Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
ได้ความรู้ครับ ขอบคุณครับ
อธิบายได้เข้าใจง่าย ขอบคุณค่ะ ลุงช่าง
บ้านผม2ชั้นมีดาดฟ้าที่เชียงราย พ่อใช้ฐานแผ่ ตั้งแต่เชียงรายแผ่นดินไหวครั้งนู้นที่แรงๆจนตอนนี้บ้านก็รอยร้าวๆเพิ่มขึ้นเรื่อยๆมาตลอดเลยครับ ร้าวทั้งหลัง ยังไม่หยุดร้าวเลยครับ พ่อบอกร้าวที่ปูนฉาบ แต่ผมเห็นรอยเพิ่มเรื่อยตลอดแม้ตอนนี้แผ่นดินจะไม่ไหวแล้ว ผมก็เพิ่งมารู้ทีหลังว่าเค้าใช้ฐานแผ่ด้วย
เรื่องรอยร้าวมันมีหลายปัจจัยครับ ไม่ใช่แค่ดิน หรือ ระบบฐานแผ่ เรื่องอุณหภูมิ การขยายตัวของอิฐกับปูนฉาบ เรื่องแรงอีก
พื้นที่เสี่ยงต่อแผ่นดินไหวไม่ควรใช้ฐานแผ่ เพราะเลื่อนไปมาได้ ควรขุดดินออกให้ถึงชั้นหิน แล้วเจาะรู1.25"-1.5" ฝังด้วยเหล็กข้ออ้อยยาว1ม.+กาวอีพ๊อกซี่ 1 นิ้วอย่างต่ำลึก30-50ซม. กันฐากรากเลื่อนไถลตามแรงแผ่นดินไหว ควรปรึกษาอาจารย์ที่คณะวิศวกรรมโยธา จ.เชียงราย
ไม่น่าจะเกี่ยวกับเรื่องฐานแผ่หรือไม่ บ้านผมอยู่พะเยา ใช้ฐานแผ่เหมือนกันครับ แต่ตอนที่ผ่านเหตุการณ์แผ่นดินไหว โครงสร้างคานรับผนังอาจจะวิบัติแล้ว ทำให้รอยร้าวที่ผนังมีการร้าวเพิ่มได้ (กรณีรอยร้าวอยู่กลางผนัง) แต่ถ้ารอยร้าวอยู่ชิดเสา น่าจะเกิดจากเหล็กหนวดกุ้งที่เสา เรื่องรอยร้าว ต้องดูลักษณะและตำแหน่งของการร้าวประกอบด้วยครับ ร้าวผนังไม่น่ากลัวเท่าร้าวที่เสาหรือคานครับ
ฐานแผ่คงไม่ใช่ปัญหาหลักถ้าลึกและกว้างพอ.ปัญหาคงมาจากแผ่นดินไหวแหละครับในไทยแทบไม่มีใครออกแบบบ้านเผื่อแผ่นดินไหวแน่นอน
แผ่นดินไหว คงจะต้่านไม่อยู่ ฐานแผ่น ฐานเสา
โครงสร้างทางธรณีคือคำตอบครับ ของผม แม่ให้ที่ดินใกล้เหมืองหิน กระทั่งฐานแผ่ยังไม่จำเป็นเลยครับ ขุดไปครึ่งเมตรก็เป็นชั้นหินละครับ 55 😅
ขึ้นอยู่กับ นน.สิ่งก่อสร้างด้วยครับ ถ้าสร้างบ้านธรรมดาก็ไม่มีปัญหา แต่ถ้าเป็นตึกสูงก็ต้องนำหินไปตรวจความหนาแน่นครับ
@@asiaflyingcenter4453ในคลิปก็บอกว่าสร้างบ้านครับ ไม่ได้บอกว่าสร้างอาคารครับ
สุดยอดการเปรียบเทียบ
ขอบคุณมากค่ะ เพิ่งเข้าใจ😊
เข้าใจเลยค่ะ สงสัยมาตั้งนาน
ขอบคุณความรู้ที่มีประโยชน์❤
ได้ความรู้มากเลยครับ โครงการบ้านจัดสรรทรุดกันเยอะเพราะถมแล้วสร้างทันทีเพราะจ้องเอาเงินอย่างเดียว ชายคาบ้านห่างกันแค่คืบเทศบาลก็ปล่อยผ่านได้
มั่วเปล่าครับ ที่ทรุดคือดินรอบบ้าน ไม่เห็นหรือครับ มีโพรงใต้บ้าน ถ้าบ้านทรุดโพรงใต้บ้านก๋ไม่เกิดซิครับ
ทรุดตรงส่วนดินถมไงครับ ตัวบ้านลอยอยู่ เพราะนั่งอยู่บนเสาเข็ม ข้างล่างเลยเป็นโพรงให้สัตว์ต่างๆ เข้าไปอยู่ได้
ชายคาห่างกันแค่คืบ ต้องดูว่าเป็นบ้านแฝด หรือทาวน์เฮ้าส์รึเปล่าครับ
