อานาปานสติ_ท่านพุทธทาส

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 14 гру 2024

КОМЕНТАРІ • 59

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  12 років тому

    ยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เผยแพร่ ธรรมะของท่านพุทธทาสค่ะ พอดีมีงานบุญที่ต้องทำอีกหลายงานเลยไม่มีโอกาสอัพ การบรรยายธรรมะ อื่นๆ.. ถ่ามีเวลา และโอกาส จะนำมาเผยแพร่อีกค่ะ

  • @พนา-บ1ด
    @พนา-บ1ด 5 років тому

    สาธุ🙏 สาธุ 🙏สาธุ🙏 เจ้าค่ะ

  • @joyjmb214
    @joyjmb214 3 роки тому +1

    ขอบคุณครับคนไทย🙏🙏🙏❤❤❤

  • @saran10600
    @saran10600 12 років тому

    อนุโมนทนาและขอบพระคุณครับ

  • @ต่องกาลเวลา

    สาธุ สาธุ สาธุครับ

  • @hinrimpha
    @hinrimpha 12 років тому

    ผมยังไม่เกิดเลยอะครับ แต่ชอบฟังมาก สาธุ สาธุ สาธุ ครับ

  • @paulthien2778
    @paulthien2778 12 років тому

    ขอให้ธรรมรักษา สิ่งดีดีหายากมากสมัยนี้ นำมาเผยแพร่อีกนะ

  • @crewfinger
    @crewfinger 12 років тому

    ฟังครบชุด 10 กว่าชั่วโมงละ
    (เเต่ยังต้องฟังซ้ำอีกไปเรื่อยๆ)

  • @noolovelao
    @noolovelao 12 років тому

    อนุโมนทนาครับ

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  11 років тому

    สาธุ ค่ะ

  • @lilyokamoto8651
    @lilyokamoto8651 12 років тому

    ขอบคุณผู้เผยแพร่นะคะ ขอให้ธรรมะคุ้มครองค่ะ

  • @udom4w
    @udom4w 12 років тому

    ขอบคุณครับ... อาณาปาฯคือสิตปัฎฐาน4บริบูรณ์ดีแล้ว

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  11 років тому

    .. ธรรมะขึ้นอยู่กับจริต.. ชอบทางไหน ก็ศึกษาทางนั้นไม่มีผิดไม่มีถูก..ขอให้เจริญในธรรมค่ะ สาธุ

  • @bung2510
    @bung2510 12 років тому

    สาธุๆๆเจ้าค๋ะ

  • @daniye1000
    @daniye1000 11 років тому

    ธรรมะขึ้นอยู่กับจริต.. ชอบทางไหน ก็ศึกษาทางนั้นไม่มีผิดไม่มีถูก­ สาธุครับ คนเราก็เหมือนบัวสี่เหล่า ธรรมะก็มีไว้สำหรับ บัวแต่ละชั้น เหมือนเสื้อผ้าที่จะนำมาสวมใส่ ให้เหมาะแก่ตนเองง

  • @pransak
    @pransak 12 років тому

    สาธุครับ

  • @MrJungbored
    @MrJungbored 11 років тому

    ่สาธุ ครับ

  • @jongarrg
    @jongarrg 11 років тому

    สาธุ.....

  • @877Ang
    @877Ang 11 років тому

    ขอบคุณนะคะ

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  11 років тому

    ยินดีค่ะ

  • @Wongsakornification
    @Wongsakornification 12 років тому

    ช่วยผมได้มากเลย ครับ

  • @urai1791
    @urai1791 10 років тому +2

    พุทธศาสนา ค่าล้ำเลิศ ประเสริฐยิ่ง
    เป็นสัจจริง ทุกอย่าง อย่าวางเฉย
    เมื่อพบแล้ว รัตนะ อย่าละเลย
    มัวเฉยเมย หมดโอกาส พลาดของดี

  • @hoiilord13
    @hoiilord13 10 років тому

    อนุโมทนาสาธุค่ะ

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  11 років тому

    ขอให้เจริญในธรรม นะคะ

  • @SurapholKruasuwan
    @SurapholKruasuwan 12 років тому

    สาธุ

  • @ชาญชัยมหาดไทย-ฝ1ฏ

    ขอบคุณค่ะ

  • @kulnapaphantuchong8926
    @kulnapaphantuchong8926 9 років тому

    สาธุ สาธุ สาธุ

  • @phichayaboonyanakun2245
    @phichayaboonyanakun2245 10 років тому

    สาธุคะ สาธุ

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  11 років тому

    ดีใจด้วยค่ะ..

