Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
รักประเทศไทยรักดนตรีไทยรักอาหารไทย รักความเป็นไทย ขอบคุณที่ได้ เกิดเป็นคนไทย และอยู่ในประเทศไทย
ขอบคุณจริงๆค่ะ ไพเราะเหลือเกิน
ขอบคุณมากครับ❤️
เพราะมากค่ะ ชอบลูกเอื้อน อยากตีเอื้อนได้แบบนี้😣
ขอบคุณนะคะฉันทำงานด้วยเสียงเพลง
ตีเพราะดี ถูกต้องตามหลักการ..กระบวนการ ถ้าได้รู้จักจะดี เพราะเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดิเรก เพชรบุรี
ขอบคุณมากครับผม ผมชื่อรุ่งเรือง แสนสมัครครับผม ค้นหาใน Facebook ได้ครับผม
Add เพื่อนไปแล้วครับขอบคุณมากครับ
ไพเราะเหลือเกิน เสียงขิมที่ใช้สายทองเหลือง มีเสียงที่นุ่มนวลกว่าสายสแตนเลส เมื่อได้ฟังตอนกลางคืนไพเราะจับใจขอบพระคุณอาจารย์นัดครับ
ขอบคุณมากครับ ผมใช้ขิมสายสแตนเลสครับผม
ฟังกี่ครั้งก็เพราะ
ชอบครับฟังแล้วนอนหลับสบาย👍👍👍
ขอบคุณค่ะ ถ้าไม่ ซ่อมเพลงโบราณก็ไปไม่ได้
ฟังแล้วอยากร้องไห้ ไม่รู้ว่าทำไม ?
เพราะมากเลยค่ะ ❤
กราบ กราบ กราบ
ขอบคุณนะคะฉันซ่อมงานด้วยเสียงเพลงโบราณ
ฟังสบายใจจ้า
ครูคะ ขอบคุณเป็นที่สุด
ยินดีครับ❤️
ค่ะ อยากพิมพ์มั้ง เหมือนคนอื่น แต่เราไม่เหมือนคนอื่น พอฟังแลัว น้ำตาจะไหล งง งง กับตัวเองมาก มาแล้ว น้ำตา บ้าไปแล้ว เมิ่อวาน ต้องหยุดฟังเสียง ขิม มาหนึ่งวัน เสียง เพลงไทยเดิม ก็ฟังไม่ได้ พอแล้ว ต้องหยุดฟัง
ไพเราะมากค่ะ ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณมากครับ ฝากกดติดตามด้วยนะครับ❤️
ชอบมากๆค่ะเพราะๆมากๆค่ะ
ครูนัดค่ะ อยากทราบผู้ประพันธ์ เพลงนี้คะ
ประวัติเพลงเขมรพวงครับราว พ.ศ. 2460 หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)ได้นำทำนองเพลงเขมรพวงหรือเขมรพระประทุม สองชั้น มาแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา สามชั้น โดยประดิษฐ์ให้มีสำนวนทำนองเป็นทางกรอสําเนียงเขมร แบบเดียวกันกับเพลงเขมรเลียบนคร และเรียกชื่อตามของเดิมว่าเพลงเขมรพวง เมื่อได้นำออกบรรเลงสู่ประชาชน ได้รับความนิยมจากวงดนตรีไทยอย่างแพร่หลาย และกล่าวได้อย่างเต็มปากว่า เพลงเขมรพวงนี้ แม้จะเป็นจำนวนกรอแบบเดียวกัน และได้แต่งขึ้นหลังจากเพลง เขมรเลียบนคร แต่ก็เป็นเพลงได้รับความนิยมแพร่หลายที่สุดยิ่งกว่าเพลงใด ๆ ในบรรดาเพลงของหลวงประดิษฐ์ไพเราะ แม้ผู้ที่มิใช่อยู่ในวงดนตรีไทย ก็ได้นำไป ดัดแปลงเป็นแบบสมัยใหม่หลายครั้งหลายหนในสมัยที่นิยมร้องเพลงเถากันทั่ว ๆ ไป หมื่นประคมเพลงประสาน (ใจ นิตยผลิน) จึงคิดแต่งทำนองจากอัตราสองชั้นของเดิมลงเป็นอัตราชั้นเดียว เพื่อบรรเลงติดต่อกันให้ครบเป็นเถาและก็ใช้กันมาจนถึงปัจจุบันนี้
