
      เท่านั้น แต่กรณีดังกล่าวยังทำให้รัฐบาลต้องแก้ไขสัญญาให้อีกครั้งในปี 2550
      พ.ศ. 2550 รัฐบาลแก้ไขสัญญาขยายอายุสัมปทานเพิ่มอีก 13 ปี โดยสัญญาสัมปทานจะสิ้นสุดในปี 2577
      โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องถอนฟ้องต่ออนุญาโตตุลาการทุกกรณี แต่สุดท้าย วอลเตอร์ บาว ก็ไม่ได้ถอนฟ้อง
      ทั้งๆที่รัฐบาลเยียวยาให้แล้ว
      พ.ศ. 2552 อนุญาโตตุลาการได้มีคำชี้ขาดในวันที่ 1 กรกฎาคม 2552 ระบุว่าประเทศไทยผิดพันธกรณีภายใต้
      ความตกลงและต้องชำระค่าชดเชยจำนวน 29.21 ล้านยูโร พร้อมดอกเบี้ยคำนวณตามอัตราดอกเบี้ยระหว่าง
      ธนาคารในกลุ่มยูโร (6 month successive Euribor) ในอัตรา 2% ต่อปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม 2549
      จนกว่าถึงวันชำระเงินพร้อมทั้งค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีของฝ่ายวอลเตอร์ บาว จำนวน 1,806,560 ยูโร
      รวมทั้งดอกเบี้ยตามอัตราเดียวกับค่าชดเชยความเสียหาย
      (ในสำนักข่าวอิศราระบุไว้ว่า เป็นค่าโง่ 1.2 พันล้านบาทที่ต้องจ่ายให้ทางด่วนดอนเมืองโทลเวย์ เหตุเพราะรัฐ
      ไม่ยอมให้เขาปรับขึ้นค่าทางด่วนตามข้อตกลง ถ้าย้อนขึ้นไปดูด้านบนก็คือปี 2542 กับปี 2547)
      ประเด็นสำคัญก่อนหน้านี้รัฐบาลได้เยียวยาจากที่โทลล์เวย์เรียกค่าชดเชยไปแล้ว เช่น ขยายสัมปทานออกไป
      อีกถึงปี 2577 (ตามสัญญาที่แก้ไขปี 2550) ให้ปรับค่าผ่านทางได้ตามสัญญาเดิม รวมถึงการปรับค่าผ่านทาง
      ขึ้นรถยนต์ 4 ล้อ จาก 55 บาทเป็น 85 บาท (22 ธันวาคม 2552) ส่วนค่าชดเชยรายได้จากการให้ลดค่าผ่าน
      ทางเหลือ 20 บาทตลอดสาย กรมทางหลวงจ่ายชดเชยไปแล้ว 30 ล้านบาท เป็นต้น
      ถึงแม้จะมีคำชี้ขาดจากอนุญาโตตุลาการออกมาแล้วในปี 2552 แต่รัฐบาลไทยไม่ยอมจ่ายเงินให้กับกลุ่มเจ้าหนี้
      ของ วาลเทอร์ เบา ซึ่งล้มละลาย กลุ่มเจ้าหนี้เหล่านั้นก็พยายามตามยึดทรัพย์สินแทนหนี้ ลามปามไปจนขอให้
      ศาลเยอรมนีสั่งอายัด "เครื่องบินพระที่นั่งส่วนพระองค์"
      พ.ศ. 2554 ศาลเยอรมนี มีคำพิพากษาให้ดำเนินการอายัดเครื่องบินส่วนพระองค์เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2554
      ต่อมาศาลเยอรมนีได้ถอนอายัดแต่ให้วางเงินประกัน 20 ล้านยูโร
      พ.ศ. 2555 ศาลอุทธรณ์ในสหรัฐฯ (US 2nd Cir.) วินิจฉัยยืนยันเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2555 ว่าคำชี้ขาดอนุญาโต
      ตุลาการที่ให้ประเทศไทยแพ้คดี "ค่าโง่ทางด่วนดอนเมือง" นั้น กฎหมายสหรัฐฯให้การรับรองได้
      ที่มา:
      topicstock.pantip.com/rajdumnern/topicstock/2012/08/P12512944/P12512944.html
      oknation.nationtv.tv/blog/nun2504/2011/07/28/entry-8
      www.isranews.org/isranews-article/76497-megaproject.html
      th.wikipedia.org/wiki/ทางยกระดับอุตราภิมุข
      www.thairath.co.th/content/465035

