Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
กราบสาธุครับ
ขอบคุณที่ติดตามรับฟังมาตลอดครับขอให้ทุกท่านที่ได้รับฟังเกิดแสงสว่างทางปัญญา และนำพาให้ตนเองและครอบครัวมีแต่ความสุขขอกราบอนุโมทนาบุญกับท่าน เลือกฟังที่สนใจ ua-cam.com/users/kancha085123featuredsub_confirmation=1?sub_confirmation=1
ฟังเหตุผลของสมเด็จฯท่าน ฟังแล้วจะวิจารณ์กันไปทำไม เพราะถูกต้องแล้ว
ภิกขุนีอยู่ในพระวินัยถึงเคารพในพระวินัยต่อวินัยนี้แหละที่คุ้มครองภิกขุนี
พระโมคคัลานะ ยังถูกคนต่างศาสนาทำร้ายถึงตาย...นี่แสดงว่า น่าจะมีพระท่านอื่นๆ น่าจะถูกโจรทำร้าย...และถูกสัตว์ป่าทำร้าย...เป็นต้น.
ควรปฏิบัติตามพุทธพจน์
สำหรับเรามองว่าการบวชจุดประสงค์ไม่ได้อยู่ที่เพศ แต่เราดูที่การปฎิบัติดีปฏิบัติชอบเป็นหลัก ไม่ควรตีความไปข้างเดียว ขนาดสมัยพระพุทธเจ้ายังมีโอกาสให้บวชเลยน่าเสียดายแทนประเทศไทยนะคะ🤔
แต่เราก็ไม่พาดพิงหรือละเมิดสิทธิหรือไปเปรียบเทียบระหว่างภิกขุค่ะ
ผู้ที่จะให้โอวาทภิกขุนีได้ภิกขุจะต้องรู้วินัยหรือรู้แจ้งในพระไตรปิฎกจึงจะให้โอวาทภิกขุนี้ได้
ทุกวันนี้ภิกขุนี้เกิดขึ้นมากมายยังไม่เคยมีปัญหาเกิดผู้หญิงก็สามารถจรรโรงพระพุทธศาสนาได้แล้วก็ไม่เกิดปัญหาให้ได้รับความเสื่อมเสียใดๆทางด้านสังคมปัจจุบันเพราะยังไม่มีข่าวเรื่องความเสียหายต่างๆ
จับประเด็นจากการที่หลวงพ่อ ป.อ.ปยุตโต ท่านแสดงมาให้ได้นะครับ สรุปท่านให้แยกเป็นสามประการ๑.หลักการ คือ พุทธบัญญัติว่าด้วยขั้นตอนการบรรพา-อุปสมบทภิกษุณีต้องมีขั้นตอนและองค์ประกอบอะไร การบวชนั้นจึงชื่อว่า ถูกต้องสมบูรณ์ตามหลักการนั้น๒.ความเห็น/ความต้องการ ของบุคคล คือ เห็นว่าภิกษุณีเป็นประโยชน์ต่อพุทธศาสนา ถ้ามีแล้วจะช่วยให้ศาสนาเจริญขึ้น จึงควรมีภิกษุณี ฯลฯ ... อันนี้เป็นความเห็น/ความต้องการของแต่ละคนไป๓.เอา "หลักการ(พุทธบัญญัติ)" มาวางเป็นหลักไว้ แล้วพิจารณาว่า "ความเห็น-ความต้องการ" เข้ากับหลักการ หรือหลักการนั้นอนุญาติไว้แค่ไหนอย่างไร.ถ้าสังคมเรายอมรับเอาหลักการ(พุทธบัญญัติ)เป็นหลักใหญ่ในการพิจารณาตัดสินปัญหา ก็จะไม่มาขัดแย้งโต้แย้งถกเถียงกันให้ยืดเยื้อเลย แต่ถ้าแต่ละคนเอา "ความเห็น-ความต้องการ" มาเป็นหลักใหญ่แล้ว จะไม่มีวันได้ข้อสรุป เพราะ แต่ละคนก็มี ความเห็น-ความต้องการ ที่แตกต่างหลากหลายกันไป
@@pikabas อนุญาต ไม่ใช่อนุญาติ
กราบสาธุครับ
ขอบคุณที่ติดตามรับฟังมาตลอดครับ
ขอให้ทุกท่านที่ได้รับฟังเกิดแสงสว่างทางปัญญา และนำพาให้ตนเองและครอบครัวมีแต่ความสุข
ขอกราบอนุโมทนาบุญกับท่าน เลือกฟังที่สนใจ ua-cam.com/users/kancha085123featuredsub_confirmation=1?sub_confirmation=1
ฟังเหตุผลของสมเด็จฯท่าน ฟังแล้วจะวิจารณ์กันไปทำไม เพราะถูกต้องแล้ว
ภิกขุนีอยู่ในพระวินัยถึงเคารพในพระวินัยต่อวินัยนี้แหละที่คุ้มครองภิกขุนี
พระโมคคัลานะ ยังถูกคนต่างศาสนาทำร้ายถึงตาย...นี่แสดงว่า น่าจะมีพระท่านอื่นๆ น่าจะถูกโจรทำร้าย...และถูกสัตว์ป่าทำร้าย...เป็นต้น.