@ คำว่าห่างกันแค่คืบเป็นคำเปรียบเปรยครับ ความจริงห่างกันไม่ถึงสี่เมตรมันผิดแต่เจ้าพนักงานท้องถิ่นก็อนุญาตให้สร้างได้ ทั้งที่ความจริงทำไม่ได้แต่ก็เห็นสร้างกันแบบเป็นเรื่องปกติ
เสาเข้มลงเป็นฐานที่แน่นๆ เทคาน
แล้วแต่พื้นที่ครับแถวไปกรุงเทพต้องใช้เสาเข็ม เชียงใหม่ใช้ฐานแผก็ได้ครับ
❤❤❤ขอบคุณมากครับลุงช่าง 🎉🎉🎉
อลังการความรู้ประดับบารมีอาจารย์ 😘😘😘🙏
ขอบคุณค่ะ
ชลบุรีบ้านผม ตอกเข็มสองเมตรก็แทบไม่ลงแล้วครับ เวลาเห็นตอกเยอะ ๆ ตามโครงการต่าง ๆ จะมีประมาณ 60% ที่ลงแค่สองเมตรหรือน่อยกว่า มีบางต้นที่ตอกได้ลึกกว่านั้น ใช้เข็มสั้นสุดแล้ว ยังเหลือบานเลยไม่นิยมตอก นิยมฐานแผ่ ชุดเอายังจะลึกกว่าตอกเลยมั้ง
ผมอยู่ที่ระยอง ไปถามทางจนท. บอกใช้ฐานแผ่กันมาก ดินภาคตอ.อาจมีคุณสมบัติใก้ลเคียงกัน ถามว่ามีหลังใดร้างไหม ตอบว่ามีบ้าง มีอะไรแนะนำผมด้วยนะครับ กำลังจะสร้างบ้าน
ขอบคุณความรู้ที่ได้ครับ
แล้วแต่ดินว่าสภาพเป็นยังไง ถ้าแถวบ้านภาคอีสานสร้าชั้นเดียวเล็กๆๆเทเเค่เสาตอม่อเล็กๆและคานคอดินพอ
ลุงช่างครับ- ถ้าฝั่งเสาเข็มดินเดิม(สีน้ำตาลอ่อน) ทรุดด้วยมันจะมีผลต่อความสามารถในการรับน้ำหนัก(แรงต้านสีเขียว)หรือเปล่าครับ- จะรู้ได้อย่างไรว่าดินแต่ละชั้นมีความสามารถในการรับน้ำหนักเท่าไหร่ครับ
เจอบางโครงการใช้เสาเข็มลงแม้กระทั่งโรงจอดรถ แล้วนานวันเข้าดินรอบบ้านทรุด พื้นถนนทรุด บ้านลอยอยู่ที่เดิมเอารถขึ้นจอดหน้าบ้านไม่ได้เลย มันสูงต่างกันมากจนไม่สามารถทำสโลปได้ บางทีเสาเข็มก็มีจุดด้อยได้เหมือนกันครับ
ขอบคุณ ค่ะ
แล้วแต่ดิน แต่ละพื้นที่ บ้านเอื้อคลองสิบ 10/2 ถมดิตตมบนดินตม อีกที ช่างบอกเข็ม8เมตรจุดละ6ต้น แล้วทำฐานแผ่อีก อยู่ยังไงก็อยู่ แถวนี้ทำมาหลายบ้านแล้ว เรียบร้อยครับ ทรุด... แต่ตัวเสาเข็มบ้านหลัก ต้นใหญ่ ไม่เป็นไร แต่ที่ต่อเติมข้างๆรอบบ้าน เริ่มทรุดแล้ว ชะลอการทรุดมาได้สิบปี
แล้วตึกสูง ๆ 100ชั้น เขาทำยังไงหละครับ
มีคำถามเลยครับว่า แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าดินมีความสามารถรับน้ำหนักได้เท่าไหร่
สำรวจดินก่อนสร้างครับ
แล้วค่าใช้ค่าใช้จ่ายของทั้งสองระบบละครับ อาจารย์ เท่ากันหรือต่างกันขนาดไหน เพราะถ้าฐานแผ่ถูกกว่ามากๆ ก็ยอมสร้างบ้านสูงกว่าปกติ เผื่อยุบเรื่อยๆ อย่างน้อยก็ไม่ให้ต่ำกว่าถนน อารมณ์คือ สร้างบ้านยังไงก็คงไม่ให้ต่ำกว่าถนน หรือควรสูงกว่าถนนอย่างน้อย 1 เมตร เพราะถนนถมสูงเพิ่มตลอด
เลือกตามดินตรงที่จะปลูกบ้าน
แถวบ้านถมดินสูงตั้ง2-3เมตรถมเสร็จก็สร้างบ้านเลยแต่เขาตอกเสาเข็มนะ นี่ก็5-6ปีแล้วไม่เห็นมีปัญหาบ้านหลังใหญ่กว่าที่เป็นข่าวอีก แต่แถวบ้านเราน้ำไม่ท่วม
ต้องถามยอมจ่าย มีจ่ายเพิ่มไหม