    • @Sankalakiri
      @Sankalakiri 3 місяці тому +1

      สรุปเรื่องเกี่ยวกับดอนเมืองโทลล์เวย์
      โครงการดอนเมืองโทลล์เวย์ มีอายุสัมปทาน 25 ปี เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 สิ้นสุดสัมปทานปี พ.ศ. 2557
      พ.ศ. 2537 เปิดให้บริการช่วงดินแดง-หลักสี่
      พ.ศ. 2539 รัฐบาลขยายอายุสัมปทานเพิ่มอีก 7 ปี โดยจะสิ้นสุดสัมปทานปี 2564 จากเดิมปี 2557 เพราะ
      ไม่สามารถส่งมอบพื้นที่ก่อสร้างได้ตามกำหนดเนื่องจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ไม่ยอมส่งมอบพื้นที่ให้
      พ.ศ. 2541 เปิดให้บริการช่วงหลักสี่-อนุสรณ์สถานแห่งชาติและช่วงอนุสรณ์สถานแห่งชาติ-รังสิต
      พ.ศ. 2549 วอลเตอร์ บาว ได้ยื่นฟ้องรัฐบาลไทยผ่านกระบวนการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศภายใต้
      ความตกลงเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนระหว่างไทย-เยอรมนี ปี พ.ศ. 2545 โดยคณะอนุญาโต
      ตุลาการมีที่ตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ แต่กระบวนการไต่สวนดำเนินการในฮ่องกง โดยอ้างว่า
      ได้รับผลกระทบจากการที่รัฐบาลไทยผิดสัญญาในโครงการก่อสร้างโทลล์เวย์หลายประเด็น เช่น
      1) ไม่อนุมัติให้ปรับขึ้นค่าผ่านทางตามกำหนดในปี 2542 และ ปี 2547
      2) ขอให้ลดค่าผ่านทางตามนี้
      - 20 บาทตลอดสาย (สำหรับรถ 4 ล้อ) และ 50 บาท (สำหรับรถ 6 ล้อขึ้นไป) ในปี 2548
      - 30 บาทตลอดสาย (สำหรับรถ 4 ล้อ) และ 50 บาท (สำหรับรถ 6 ล้อขึ้นไป) ในปี 2549-2550
      - 35 บาท (สำหรับรถ 4 ล้อ) และ 65 บาท (สำหรับรถ 6 ล้อขึ้นไป) ในปี 2550-2552
      (รัฐบาลสมัยนั้นไม่อนุมัติให้ปรับขึ้นค่าผ่านทางในปี 2547 และขอให้ลดค่าผ่านทางในปี 2548-2552
      ตามรายละเอียดด้านบน พูดง่ายๆคือเพิ่งลดราคาได้ไม่ถึง 2 ปี ทาง วอลเตอร์ บาว ก็ยื่นฟ้องในปี 2549)
      ผลพวงจากการที่รัฐเข้ามาแทรกแซงการปรับขึ้นอัตราค่าผ่านทางครั้งนั้น ไม่เพียงแต่จะกลายมาเป็นมูลเหตุ
      ให้บริษัทนำเรื่องขึ้นร้องต่อศาลปกครองและตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อเจรจาชดเชยความเสียหายหลายระลอก
      เท่านั้น แต่กรณีดังกล่าวยังทำให้รัฐบาลต้องแก้ไขสัญญาให้อีกครั้งในปี 2550
      พ.ศ. 2550 รัฐบาลแก้ไขสัญญาขยายอายุสัมปทานเพิ่มอีก 13 ปี โดยสัญญาสัมปทานจะสิ้นสุดในปี 2577
      โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องถอนฟ้องต่ออนุญาโตตุลาการทุกกรณี แต่สุดท้าย วอลเตอร์ บาว ก็ไม่ได้ถอนฟ้อง
      ทั้งๆที่รัฐบาลเยียวยาให้แล้ว
      พ.ศ. 2552 อนุญาโตตุลาการได้มีคำชี้ขาดในวันที่ 1 กรกฎาคม 2552 ระบุว่าประเทศไทยผิดพันธกรณีภายใต้
      ความตกลงและต้องชำระค่าชดเชยจำนวน 29.21 ล้านยูโร พร้อมดอกเบี้ยคำนวณตามอัตราดอกเบี้ยระหว่าง
      ธนาคารในกลุ่มยูโร (6 month successive Euribor) ในอัตรา 2% ต่อปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม 2549
      จนกว่าถึงวันชำระเงินพร้อมทั้งค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีของฝ่ายวอลเตอร์ บาว จำนวน 1,806,560 ยูโร
      รวมทั้งดอกเบี้ยตามอัตราเดียวกับค่าชดเชยความเสียหาย
      (ในสำนักข่าวอิศราระบุไว้ว่า เป็นค่าโง่ 1.2 พันล้านบาทที่ต้องจ่ายให้ทางด่วนดอนเมืองโทลเวย์ เหตุเพราะรัฐ
      ไม่ยอมให้เขาปรับขึ้นค่าทางด่วนตามข้อตกลง ถ้าย้อนขึ้นไปดูด้านบนก็คือปี 2542 กับปี 2547)
      ประเด็นสำคัญก่อนหน้านี้รัฐบาลได้เยียวยาจากที่โทลล์เวย์เรียกค่าชดเชยไปแล้ว เช่น ขยายสัมปทานออกไป
      อีกถึงปี 2577 (ตามสัญญาที่แก้ไขปี 2550) ให้ปรับค่าผ่านทางได้ตามสัญญาเดิม รวมถึงการปรับค่าผ่านทาง
      ขึ้นรถยนต์ 4 ล้อ จาก 55 บาทเป็น 85 บาท (22 ธันวาคม 2552) ส่วนค่าชดเชยรายได้จากการให้ลดค่าผ่าน
      ทางเหลือ 20 บาทตลอดสาย กรมทางหลวงจ่ายชดเชยไปแล้ว 30 ล้านบาท เป็นต้น
      ถึงแม้จะมีคำชี้ขาดจากอนุญาโตตุลาการออกมาแล้วในปี 2552 แต่รัฐบาลไทยไม่ยอมจ่ายเงินให้กับกลุ่มเจ้าหนี้
      ของ วาลเทอร์ เบา ซึ่งล้มละลาย กลุ่มเจ้าหนี้เหล่านั้นก็พยายามตามยึดทรัพย์สินแทนหนี้ ลามปามไปจนขอให้
      ศาลเยอรมนีสั่งอายัด "เครื่องบินพระที่นั่งส่วนพระองค์"
      พ.ศ. 2554 ศาลเยอรมนี มีคำพิพากษาให้ดำเนินการอายัดเครื่องบินส่วนพระองค์เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2554
      ต่อมาศาลเยอรมนีได้ถอนอายัดแต่ให้วางเงินประกัน 20 ล้านยูโร
      พ.ศ. 2555 ศาลอุทธรณ์ในสหรัฐฯ (US 2nd Cir.) วินิจฉัยยืนยันเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2555 ว่าคำชี้ขาดอนุญาโต
      ตุลาการที่ให้ประเทศไทยแพ้คดี "ค่าโง่ทางด่วนดอนเมือง" นั้น กฎหมายสหรัฐฯให้การรับรองได้
      ที่มา:
      topicstock.pantip.com/rajdumnern/topicstock/2012/08/P12512944/P12512944.html
      oknation.nationtv.tv/blog/nun2504/2011/07/28/entry-8
      www.isranews.org/isranews-article/76497-megaproject.html
      th.wikipedia.org/wiki/ทางยกระดับอุตราภิมุข
      www.thairath.co.th/content/465035