  • @Salimnahee
    @Salimnahee 8 років тому

    เป็นประโยชน์มากเลยครับ สาธุ

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  11 років тому

    ยินดีเป็นอย่างยิ่งค่ะ และ พยายามทยอย นำเนื้อหาที่ต่อเนื่องมาฝากเรื่อยๆค่ะ

  • @expressexpert
    @expressexpert 11 років тому

    สะอาด - ไม่มีกิเลส สงบ ไม่มีทุกข์ สว่าง ไม่มีอวิชชา
    ผัสสะ ด้วย สติ

  • @thapsiri
    @thapsiri 12 років тому

    เหตุใดคนเราจึงดูเหมื่อนปิดบังการสังสอนของท่าน ทั้งที่ได้การยอมรับจากสากลและสามารถดับทุกข์และสร้างสันติสุขได้จริง

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  11 років тому

    ขอบคุณทุกความคิดเห็นนะคะ ..จะพยายาม หาธรรมะดีๆมาเผยแพร่อีกค่ะ พอดีตอนนี้ติดงานชมรมคนรักดี ที่เพิ่งก่อตั้งเพื่อสนับสนุนให้น้องๆคนรุ่นใหม่ หันหน้ากลับมาหาธรรมะเริ่มจากการทำบุญค่ะ