ยังมีเรื่องการต้านลมพายุด้วยไหมครับ สถานที่ลมแรงถ้าเป็นเสาเข็ม บ้านก็จะแข็งแรงต้านลมได้ดีกว่าไหมครับ
ไม่เกี่ยวมากครับ ฐานแผ่ถ้าดินเหนือฐานมีน้ำหนักมากพอ ก็จะกดฐานไว้ไม่ให้พลิกได้ คล้ายกันในกรณีเสาเข็มถ้าตัวเสาเข็มไม่ได้ใส่เหล็กรับแรงดึง เสาเข็มก็วิบัติได้ ทั้งหมดข้างต้นวิศวกรเป็นผู้คำนวนครับเพิ่มเติม การทรุดตัวที่ไม่เท่ากันของฐานบ้านแต่ละฐานน่ากลัวที่สุดครับ ถ้าทรุดเท่ากันทุกฐานไม่น่ากลัว
คิดอะไรมากมาย สนใจที่พื้นดีกว่า ถ้า พื้นวางบนดินก็จบๆไป แต่ถ้าพื้นวางบนคาน เพื่อความมั่นใจก็ตอกเข็มไป ปัญหาได้จบๆมานั่งคิดมากอยู่ได้
ตอกไม่ลง
@ยังมีพรุ่งนี้ให้เดินต่อ โบว์เคา ก็มีเช็คดิ จะเอาสูตรไหน เอาสักสูตร
ฐานแผ่มันถูกกว่าเสาเข็ม คนเลยเน้นประหยัดไปใช้ฐานแผ่ สำหรับบ้านผมยอมจ่ายแพงอีกหน่อยเพื่อใช้เข็มตอก สิ่งที่ได้กลับมาคุ้มค่ามากครับ
บางทีเสาเข็มยาว3 เมตรตอกลงแค่เมตรเดียวครับ อีก2 เมตรตัดทิ้งเสียของเปล่าๆ
ฐานเข็มดีกว่า
มันมีข้อดีและข้อเสียนะ พื้นดินของตัวบ้านหลังที่ 2 จะเป็นโพรงเมื่อระยะเวลาผ่านไป..
ฐานแบบเสาเข็มน่าจะใช้ต้นทุนสูงกว่าฐานแผ่พอสมควรเลยครับ
ลุงช่างครับขอความรู้ครับสร้างบ้านด้วยโครงสร้างเหล็กรอยเชื่อเหล็กกล่องที่ใช้ด้านนอกทาสีกันสนิมส่วนด้านในเหล็กจะเป็นสนิมไหมครับ
ราคาเป็นยังไงบ้างครับแบบไหนถูก แบบไหนแพงครับถ้ายึดเอาตามตัวอย่างที่ลุงช่างให้มา
เข้าใจว่าตามพื้นที่นะครับ แต่ละพื้นที่มีระยะความลึกดินไม่เท่ากัน ยังไงรอวิศวะกรมาตอบอีกทีนะครับ
คิดแบบง่ายๆเลยครับ ถ้าตอกเสาเข็มคืดไปคล่าวๆเพิ่มต้นละ 10,000 บาทครับ
@@GOLFGTC จ่ายตังเพิ่ม 35 บาท แล้วเข้าไปดู ep6 ครับ แกบอกไว้
แบบเข็มใช้งบก่อสร้างสูงกว่าแบบฐานแผ่กี่%ครับ
เสาเข็มครับผม
มันก็ต้อง ดูโครงสร้าง และพื้นที่ว่าอยู่ในพื้นที่ๆมีดินชนิดไหน ดินแข็ง รับ นน.ได้ปลอดภัย ก็ใช้ฐานแผ่ แต่ถ้าเป็นดินอ่อนรับ นน.ไมปลอดภัย ก็ใช้ฐาน เสาเข็ม และต้องวิเคราะห์ดินด้วย ว่าจะใช้เสาเข็มชนิดไหนจึงจะปลอดภัย
แบบนี้เสาเข็มแบบเหล็กเกลียว ก็จะมีแรงสีเขียวมากกว่าเสาเข็มแบบแท่งตรงๆใช่มั้ยครับ
แล้วด้านลาคาละครับ
30ปีเห็นผลครับ
ถ้าซื้อบ้านโครงการเราจะรู้ได้ยังไงบ้างครับ ว่าดินเดิมคือตรงไหนหรือเค้าถมมาสูงเท่าไหร่
พอแบบ A ถล่ม ก็จะโดนว่า ๆ ทำไมสร้างบ้านไม่ตอกเสาเข็ม 😂😂😂
แล้วพื้นดินก็จะเป็นโพรงด้วยใช้ใหมครับเพราะ10ปีไปแล้วดินจะดินใหนก็จะยุบลง5-10ซม.
แล้วแต่งบ😂
สรุปมันเกี่ยวกับว่าเราฝากวางเข็มฐานรากไว้ในดินแบบไหนมากกว่ารึเปล่าคะ? ถ้าเป็นฐานรากแต่วางบนดินดานมันก็น่าจะแข็งแรงกว่าเสาเข็มที่วางดินเดิม ? ไม่ได้ขึ้นอยู่กับรูปแบบฐานราก แต่ขึ้นอยู่กับดินที่ฝากฐานรากไว้?