รักประเทศไทยรักดนตรีไทยรักอาหารไทย รักความเป็นไทย ขอบคุณที่ได้ เกิดเป็นคนไทย และอยู่ในประเทศไทย
ขอบคุณจริงๆค่ะ ไพเราะเหลือเกิน
ขอบคุณมากครับ❤️
เพราะมากค่ะ ชอบลูกเอื้อน อยากตีเอื้อนได้แบบนี้😣
ขอบคุณนะคะฉันทำงานด้วยเสียงเพลง
ตีเพราะดี ถูกต้องตามหลักการ..กระบวนการ ถ้าได้รู้จักจะดี เพราะเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ดิเรก เพชรบุรี
ขอบคุณมากครับผม ผมชื่อรุ่งเรือง แสนสมัครครับผม ค้นหาใน Facebook ได้ครับผม
Add เพื่อนไปแล้วครับขอบคุณมากครับ
ไพเราะเหลือเกิน เสียงขิมที่ใช้สายทองเหลือง มีเสียงที่นุ่มนวลกว่าสายสแตนเลส เมื่อได้ฟังตอนกลางคืนไพเราะจับใจขอบพระคุณอาจารย์นัดครับ
ขอบคุณมากครับ ผมใช้ขิมสายสแตนเลสครับผม
ฟังกี่ครั้งก็เพราะ
ชอบครับฟังแล้วนอนหลับสบาย👍👍👍
ขอบคุณมากครับ❤️
ขอบคุณค่ะ ถ้าไม่ ซ่อมเพลงโบราณก็ไปไม่ได้
ฟังแล้วอยากร้องไห้ ไม่รู้ว่าทำไม ?
เพราะมากเลยค่ะ ❤
กราบ กราบ กราบ
ขอบคุณนะคะฉันซ่อมงานด้วยเสียงเพลงโบราณ
ฟังสบายใจจ้า
ครูคะ ขอบคุณเป็นที่สุด
ยินดีครับ❤️
ค่ะ อยากพิมพ์มั้ง เหมือนคนอื่น แต่เราไม่เหมือนคนอื่น พอฟังแลัว น้ำตาจะไหล งง งง กับตัวเองมาก มาแล้ว น้ำตา บ้าไปแล้ว เมิ่อวาน ต้องหยุดฟังเสียง ขิม มาหนึ่งวัน เสียง เพลงไทยเดิม ก็ฟังไม่ได้ พอแล้ว ต้องหยุดฟัง
ไพเราะมากค่ะ ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณมากครับ ฝากกดติดตามด้วยนะครับ❤️
ชอบมากๆค่ะเพราะๆมากๆค่ะ
ขอบคุณมากครับ❤️
ครูนัดค่ะ อยากทราบผู้ประพันธ์ เพลงนี้คะ
ประวัติเพลงเขมรพวงครับ
ราว พ.ศ. 2460 หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)ได้นำทำนองเพลงเขมรพวงหรือเขมรพระประทุม สองชั้น มาแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา สามชั้น โดยประดิษฐ์ให้มีสำนวนทำนองเป็นทางกรอสําเนียงเขมร แบบเดียวกันกับเพลงเขมรเลียบนคร และเรียกชื่อตามของเดิมว่าเพลงเขมรพวง เมื่อได้นำออกบรรเลงสู่ประชาชน ได้รับความนิยมจากวงดนตรีไทยอย่างแพร่หลาย และกล่าวได้อย่างเต็มปากว่า เพลงเขมรพวงนี้ แม้จะเป็นจำนวนกรอแบบเดียวกัน และได้แต่งขึ้นหลังจากเพลง เขมรเลียบนคร แต่ก็เป็นเพลงได้รับความนิยมแพร่หลายที่สุดยิ่งกว่าเพลงใด ๆ ในบรรดาเพลงของหลวงประดิษฐ์ไพเราะ แม้ผู้ที่มิใช่อยู่ในวงดนตรีไทย ก็ได้นำไป ดัดแปลงเป็นแบบสมัยใหม่หลายครั้งหลายหน
ในสมัยที่นิยมร้องเพลงเถากันทั่ว ๆ ไป หมื่นประคมเพลงประสาน (ใจ นิตยผลิน) จึงคิดแต่งทำนองจากอัตราสองชั้นของเดิมลงเป็นอัตราชั้นเดียว เพื่อบรรเลงติดต่อกันให้ครบเป็นเถาและก็ใช้กันมาจนถึงปัจจุบันนี้