  • @ประวิทเหนือเมฆ

    ชอบมากๆๆ

  • @phon_777
    @phon_777 9 років тому

    พระธรรมวินัย ( ปล่อยวางซึ่งสุขในโลกธรรม ๘ ) โลกมีที่สุดเพียงใด พระนิพพานก็ตั้งอยู่ในที่สุดนั้น ว่าด้วย" กิน กาม เกียรติ โดยปัญญานั้น มีคุณมาก คือการหยั่งรู้ ซึ่งการวางสุขในโลกธรรม ๘ เหมือนดั่งไม่มีหัวใจ โดยสลัดคืนลมหายใจซึ่งก็คือจิตนี้ ทิ้งให้เจ้าของเดิม คืนให้กับธรรมชาติ ถ้ากำหนดได้ทุกลมหายใจเข้าออกแล้ว ย่อมไม่ยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวเรา หรือเป็นของเราได้เลย โดยนัยที่พระตถาคตทรงตรัสไว้ดีแล้วว่า...ข้าไม่ใช่แค่ตาคู่นี้ ข้าไม่ใช่แค่หูคู่นี้ ข้าไม่ใช่แค่ลิ้นลิ้นนี้ ข้าไม่ใช่แค่ร่างกายนี้ ข้าไม่ใช่แค่สตินี้ ข้าไม่ใช่อย่างที่ข้าเห็น ข้าไม่ใช่อย่างที่ข้าได้ยิน ข้าไม่ใช่อย่างที่ข้าได้กลิ่น ข้าไม่ใช่รสสัมผัส ไม่ใช่ความคิดและสิ่งกระตุ้นเร้า ข้าไม่ใช่ภาพนี้ ไม่ใช่เสียงนี้ ข้าไม่ใช่กลิ่นนี้ ไม่ใช่ความคิดนี้ ไม่ใช่รสนี้ ไม่ใช่สตินี้ ข้าไม่ใช่ธาตุของโลกนี้ ข้าไม่ใช่ท้องฟ้า ข้าไม่ใช่อากาศ ข้าไม่ใช่น้ำ ข้าไม่ใช่สติของข้าเช่นกัน ไม่มีธาตุใดรั้งข้าไว้ได้ ชีวิตและความตายจับข้าไม่ได้ ที่ข้ายิ้มนั้น เพราะข้าไม่ได้เกิดและข้าไม่ได้ตาย ชีวิตไม่ได้ให้กำเนิดข้า และความตายก็พรากชีวิตข้าไปไม่ได้ ตัวตนของข้าไม่พึ่งพาชีวิตและความตาย ไม่มีทางเป็นไปได้...
    พระธรรมวินัย ( วางซึ่งสุขในโลกธรรม ๘ )ว่าด้วย" กิน กาม เกียรติ
    ๑.วางลาภ ตัดความกังวลในปัจจัย๔ (ปลิโพธ) ให้มักน้อยในปัจจัย คือให้ละความโลเลในปัจจัย คือ เมื่อได้อย่างดี อย่างปราณีต ก็ให้บริโภค อย่างดีอย่างปราณีต ได้อย่างเลวทรามต่ำช้า ก็ให้บริโภคอย่างเลวทรามต่ำช้า ตามมีตามได้ ไม่ให้ใจขุ่นมัวด้วย ซึ่งพระภิกษุมีค่าตัวเพียงบาทเดียว ขโมยเงินแม้แต่บาทเดียวก็หมดจากความเป็นพระ แต่พระสังฆาธิการ ตอนนี้มีเงินไม่รู้กี่ล้านต่อกี่ล้าน เพราะฉะนั้นหากตรวจสอบพระสังฆาธิการไม่ได้ ทุกอย่างก็เหลวหมด
    ๒.วางยศ พระมียศถาบรรดาศักดิ์และมีสมณศักดิ์ จนต้องซื้อขายตำแหน่งกันในมูลค่ามหาศาล ในสมัยพุทธกาล พระทุกรูปเสมอภาคกันหมด ไม่ว่าพระที่เป็นลูกพระเจ้าแผ่นดิน หรือพระที่เป็นลูกจัณฑาล ลูกหญิงโสเภณี มันต้องเสมอภาคกันหมด ไม่มีแบ่งแยก ไม่มีแตกแยก ตามแนวทาง สาราณียธรรม ๖ แต่ในปัจจุบันมีแต่ยึดมั่นถือมั่นในตัวตนเพิ่มมากขึ้น แล้วจะพ้นทุกข์ได้อย่างไร มีทั้งสมเด็จบ้าง มีเจ้าคุณบ้าง ถ้าถามว่า บริหารเพื่อใคร ถ้าเพื่อตัวเอง ไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์ของการดับทุกข์โดยส่วนรวม ก็รู้ไปเปล่าๆ แล้วพระสมเด็จบางองค์ ท่านอายุน้อย ยึดในตัวตน ก็เลิกเคารพท่านเจ้าคุณที่อาวุโสกว่าไปเลย ทั้งที่หลักอาวุโสของพระภิกษุสงฆ์ มีความสำคัญมาก