ไม่ใช่ครับ ต้องใช้คำว่า “อยู่ที่ฐานรากถ่ายน้ำหนักบรรทุกไปที่ดินชั้นไหน” ฐานแผ่น้ำหนักบรรทุกถ่ายลงดินใต้ฐานราก แต่ฐานแบบเสาเข็ม น้ำหนักบรรทุกจะถ่ายจากฐานผ่านเสาเข็มลงไปที่ดินใต้เสาเข็ม และยังมีแรงเสียดทานของดินที่รอบเสาเข็มด้วย
@norasaitchotikul9326 ดิชั้นหมายความแบบเดียวกับคุณเลยค่า แต่อาจเขียนงงๆไปนิดค่า ขอบคุณสำหรับคำอธิบายนะคะ 🙏👌
มันอยู่ที่โครงสร้างดิน
ดินถมอาจจะเกี่ยวนะครับ ไม่ได้เกี่ยวกับตัวบ้าน แต่เป็นพื้นที่ใช้สอยรอบตัวบ้าน เช่น ลานหน้าบ้าน โรงจอดรถ สวนหย่อม ถึงแม้ตัวบ้านจะไม่ทรุด แต่พวกพื้นที่ข้างต้น จะแสดงให้เห็นเลยว่าดินทรุดแต่ก็เข้าใจนะครับว่าคลิปนี้ต้องการกล่าวถึงตัวบ้านและโครงสร้างส่วนรับน้ำหนักเท่านั้น
ลงช่างจบวิศวะมาได้ไง
ถ้าเจ้าของบ้านไม่ใช่วิศวกรโครงสร้างก็เลือกเองไม่ได้แน่นอน อย่ามั่วจะดีกว่า
ถ้าตัวบ้านใช้เสาเข็มยาวแล้วส่วนที่ต่อเติมดันใช้เสาแบบฐานแผ่ นานวันเข้าผ่านไปหลายปีดินทรุดตัวลงเรื่อยๆ จะเกิดอะไรขึ้น ทุกคนลองคิดตาม 😅😅
สมัยก่อนทำงานก่อสร้างกับน้าต้องทำบ้านบนดินถมซึ่งถมสูงมาก.เลยต้องขุดลงไปเกือบ3เมตรในบางหลุมเพื่อทำฐานแผ่กว้าง150x150ลึก120เซ็นจากดินเดิม.ไม่พอใต้ฐานต้องขุดหล่อเข็มอีก5ต้นลึกลงไปอีก150เซ็นจากใต้ฐาน.น่าจะเป็นบ้านที่ขุดหลุมทำฐานลึกที่สุดตั้งแต่ทำมา
ผมเอาแบบที่สองเพราะผมกลัวลมแรงมันจะโค่นในแบบหนึ่ง แบบสองยิ่งนานยิ่งแน่นเพราะดินรอบเสาเข็มจะทรุดลงและบีบอัดรอบเสาเข็มให้แน่นขึ้น
แล้วแต่โครงสร้างดินและอาคารที่จะก่อสร้างเลย
บ้านที่ระยองซื้อต่อมาครับไม่ได้สร้างเอง ถ้าสร้างเองก็ลงเสาเข็มแน่นอนพื้นที่ติดคลองธรรมชาติแบบนั้น
จะรู้ได้ยังไงครับว่าดินรับน้ำหนักได้เท่าไหร่
เจาะสำรวจครับ ถ้าไม่เจาะ ก็ไปหาแผนที่ธรณีวิทยามาดู เพื่อประมาณการได้ มันจะมีคนที่เขาเจาะสำรวจมาแล้ว เอาที่ใกล้เคียงพื้นที่เราที่สุด แล้วใช้ประมาณการ soil profile ได้ แต่ให้ดีที่สุดทำการสำรวจดีกว่า มันมีหลายวิธี ถ้าจะหาเรื่องกำลังแบกทานของดิน ก็ทำ penetration test อย่างเดียว แต่ที่อยากให้ดูเพิ่มคือค่า กรดด่างของดิน มันจะทำให้ฐานรากวิบัติจากสาเหตุการกัดกร่อนได้ด้วย
มันอยู่ทึ่ดินแข็งดินอ่อนแต่ละพื้นที่
ฝังฐานในแผ่นเปลือกโลกไม่ใช่ฝังดินถ่มใช่มัยคะลุงช่าง
มันแล้วแต่พื้นที่และแบบบ้านครับอย่างบ้านผมอยู่หนองคายภาคอีสานดินเก่าแน่นมากใช้ฐานแผ่ก็พอหากสร้างบ้านชั้นเดียวไม่จำเป็นต้องตอกเข็มแต่หากไปปลูกแบบเดียวกันที่สมุทรปราการหากใช้ฐานแผ่ไม่ตอกเข็นรับประกันบรรลัยแน่นอนครับ😂😂😂😂
ได้ความรู้ครับ ขอบคุณครับ
อธิบายได้เข้าใจง่าย ขอบคุณค่ะ ลุงช่าง