    • @ninpraphan2010
      @ninpraphan2010 3 місяці тому +1

      @@Sankalakiri เงินแค่ 1,200 ล้านบาท ไม่มีปัญญาจ่าย แต่ไปต่อสัญญาสัมปทานให้เขาอีก 13 ปี เป็นอะไรที่โง่ยิ่งกว่าโง่หรือเปล่าครับ เวลา 13 ปีถ้าเขาขึ้นเป็นเที่ยวละ 500 บาทต่อคัน เขาจะได้เงินแค่ไหนครับ ความสามารถในการต่อรองเป็น 0 หรือเปล่าถึงไก้กลายเป็นค่าโง่สัมปทาน 13 ปี คิดดีๆใครโง่กันแน่ครับ เพราะรัฐก็มีหน้าที่ต้องดูแลประชาชนของตัวเอง ถ้าต้องจ่ายเงินย้อนหลังก็แค่ 1,200 ล้านบาท ซึ่งมองได้ว่าทำเพื่อประชาชน ไม่ใช่นิ่งดูดายปล่อยประชาชนตามยถากรรม ซึ่งตอนนั้นเพิ่งผ่านวิกฤติต้มยำกุ้ง คุณจะให้ประชาชนแบกรับภาระมากมายขนาดไหน
      และแน่จริงก็อย่าแก้ไขข้อความที่ปรักปรำคนอื่นเขา