    ๓.วางสรรเสริญได้ นินทาก็ไม่ต้อง เกิดตามเห็นตามอีกต่อไป เป็นอันเลิกสนใจไป เห็นเป็นสิ่งไร้แก่นสาร การมาเข้ามาบวชนี้ ก็เพื่อมาละอัตตาตัวตน มาทำตัวให้ต่ำลงมากยิ่งดี เพื่อระงับดับกิเลส ให้จิตใจนั้นเหมือนแผ่นดิน คนที่มีคุณธรรมสูงจะไม่หลงไหลยึดติดกับสมมติต่างๆ เช่น ความสูงต่ำความใหญ่ความโตในฐานะทางโลก แต่จะยึดถือความสูงต่ำในทางธรรม “พระผู้มีพระภาคเจ้าสอนให้ปล่อยให้วางทั้งข้างหน้า ข้างหลัง และท่ามกลาง มิให้ยึดติดในอารมณ์อันเป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อารมณ์ที่พอใจหรืออารมณ์ที่ไม่พอใจ เมื่อเกิดขึ้น จงปล่อยวางเป็นกอง ๆ ไว้ ณ ที่นั้น อย่านำมาเก็บไว้แบกไว้” เมื่อ“เขาด่าว่าเราบนบก จงกองคำด่าว่านั้นไว้บนบก อย่านำติดไปในน้ำด้วย เขาว่าเราในน้ำ จงกองคำด่าว่านั้นไว้ในน้ำ อย่านำติตตัวขึ้นมาบนบก เขาด่าว่าในเมือง จงกองไว้ในเมือง อย่านำติดตัวมาจนถึงเชตวันนี้ด้วย”
    ๔.วางสุข ในประสาททั้ง๕ อันมี รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส รวมเรียกว่า กามคุณ ๕ เราเวียนว่ายตายเกิดอยู่นี่ ก็เพราะกามนี้เอง เกิดตายเป็นแสนเป็นล้านชาติ เพราะสุขทุกข์มี การยึดมั่นถือมั่นจึงมี เพราะสุขทุกข์ดับ การยึดมั่นถือมั่นจึงดับ ด้วย"สุขกับทุกข์ ถ้าพิจารณาโดยละเอียดแล้ว เป็นของติดกันอยู่ ครั้นวางสุข ทุกข์ไม่ต้องวาง มันก็หายไปเอง เข้าสู่พระนิพพานด้วยอาการแบบนี้
    เมื่อใดมีใจเป็นพระผู้ทรงคุณงามความดีที่มีศีลาจารวัตรอันงดงาม ย่อมพบความสุขที่แท้จริง
    พระดี...ดูได้ไม่ยาก ( มักน้อย สันโดษไม่สะสม )
    พระดี...ดูได้จากการสละ ( ธรรมะชนะการให้ทั้งปวง )
    พระดี...ดูได้จากการวาง ( วางสุขในโลกธรรม 8 )
    พระดี...ดูได้จากการวางตน ( น่าเคารพ )
    พระดี...ดูได้จากศีล ( ไม่เห็นแก่ตัว รักผู้อื่น )
    พระดี...ดูได้จากใจ ( กระทำจิตให้บริสุทธิ์ ขาวรอบ )
    พระดี..จึงประพฤติอยู่ในพระธรรมวินัย ( กระทำหน้าที่โดยสมบูรณ์ )...ดังนี้
    พระพุทธเจ้าฝากพระพุทธศาสนาไว้กับพุทธบริษัท๔ ไม่ได้ฝากไว้กับมหาเถรสมาคม ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชเป็นสิ่งที่ผู้คนทางโลกสมมุติขึ้นมา ถ้าจะให้ถูกต้องแล้ว ในสมัยพุทธกาลก็ไม่มีตำแหน่งนี้ ประมุขแห่งพระพุทธศาสนามีเพียงพระองค์เดียวคือ พระพุทธเจ้า และหลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว สิ่งที่ถือเอาเป็นตัวแทนพระองค์พระพุทธเจ้าคือ พระธรรมวินัย ( วางสุขในโลกธรรม๘ )คือการมีธรรมเป็นกาย ที่พระองค์ทรงตรัสไว้ดีแล้ว ย่อมเข้าสู่การเป็นพุทธะ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เมื่อเป็นสงฆ์สายเถรวาท คงต้องห้ามบัญญัติเพิ่ม หรือตัดทอนสิ่งที่พระองค์บัญญัติไว้แล้วอย่างเคร่งครัด ความเจริญก็พึงอยู่ได้ ไม่มีความเสื่อมเลย
    มหาปเทส ๔
    หมวดที่ ๒ เฉพาะในทางพระวินัย
    ๑. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่ไม่ควร (อกัปปิยะ) ขัดกับสิ่งที่ควร (กัปปิยะ) สิ่งนั้นไม่ควร
    ๒. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่ควร (กัปปิยะ) ขัดกับสิ่งที่ไม่ควร (อกัปปิยะ) สิ่งนั้นควร
    ๓. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่ไม่ควร (อกัปปิยะ) ขัดกับสิ่งที่ควร (กัปปิยะ) สิ่งนั้นไม่ควร