บ้านผม2ชั้นมีดาดฟ้าที่เชียงราย พ่อใช้ฐานแผ่ ตั้งแต่เชียงรายแผ่นดินไหวครั้งนู้นที่แรงๆจนตอนนี้บ้านก็รอยร้าวๆเพิ่มขึ้นเรื่อยๆมาตลอดเลยครับ ร้าวทั้งหลัง ยังไม่หยุดร้าวเลยครับ พ่อบอกร้าวที่ปูนฉาบ แต่ผมเห็นรอยเพิ่มเรื่อยตลอดแม้ตอนนี้แผ่นดินจะไม่ไหวแล้ว ผมก็เพิ่งมารู้ทีหลังว่าเค้าใช้ฐานแผ่ด้วย
เรื่องรอยร้าวมันมีหลายปัจจัยครับ ไม่ใช่แค่ดิน หรือ ระบบฐานแผ่ เรื่องอุณหภูมิ การขยายตัวของอิฐกับปูนฉาบ เรื่องแรงอีก
พื้นที่เสี่ยงต่อแผ่นดินไหวไม่ควรใช้ฐานแผ่ เพราะเลื่อนไปมาได้ ควรขุดดินออกให้ถึงชั้นหิน แล้วเจาะรู1.25"-1.5" ฝังด้วยเหล็กข้ออ้อยยาว1ม.+กาวอีพ๊อกซี่ 1 นิ้วอย่างต่ำลึก30-50ซม. กันฐากรากเลื่อนไถลตามแรงแผ่นดินไหว ควรปรึกษาอาจารย์ที่คณะวิศวกรรมโยธา จ.เชียงราย
ไม่น่าจะเกี่ยวกับเรื่องฐานแผ่หรือไม่ บ้านผมอยู่พะเยา ใช้ฐานแผ่เหมือนกันครับ แต่ตอนที่ผ่านเหตุการณ์แผ่นดินไหว โครงสร้างคานรับผนังอาจจะวิบัติแล้ว ทำให้รอยร้าวที่ผนังมีการร้าวเพิ่มได้ (กรณีรอยร้าวอยู่กลางผนัง) แต่ถ้ารอยร้าวอยู่ชิดเสา น่าจะเกิดจากเหล็กหนวดกุ้งที่เสา
เรื่องรอยร้าว ต้องดูลักษณะและตำแหน่งของการร้าวประกอบด้วยครับ ร้าวผนังไม่น่ากลัวเท่าร้าวที่เสาหรือคานครับ
ฐานแผ่คงไม่ใช่ปัญหาหลักถ้าลึกและกว้างพอ.ปัญหาคงมาจากแผ่นดินไหวแหละครับในไทยแทบไม่มีใครออกแบบบ้านเผื่อแผ่นดินไหวแน่นอน
แผ่นดินไหว คงจะต้่านไม่อยู่ ฐานแผ่น ฐานเสา
โครงสร้างทางธรณีคือคำตอบครับ ของผม แม่ให้ที่ดินใกล้เหมืองหิน กระทั่งฐานแผ่ยังไม่จำเป็นเลยครับ ขุดไปครึ่งเมตรก็เป็นชั้นหินละครับ 55 😅
ขึ้นอยู่กับ นน.สิ่งก่อสร้างด้วยครับ ถ้าสร้างบ้านธรรมดาก็ไม่มีปัญหา แต่ถ้าเป็นตึกสูงก็ต้องนำหินไปตรวจความหนาแน่นครับ
@@asiaflyingcenter4453ในคลิปก็บอกว่าสร้างบ้านครับ ไม่ได้บอกว่าสร้างอาคารครับ
สุดยอดการเปรียบเทียบ
ขอบคุณมากค่ะ เพิ่งเข้าใจ😊
เข้าใจเลยค่ะ สงสัยมาตั้งนาน
ขอบคุณความรู้ที่มีประโยชน์❤
ได้ความรู้มากเลยครับ โครงการบ้านจัดสรรทรุดกันเยอะเพราะถมแล้วสร้างทันทีเพราะจ้องเอาเงินอย่างเดียว ชายคาบ้านห่างกันแค่คืบเทศบาลก็ปล่อยผ่านได้
มั่วเปล่าครับ ที่ทรุดคือดินรอบบ้าน ไม่เห็นหรือครับ มีโพรงใต้บ้าน ถ้าบ้านทรุดโพรงใต้บ้านก๋ไม่เกิดซิครับ
ทรุดตรงส่วนดินถมไงครับ ตัวบ้านลอยอยู่ เพราะนั่งอยู่บนเสาเข็ม ข้างล่างเลยเป็นโพรงให้สัตว์ต่างๆ เข้าไปอยู่ได้
ชายคาห่างกันแค่คืบ ต้องดูว่าเป็นบ้านแฝด หรือทาวน์เฮ้าส์รึเปล่าครับ
@ คำว่าห่างกันแค่คืบเป็นคำเปรียบเปรยครับ ความจริงห่างกันไม่ถึงสี่เมตรมันผิดแต่เจ้าพนักงานท้องถิ่นก็อนุญาตให้สร้างได้ ทั้งที่ความจริงทำไม่ได้แต่ก็เห็นสร้างกันแบบเป็นเรื่องปกติ