ควรปฏิบัติตามพุทธพจน์
ขอบคุณที่ติดตามรับฟังมาตลอดครับ
ขอให้ทุกท่านที่ได้รับฟังเกิดแสงสว่างทางปัญญา และนำพาให้ตนเองและครอบครัวมีแต่ความสุข
ขอกราบอนุโมทนาบุญกับท่าน เลือกฟังที่สนใจ ua-cam.com/users/kancha085123featuredsub_confirmation=1?sub_confirmation=1
สำหรับเรามองว่าการบวชจุดประสงค์ไม่ได้อยู่ที่เพศ แต่เราดูที่การปฎิบัติดีปฏิบัติชอบเป็นหลัก ไม่ควรตีความไปข้างเดียว ขนาดสมัยพระพุทธเจ้ายังมีโอกาสให้บวชเลยน่าเสียดายแทนประเทศไทยนะคะ🤔
แต่เราก็ไม่พาดพิงหรือละเมิดสิทธิหรือไปเปรียบเทียบระหว่างภิกขุค่ะ
ผู้ที่จะให้โอวาทภิกขุนีได้ภิกขุจะต้องรู้วินัยหรือรู้แจ้งในพระไตรปิฎกจึงจะให้โอวาทภิกขุนี้ได้
ขอบคุณที่ติดตามรับฟังมาตลอดครับ
ขอให้ทุกท่านที่ได้รับฟังเกิดแสงสว่างทางปัญญา และนำพาให้ตนเองและครอบครัวมีแต่ความสุข
ขอกราบอนุโมทนาบุญกับท่าน เลือกฟังที่สนใจ ua-cam.com/users/kancha085123featuredsub_confirmation=1?sub_confirmation=1
ทุกวันนี้ภิกขุนี้เกิดขึ้นมากมายยังไม่เคยมีปัญหาเกิดผู้หญิงก็สามารถจรรโรงพระพุทธศาสนาได้แล้วก็ไม่เกิดปัญหาให้ได้รับความเสื่อมเสียใดๆทางด้านสังคมปัจจุบันเพราะยังไม่มีข่าวเรื่องความเสียหายต่างๆ
จับประเด็นจากการที่หลวงพ่อ ป.อ.ปยุตโต ท่านแสดงมาให้ได้นะครับ สรุปท่านให้แยกเป็นสามประการ
๑.หลักการ คือ พุทธบัญญัติว่าด้วยขั้นตอนการบรรพา-อุปสมบทภิกษุณีต้องมีขั้นตอนและองค์ประกอบอะไร การบวชนั้นจึงชื่อว่า ถูกต้องสมบูรณ์ตามหลักการนั้น
๒.ความเห็น/ความต้องการ ของบุคคล คือ เห็นว่าภิกษุณีเป็นประโยชน์ต่อพุทธศาสนา ถ้ามีแล้วจะช่วยให้ศาสนาเจริญขึ้น จึงควรมีภิกษุณี ฯลฯ ... อันนี้เป็นความเห็น/ความต้องการของแต่ละคนไป
๓.เอา "หลักการ(พุทธบัญญัติ)" มาวางเป็นหลักไว้ แล้วพิจารณาว่า "ความเห็น-ความต้องการ" เข้ากับหลักการ หรือหลักการนั้นอนุญาติไว้แค่ไหนอย่างไร.
ถ้าสังคมเรายอมรับเอาหลักการ(พุทธบัญญัติ)เป็นหลักใหญ่ในการพิจารณาตัดสินปัญหา ก็จะไม่มาขัดแย้งโต้แย้งถกเถียงกันให้ยืดเยื้อเลย แต่ถ้าแต่ละคนเอา "ความเห็น-ความต้องการ" มาเป็นหลักใหญ่แล้ว จะไม่มีวันได้ข้อสรุป เพราะ แต่ละคนก็มี ความเห็น-ความต้องการ ที่แตกต่างหลากหลายกันไป
@@pikabas อนุญาต ไม่ใช่อนุญาติ