    ๔. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่ควร(กัปปิยะ) ขัดกับสิ่งที่ไม่ควร(อกัปปิยะ) สิ่งนั้นควร
    จึงเห็นได้ชัดข้อ ๓. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร เมื่อมาพิจารณาด้วยปัญญาแล้ว พระพุทธเจ้าทรงให้วางยศถาบรรดาศักดิ์ให้หมดสิ้น แต่ปัจจุบันกลับไปเข้ากันโดยใช้ลำดับอาวุโสโดยสมณศักดิ์ ที่ทางฝ่ายอาณาจักรแต่งตั้งขึ้น ซึ่งขัดกันกับลำดับอาวุโสโดยการเกิดและโดยภูมิธรรม สิ่งนั้นจึงไม่ควร ตามพระธรรมวินัยนี้...
    ดูกร... ภิกษุทั้งหลาย พรหมจรรย์ที่เราประพฤตินั้น มิใช่เพื่อหลอกลวงคน มิใช่ให้คนทั้งหลายมานับถือ มิใช่เพื่อลาภสักการะคำสรรเสริญ มิใช่มุ่งหมายเพื่อเป็นเจ้าลัทธิ หรือแก้ลัทธิอย่างนั้นอย่างนี้ มิใช่เพื่อให้ใครรู้จักว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ที่แท้พรหมจรรย์ที่เราประพฤตินั้น ก็เพื่อความสำรวม ความละ ความคลายกำหนัด ดับยินดีและความดับทุกข์
    ดูกร...ภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เราบรรลุนี้ ลึกซึ้ง เห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก สงบ ปราณีต ไม่ใช่วิสัยของตรรกะหรือคิดเอาเองไม่ได้ หรือลงความเห็นว่าการเดา แต่เป็นธรรมที่บัณฑิตพอรู้ได้
    ซึ่งจิตที่ฟอกด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งปวงเป็นไฉน...
    โดยนัย..ที่จักกล่าวโดยละเอียดพิศดาร อันว่าศีลนั้น คือ การรักษาความเป็นปกติ ของการไม่เห็นแก่ตัว มีเมตตา รักผู้อื่น และสรรพสัตว์ทั้งหลาย
    ส่วนสมาธินั้นเล่า คือ เพ่งสติระลึกถึงความไม่ใช่ตัวตนอยู่ตลอดทุกลมหายใจเข้าออก
    ส่วนปัญญานั้นมีคุณมาก คือการหยั่งรู้ โดยวางสุขในโลกธรรม ๘ เหมือนดั่งไม่มีหัวใจ โดยสลัดคืนลมหายใจซึ่งก็คือจิตนี้ ทิ้งให้เจ้าของเดิม คืนให้กับธรรมชาติ ถ้ากำหนดได้ทุกลมหายใจเข้าออกแล้ว ย่อมไม่ยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวเรา หรือเป็นของเราได้เลย ซึ่งเรานั้นย่อมไม่ได้เกิดและก็ไม่ได้ตาย
    บุคคลทั้งหลายที่มาเป็นศิษย์ของตถาคตนี้ ก็มีความประสงค์ด้วยนิพพาน การที่จะรู้ว่า ดีหรือชั่วกว่ากัน ก็แล้วแต่กิเลสเป็นผู้ตัดสิน ด้วยพระนิพพานเป็นที่ปราศจากกิเลสตัณหา ถ้าผู้ใดเบาบางจากกิเลสตัณหา ก็เป็นผู้ดีกว่าผู้ที่หนาไปด้วยกิเลส ถ้าบุคคลนับถือผู้ที่มีกิเลสมากกว่าผู้ที่ไม่มีกิเลส บุคคลผู้นั้นชื่อว่า "ถือศีล เอาต้นเป็นปลาย เอาปลายเป็นต้น เอาสูงเป็นต่ำ เอาต่ำเป็นสูง ถ้าถืออย่างนี้ ผิดทางพระนิพพานเป็นคนมิจฉาทิฎฐิ พระตถาคตตั้งศาสนาไว้ ไม่ได้หวังให้ผู้หนึ่งผู้ใด บำเพ็ญหาประโยชน์อย่างอื่น ตั้งไว้เพื่อประสงค์ให้บุคคล บำเพ็ญภาวนาเพื่อให้ระงับดับกิเลสเท่านั้น การบำเพ็ญภาวนา ถ้าไม่ได้ทำเพื่อให้ระงับดับกิเลส ก็ได้ชื่อว่า เป็นคนหลงโลกหลงทาง ถ้าผู้ใดไม่ประพฤติตามคำสอนนี้ พึงเข้าใจว่าผู้นั้น เป็นคนนอกพระพุทธศาสนา...ดังนี้
    ua-cam.com/video/O0rF0RDxZfI/v-deo.html