เสาเข้มลงเป็นฐานที่แน่นๆ เทคาน
แล้วแต่พื้นที่ครับแถวไปกรุงเทพต้องใช้เสาเข็ม เชียงใหม่ใช้ฐานแผก็ได้ครับ
❤❤❤ขอบคุณมากครับลุงช่าง 🎉🎉🎉
อลังการความรู้ประดับบารมีอาจารย์ 😘😘😘🙏
ขอบคุณค่ะ
ชลบุรีบ้านผม ตอกเข็มสองเมตรก็แทบไม่ลงแล้วครับ
เวลาเห็นตอกเยอะ ๆ ตามโครงการต่าง ๆ จะมีประมาณ 60% ที่ลงแค่สองเมตรหรือน่อยกว่า มีบางต้นที่ตอกได้ลึกกว่านั้น ใช้เข็มสั้นสุดแล้ว ยังเหลือบาน
เลยไม่นิยมตอก นิยมฐานแผ่ ชุดเอายังจะลึกกว่าตอกเลยมั้ง
ผมอยู่ที่ระยอง ไปถามทางจนท. บอกใช้ฐานแผ่กันมาก ดินภาคตอ.อาจมีคุณสมบัติใก้ลเคียงกัน ถามว่ามีหลังใดร้างไหม ตอบว่ามีบ้าง มีอะไรแนะนำผมด้วยนะครับ กำลังจะสร้างบ้าน
ขอบคุณความรู้ที่ได้ครับ
แล้วแต่ดินว่าสภาพเป็นยังไง ถ้าแถวบ้านภาคอีสานสร้าชั้นเดียวเล็กๆๆเทเเค่เสาตอม่อเล็กๆและคานคอดินพอ
ลุงช่างครับ
- ถ้าฝั่งเสาเข็ม
ดินเดิม(สีน้ำตาลอ่อน) ทรุดด้วย
มันจะมีผลต่อความสามารถในการรับน้ำหนัก(แรงต้านสีเขียว)หรือเปล่าครับ
- จะรู้ได้อย่างไรว่าดินแต่ละชั้นมีความสามารถในการรับน้ำหนักเท่าไหร่ครับ
เจอบางโครงการใช้เสาเข็มลงแม้กระทั่งโรงจอดรถ แล้วนานวันเข้าดินรอบบ้านทรุด พื้นถนนทรุด บ้านลอยอยู่ที่เดิมเอารถขึ้นจอดหน้าบ้านไม่ได้เลย มันสูงต่างกันมากจนไม่สามารถทำสโลปได้ บางทีเสาเข็มก็มีจุดด้อยได้เหมือนกันครับ
ขอบคุณ ค่ะ
แล้วแต่ดิน แต่ละพื้นที่ บ้านเอื้อคลองสิบ 10/2 ถมดิตตมบนดินตม อีกที ช่างบอกเข็ม8เมตรจุดละ6ต้น แล้วทำฐานแผ่อีก อยู่ยังไงก็อยู่ แถวนี้ทำมาหลายบ้านแล้ว เรียบร้อยครับ ทรุด... แต่ตัวเสาเข็มบ้านหลัก ต้นใหญ่ ไม่เป็นไร แต่ที่ต่อเติมข้างๆรอบบ้าน เริ่มทรุดแล้ว ชะลอการทรุดมาได้สิบปี
แล้วตึกสูง ๆ 100ชั้น เขาทำยังไงหละครับ
มีคำถามเลยครับว่า แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าดินมีความสามารถรับน้ำหนักได้เท่าไหร่
สำรวจดินก่อนสร้างครับ
แล้วค่าใช้ค่าใช้จ่ายของทั้งสองระบบละครับ อาจารย์ เท่ากันหรือต่างกันขนาดไหน
เพราะถ้าฐานแผ่ถูกกว่ามากๆ ก็ยอมสร้างบ้านสูงกว่าปกติ เผื่อยุบเรื่อยๆ อย่างน้อยก็ไม่ให้ต่ำกว่าถนน
อารมณ์คือ สร้างบ้านยังไงก็คงไม่ให้ต่ำกว่าถนน หรือควรสูงกว่าถนนอย่างน้อย 1 เมตร เพราะถนนถมสูงเพิ่มตลอด
เลือกตามดินตรงที่จะปลูกบ้าน
แถวบ้านถมดินสูงตั้ง2-3เมตรถมเสร็จก็สร้างบ้านเลยแต่เขาตอกเสาเข็มนะ นี่ก็5-6ปีแล้วไม่เห็นมีปัญหาบ้านหลังใหญ่กว่าที่เป็นข่าวอีก แต่แถวบ้านเราน้ำไม่ท่วม
ต้องถามยอมจ่าย มีจ่ายเพิ่มไหม
ยังมีเรื่องการต้านลมพายุด้วยไหมครับ สถานที่ลมแรงถ้าเป็นเสาเข็ม บ้านก็จะแข็งแรงต้านลมได้ดีกว่าไหมครับ