    • @ninpraphan2010
      @ninpraphan2010 3 місяці тому +1

      เงิน 1,200 ล้านบาทไม่มีปัญญาจ่าย แต่ไปจ่ายเป็นค่าโง่สัมปทาน 13 ปี ไม่รู้ว่าใครโง่กันแน่ ถ้าเขาขึ้นเป็นเที่ยวละ 500 บาทต่อคัน ประชาชนจะเดือดร้อนขนาดไหน เป็นปกติของรัฐอยู่แล้วที่ต้องเขามาดูแลสุขทุกข์ของประชาชน เงิน 1,200 ล้านบาทถ้าจ่ายไปก็มองได้ว่าทำเพื่อประชาชน ซึ่งณ ขณะนั้นเพิ่งผ่านวิกฤติต้มยำกุ้ง ทุกคนมีปัญหารัฐจึงเข้ามาแทรกแซงเพื่อช่วยเหลือประชาชนของตน ถ้ารัฐไม่ยื่นมือเข้ามาช่วยจะปล่อยให้ประชาชนเผชิญกับความยากลำบากตามยถากรรมหรือ รัฐบาล พตท.ดร.ทักษิณ ชินวัฒน์ ก็ทำหน้าที่ของตัวเองเพื่อดูแลประชาชนอย่างดีที่สุด มันควรจะเป็นคำขอบคุณมากกว่า คนที่น่าด่าก็พวกที่ร่างสัญญาสัมปทานให้เค้าอีก 13 ปี ที่ให้เขาสามารถปรับขึ้นอัตราค่าผ่านทางได้โดยไม่ต้องขออนุม้ติ
      แน่จริงก็อย่าแก้ไขข้อความที่ปรักปรำคนอื่น และอย่าลบข้อความผมอีก ขี้เกียจพิมพ์ใหม่
      (2 ข้อความเหมือนกัน)

  • @peemez
    @peemez 3 місяці тому +4

    เหมือนคุยใต้โต๊ะมาแล้ว ค่อยมาแสดงละครต่อหน้านักข่าว

  • @สุภาพรล่ามสมบัติ-ภ7ธ

    ประเทศนี้ขูดรีดกับประชาชนทุกอย่าง!

  • @สามชัยไตรอรชุน

    แม่ง ขึ้นราคา ทุกปี

  • @jokekhab8333
    @jokekhab8333 3 місяці тому +1

    ขอให้ท่านรัฐมนตรี เห็นใจประชาชน อย่าเอื้อภาคเอกชนมากนักท่านมาจากประชาชน ท่านไม่ได้มาจากเอกชน หรือจะให้ประชาชนคิดเป็นอย่างอื่นในสมัยท่านดำรงตำแหน่ง

  • @chunithio2825
    @chunithio2825 3 місяці тому +2

    กำไรหักค่าขยายสัญญาที่ตัองจ่าย ลมต รึยังล่ะ

  • @thada4065
    @thada4065 3 місяці тому +1

    พยายาม ทุกรูปแบบ ให้ ถนนพื้นราบ รถติดคอขวด.....ช่วงเร่งด่วน บางครั้งเลยต้องขึ้นทางด่วน ทำไง ชนชั้นล่าง ต้อง ทน จำยอม

  • @fchina100
    @fchina100 3 місяці тому +2

    เป็นเส้นที่เลี่ยงได้จะเลี่ยงครับแพงมากๆ

  • @manymayreviews1165
    @manymayreviews1165 11 днів тому

    แล้วที่ขึ้นราคา?