  • @phon_777
    @phon_777 8 років тому +1

    ขอนอบน้อมแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ไกลจากกิเลส โดยนัยว่า เมื่อเห็นแก่ตัว ก็ไม่มีความเป็นปกติ(ศีล) ก็จะเพ่งสติระลึกถึงความไม่ใช่ตัวตนอยู่ทุกลมหายใจได้อย่างไร(สมาธิ) พึงปฏิบัติหน้าที่โดย การสลัดคืนลมหายใจหรือจิตใจนี้(อานาปานสติขั้นที่ ๑๖ ขั้นสุดท้าย) คืนให้เจ้าของเดิมคือธรรมชาติ ย่อมไม่ยึดมั่นว่าเป็นตัวตนได้เลย (ปัญญา) เมื่อสมาธิกับปัญญาอยู่ด้วยกันกลมกลืนในขณะเดียวกันพร้อมเป็นปฏิเวธ ดังนี้
    โลกมีที่สุดเพียงใด ( ปล่อยวางซึ่งสุขในโลกธรรม๘เหมือนดั่งไม่มีหัวใจ )พระนิพพานก็ตั้งอยู่ในที่สุดนั้น
    ภูเขาแท่งทึบ ไม่สั่นสะเทือนเพราะแรงลมฉันใด บัณฑิตย่อมไม่หวั่นไหวในนินทาและสรรเสริญ ฉันนั้น
    “ นั่นคือบัณฑิตมีคุณลักษณะของภูเขา คือมีความหนักแน่น มั่นคง, บัณฑิต คือผู้มีปัญญาในธรรม ผู้ได้ศึกษาธรรม ปฏิบัติธรรม ได้ผลแห่งธรรมปฏิบัติ จิตนั้นมีคุณลักษณะเปรียบได้ดั่งภูเขาหินแท่งทึบ ไม่หวั่นไหวในโลกธรรมทั้งฝ่ายชอบและฝ่ายชั่ง คือทั้งลาภ เสื่อมลาภ ยศ ความเสื่อมยศ สรรเสริญ นินทา สุข ทุกข์ แม้ต้องเผชิญโลกธรรมทั้ง ๘ นี้อย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ว่าฝ่ายชอบหรือฝ่ายชัง ย่อมมีใจตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว…ภูเขาศิลาล้วน ย่อมตั้งมั่นไม่หวั่นเพราะแรงลมฉันใด ผู้ที่ทำพระนิพพานให้แจ้งแล้ว ก็ย่อมมีจิตตั้งมั่นไม่หวั่นไหวในโลกธรรมทั้งหลายฉันนั้น คนทั้งโลกมองไม่เห็นไตรลักษณ์ จึงลุ่มหลงมัวเมายินดียินร้ายหวั่นไหวในโลกธรรม ต้องตกอยู่ในห้วงทุกข์ตลอดมา ผู้ที่ทำพระนิพพานให้แจ้งแล้ว ท่านมีธรรมเป็นกาย เข้าถึงพระนิพพานแล้ว พ้นการเวียนว่ายตายเกิด จึงไม่ไยดีในโลกธรรม ไม่ขุ่นมัว ไม่หลงใหล ไม่หวั่นไหวในโลกธรรม ซึ่งเป็นของไม่เที่ยงยังอยู่ในกฎของไตรลักษณ์