ไม่เกี่ยวมากครับ ฐานแผ่ถ้าดินเหนือฐานมีน้ำหนักมากพอ ก็จะกดฐานไว้ไม่ให้พลิกได้ คล้ายกันในกรณีเสาเข็มถ้าตัวเสาเข็มไม่ได้ใส่เหล็กรับแรงดึง เสาเข็มก็วิบัติได้ ทั้งหมดข้างต้นวิศวกรเป็นผู้คำนวนครับ
เพิ่มเติม การทรุดตัวที่ไม่เท่ากันของฐานบ้านแต่ละฐานน่ากลัวที่สุดครับ ถ้าทรุดเท่ากันทุกฐานไม่น่ากลัว
คิดอะไรมากมาย สนใจที่พื้นดีกว่า ถ้า พื้นวางบนดินก็จบๆไป แต่ถ้าพื้นวางบนคาน เพื่อความมั่นใจก็ตอกเข็มไป ปัญหาได้จบๆ
มานั่งคิดมากอยู่ได้
ตอกไม่ลง
@ยังมีพรุ่งนี้ให้เดินต่อ โบว์เคา ก็มีเช็คดิ จะเอาสูตรไหน เอาสักสูตร
ฐานแผ่มันถูกกว่าเสาเข็ม คนเลยเน้นประหยัดไปใช้ฐานแผ่ สำหรับบ้านผมยอมจ่ายแพงอีกหน่อยเพื่อใช้เข็มตอก สิ่งที่ได้กลับมาคุ้มค่ามากครับ
บางทีเสาเข็มยาว3 เมตรตอกลงแค่เมตรเดียวครับ อีก2 เมตรตัดทิ้งเสียของเปล่าๆ
ฐานเข็มดีกว่า
มันมีข้อดีและข้อเสียนะ พื้นดินของตัวบ้านหลังที่ 2 จะเป็นโพรงเมื่อระยะเวลาผ่านไป..
ฐานแบบเสาเข็มน่าจะใช้ต้นทุนสูงกว่าฐานแผ่พอสมควรเลยครับ
ลุงช่างครับขอความรู้ครับสร้างบ้านด้วยโครงสร้างเหล็กรอยเชื่อเหล็กกล่องที่ใช้ด้านนอกทาสีกันสนิมส่วนด้านในเหล็กจะเป็นสนิมไหมครับ
ราคาเป็นยังไงบ้างครับ
แบบไหนถูก แบบไหนแพงครับ
ถ้ายึดเอาตามตัวอย่างที่ลุงช่างให้มา
เข้าใจว่าตามพื้นที่นะครับ แต่ละพื้นที่มีระยะความลึกดินไม่เท่ากัน ยังไงรอวิศวะกรมาตอบอีกทีนะครับ
คิดแบบง่ายๆเลยครับ ถ้าตอกเสาเข็มคืดไปคล่าวๆเพิ่มต้นละ 10,000 บาทครับ
@@GOLFGTC จ่ายตังเพิ่ม 35 บาท แล้วเข้าไปดู ep6 ครับ แกบอกไว้
แบบเข็มใช้งบก่อสร้างสูงกว่าแบบฐานแผ่กี่%ครับ
เสาเข็มครับผม
มันก็ต้อง ดูโครงสร้าง และพื้นที่ว่าอยู่ในพื้นที่ๆมีดินชนิดไหน ดินแข็ง รับ นน.ได้ปลอดภัย ก็ใช้ฐานแผ่ แต่ถ้าเป็นดินอ่อนรับ นน.ไมปลอดภัย ก็ใช้ฐาน เสาเข็ม และต้องวิเคราะห์ดินด้วย ว่าจะใช้เสาเข็มชนิดไหนจึงจะปลอดภัย
แบบนี้เสาเข็มแบบเหล็กเกลียว ก็จะมีแรงสีเขียวมากกว่าเสาเข็มแบบแท่งตรงๆใช่มั้ยครับ
แล้วด้านลาคาละครับ
30ปีเห็นผลครับ
ถ้าซื้อบ้านโครงการเราจะรู้ได้ยังไงบ้างครับ ว่าดินเดิมคือตรงไหนหรือเค้าถมมาสูงเท่าไหร่
พอแบบ A ถล่ม ก็จะโดนว่า ๆ ทำไมสร้างบ้านไม่ตอกเสาเข็ม 😂😂😂
แล้วพื้นดินก็จะเป็นโพรงด้วยใช้ใหมครับเพราะ10ปีไปแล้วดินจะดินใหนก็จะยุบลง5-10ซม.
แล้วแต่งบ😂
สรุปมันเกี่ยวกับว่าเราฝากวางเข็มฐานรากไว้ในดินแบบไหนมากกว่ารึเปล่าคะ? ถ้าเป็นฐานรากแต่วางบนดินดานมันก็น่าจะแข็งแรงกว่าเสาเข็มที่วางดินเดิม ? ไม่ได้ขึ้นอยู่กับรูปแบบฐานราก แต่ขึ้นอยู่กับดินที่ฝากฐานรากไว้?