  • @gamlin__Siam
    @gamlin__Siam 3 місяці тому +3

    ถ้าไม่รีบจริงๆ จะไม่ขึ้นครับ

  • @cjtt285
    @cjtt285 3 місяці тому +3

    พึ่งกฎหมาย พึ่งใครไม่ได้ พึ่งโซเชี่ยลกดดันดูจะมีความหวังกว่า สื่อเพลาๆเรื่อง มโนสาเร่บ้าง มาช่วยกันเล่นตระกูลนี้ด้วยเถอะ หน้าเงินมาก พานิชชีวะ

    • @teerayutmaingam3770
      @teerayutmaingam3770 3 місяці тому

      โซเชียลก็ทำอะไรไม่ได้ครับ ไม่สนไม่แคร์ ไม่อยากขึ้นก็เชิญตามสบาย

  • @phongpatsupakom7357
    @phongpatsupakom7357 3 місяці тому +1

    ยอมปล่อยให้หมดสัมปทาน เรารักเก็บเงินเองไปเลยยาวๆดีกว่าครับ หรือไม่ก็ให้ประชาชนใช้ฟรีไปเลย

  • @PanomBo
    @PanomBo 3 місяці тому +1

    ไม่ควรขยายสัมปทาน หมดสัญญาควรยึดมาเป็นของรัฐ

  • @ครัวกกแดงชาแนล

    กำไรมันไม่พอใช้ ต้องแบ่งหลายฝ่าย หลายก๊ก หลายก๊วน

  • @ppmobile6937
    @ppmobile6937 3 місяці тому +1

    เมื่อไม่นานมีพณฯกล่าวว่า "ถ้าแพงก็วิ่งข้างล่างได้"

  • @chusakpantai
    @chusakpantai 2 місяці тому

    ปีนี้จะต่อสัมประทานให้เขาอีกมั้ยท่านรัฐมนโท หลังจากเขาประกาศจะขึ้นราคาอีก ต่อสัมประทาตไปเรื่อยทางออกที่รวย

  • @dontreekhrutdilakanan8548
    @dontreekhrutdilakanan8548 3 місяці тому

    ลงทุนเท่าไหร่ บอกข้อมูลลด้วยดิ

  • @kasiditkhamwut2359
    @kasiditkhamwut2359 3 місяці тому +1

    แบบนี้..เราไม่ขยายสัมปทานได้มั้ยครับ😂😂😂

    • @teerayutmaingam3770
      @teerayutmaingam3770 3 місяці тому +1

      เขาแลกการขยายสัมปทานกับการไม่ยอมให้ขึ้นราคา ทำมาหลายรัฐบาล มันเลยยืดจากปี 64 ไปอีกสิบกว่าปี
      พอมายุค คสช ตัดสินใจไม่ขยายสัมปทานให้อีกแล้ว เอกชนก็กอดสัญญาขึ้นราคาอย่างเต็มที่

  • @รุ่งทิวาดุจนาคี-ฦ9ย

    ประชาชนได้อะไรบ้าง

  • @Ekachai_2022
    @Ekachai_2022 3 місяці тому +1

    ลงทุนไปเท่าไร แล้วได้มาเท่าไรแล้ว ยังไม่คุ้มอีกหรอ.

  • @RetinaPig
    @RetinaPig 3 місяці тому

    มันขูดเลือดจากปู !

  • @paulvic55
    @paulvic55 3 місяці тому

    รัฐบาลไทยรักไทยยุคทักษิณ เจรจากับดอนเมืองโทลล์เวย์ ลดค่าผ่านทางเหลือ 20 บาทตลอดสาย เรื่องแบบนี้ก้าวไกลมีปัญญาคิดไหม หรือในหัวมีแต่เรื่องแก้ 112 และนิรโทษกรรมพวกหมิ่นสถาบัน

  • @lzlogoutzzz7654
    @lzlogoutzzz7654 3 місяці тому +1

    กำลังจะหาเรื่องขยายสัมปทานรอบใหม่ ถ้ารัฐมนตรีไม่โกง และมีสมองควรจะคำนวนได้ว่าคุ้มหรือไม่คุ้ม อย่าเอาประชาชนมาเป็นข้ออ้าง "ทำแบบสำรวจความคิดเห็นเหมือนกรณี ทับลานสิ"

  • @yimyamyimyim3539
    @yimyamyimyim3539 3 місяці тому

    แล้วมันยังมีหน้าจะขึ้นราคาอีกนะ
    ไม่ต้องต่อสัมปทานเลยนะ
    ใครเอื้อต่อสัญญาให้นึกไว้ก่อนเลยว่ากินใต้โต๊ะ

  • @hsubasa
    @hsubasa 3 місяці тому

    ทำไมต้องคกใจวะ ก็เขาทำธุรกิจ

  • @piyabutrsantipong4909
    @piyabutrsantipong4909 3 місяці тому +1

    เค้าบังคับให้ปาชนคนใช้รถใช้ขึ้นรึปล่าว