  • @expressexpert
    @expressexpert 11 років тому

    โปรดชม บทสวดมนต์อานาปนสติ อธิบายอยางละเอียดครับ

  • @noppayapa4420
    @noppayapa4420 10 років тому

    อนาปานสติ

  • @bank253230
    @bank253230 10 років тому

    ชอบ

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  11 років тому

    กำลังทยอยขึ้นให้แล้วนะคะ.. มีทั้งหมด ๗ ตอน ทั้งทฤษฎี และปฏิบัติเลยค่ะ

  • @ลาวพันล้านหมกฮวกอีสาน

    เรื่อง อานาปานสติสมาธิภาวนา .. เท่าที่ฟังหลาย ๆ ท่านอาจารย์มา ข่ะน้อยไม่ค่อยประทับใจเท่าฟังการบรรยายของ "ท่านพระอาจารย์สมภพ โชติปัญโญ" วัดไตรสิกขา อ.คำตากล้า จ.สกลนคร ได้เลย เพราะท่านใช้ภาษาแบบชาวบ้านทั่ว ๆ ไป เราสามารถรับฟังได้ทุกระดับชนชั้น ตั้งแต่ ป.3 - ปริญญาเอก จนปัจจุบันนี้ 2556 ท่านกลายเป็นขวัญใจของชาวยุโรปเกือบทั้งโซนทวีปไปเลย ส่วนท่านพุทธทาส ... ท่านพูดกับชาวบ้านทั่ว ๆ ไปก็จริง แต่ภาษาที่ท่านใช้สื่อสารการบรรยาย จะรับฟังพอเข้าใจได้ก็เฉพาะคนระดับปริญญาขึ้นไป ... ข่ะน้อยคึดเห็นเช่นนี้แล

  • @pep8801
    @pep8801 11 років тому

    ผมอยากทราบ 16 ระดับที่หลวงพ่อพูด นะครับ

  • @Dkingdude
    @Dkingdude 11 років тому

    จิตมันไวเร็วมันไม่นิ่งเลยจับมันมาควบคุ้มไว้มันก็แค่เนี่ยแหละ

  • @Dkingdude
    @Dkingdude 11 років тому

    มันเป็นวิทยาศาสตร์ท่านพุทธทาสอธิบายอย่างวิทยาศาสตร์.ไม่มีงมงายสักนิด

  • @หญิงคิดบวก
    @หญิงคิดบวก  11 років тому

    ยินดีเป็นอย่างยิ่งนะคะ ตอนนี้กำลังทยอยลง แบบฟังต่อเนื่อง พร้อมทั้งปรับปรุง ในเรื่องเสียงเบา ตอนแรก เนื้อที่จะทยอยลงมีดังนี้นะคะ
    อานาปานสติ ของท่านพุทธทาส ที่นำมาเผยแพร่ มีหัวข้อต่อเนื่องกันดังนี้ค่ะ
    01 ข้อเร้นลับเกี่ยวกับอานาปานสติ
    02 การปฏิบัติอานาปานสติ หมวดที่ ๑ (ทฤษฎี)
    03 การปฏิบัติอานาปานสติ หมวดที่ ๑ (ปฏิบัติ)
    04 การปฏิบัติอานาปานาสติ หมวดที่ ๒
    05 การปฏิบัติอานาปานสติ หมวดที่ ๓
    06 การปฏิบัติเพื่อมีสติในอิริยาบถ
    07 สรุปการปฏิบัติอานาปานสติ

  • @ohaiyo23
    @ohaiyo23 10 років тому

    ^^"

  • @SpecialAir
    @SpecialAir 12 років тому

    สาธุครับ

  • @มาลีกุหลาบอ่ํา

    เป็นบญที่ได้มาพบพระพุทธศาสนาไม่เสียชาติเกิดเป็นบุญจริงฯนะค่ะ

  • @santitai9553
    @santitai9553 11 років тому

    สาธุ

  • @jongarrg
    @jongarrg 11 років тому

    สาธุ.....

  • @ทรงวุฒิสิทธิพงษ์-ด2จ

    สาธุ สาธุ สาธุ

  • @สันติกุลใฝ่ฟ้า

    สาธุ

  • @natthakaweekumhankros6882
    @natthakaweekumhankros6882 10 років тому

    สาธุครับ