ไม่ใช่ครับ ต้องใช้คำว่า “อยู่ที่ฐานรากถ่ายน้ำหนักบรรทุกไปที่ดินชั้นไหน” ฐานแผ่น้ำหนักบรรทุกถ่ายลงดินใต้ฐานราก แต่ฐานแบบเสาเข็ม น้ำหนักบรรทุกจะถ่ายจากฐานผ่านเสาเข็มลงไปที่ดินใต้เสาเข็ม และยังมีแรงเสียดทานของดินที่รอบเสาเข็มด้วย
@norasaitchotikul9326 ดิชั้นหมายความแบบเดียวกับคุณเลยค่า แต่อาจเขียนงงๆไปนิดค่า ขอบคุณสำหรับคำอธิบายนะคะ 🙏👌
มันอยู่ที่โครงสร้างดิน
ดินถมอาจจะเกี่ยวนะครับ ไม่ได้เกี่ยวกับตัวบ้าน แต่เป็นพื้นที่ใช้สอยรอบตัวบ้าน เช่น ลานหน้าบ้าน โรงจอดรถ สวนหย่อม
ถึงแม้ตัวบ้านจะไม่ทรุด แต่พวกพื้นที่ข้างต้น จะแสดงให้เห็นเลยว่าดินทรุด
แต่ก็เข้าใจนะครับว่าคลิปนี้ต้องการกล่าวถึงตัวบ้านและโครงสร้างส่วนรับน้ำหนักเท่านั้น
ลงช่างจบวิศวะมาได้ไง
ถ้าเจ้าของบ้านไม่ใช่วิศวกรโครงสร้างก็เลือกเองไม่ได้แน่นอน อย่ามั่วจะดีกว่า
ถ้าตัวบ้านใช้เสาเข็มยาวแล้วส่วนที่ต่อเติมดันใช้เสาแบบฐานแผ่ นานวันเข้าผ่านไปหลายปีดินทรุดตัวลงเรื่อยๆ จะเกิดอะไรขึ้น ทุกคนลองคิดตาม 😅😅
สมัยก่อนทำงานก่อสร้างกับน้าต้องทำบ้านบนดินถมซึ่งถมสูงมาก.เลยต้องขุดลงไปเกือบ3เมตรในบางหลุมเพื่อทำฐานแผ่กว้าง150x150ลึก120เซ็นจากดินเดิม.ไม่พอใต้ฐานต้องขุดหล่อเข็มอีก5ต้นลึกลงไปอีก150เซ็นจากใต้ฐาน.น่าจะเป็นบ้านที่ขุดหลุมทำฐานลึกที่สุดตั้งแต่ทำมา
ผมเอาแบบที่สองเพราะผมกลัวลมแรงมันจะโค่นในแบบหนึ่ง แบบสองยิ่งนานยิ่งแน่นเพราะดินรอบเสาเข็มจะทรุดลงและบีบอัดรอบเสาเข็มให้แน่นขึ้น
แล้วแต่โครงสร้างดินและอาคารที่จะก่อสร้างเลย
บ้านที่ระยองซื้อต่อมาครับไม่ได้สร้างเอง ถ้าสร้างเองก็ลงเสาเข็มแน่นอนพื้นที่ติดคลองธรรมชาติแบบนั้น
จะรู้ได้ยังไงครับว่าดินรับน้ำหนักได้เท่าไหร่
เจาะสำรวจครับ ถ้าไม่เจาะ ก็ไปหาแผนที่ธรณีวิทยามาดู เพื่อประมาณการได้ มันจะมีคนที่เขาเจาะสำรวจมาแล้ว เอาที่ใกล้เคียงพื้นที่เราที่สุด แล้วใช้ประมาณการ soil profile ได้ แต่ให้ดีที่สุดทำการสำรวจดีกว่า มันมีหลายวิธี ถ้าจะหาเรื่องกำลังแบกทานของดิน ก็ทำ penetration test อย่างเดียว แต่ที่อยากให้ดูเพิ่มคือค่า กรดด่างของดิน มันจะทำให้ฐานรากวิบัติจากสาเหตุการกัดกร่อนได้ด้วย
มันอยู่ทึ่ดินแข็งดินอ่อนแต่ละพื้นที่
ฝังฐานในแผ่นเปลือกโลกไม่ใช่ฝังดินถ่มใช่มัยคะลุงช่าง
มันแล้วแต่พื้นที่และแบบบ้านครับอย่างบ้านผมอยู่หนองคายภาคอีสานดินเก่าแน่นมากใช้ฐานแผ่ก็พอหากสร้างบ้านชั้นเดียวไม่จำเป็นต้องตอกเข็มแต่หากไปปลูกแบบเดียวกันที่สมุทรปราการหากใช้ฐานแผ่ไม่ตอกเข็นรับประกันบรรลัยแน่นอนครับ😂😂😂😂