จัดการอย่างไร? เมื่อเกิดความรุนแรงในครอบครัว

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 23 лют 2022
  • ความรุนแรงในครอบครัวไม่ใช่เรื่องส่วนตัว
    แต่เป็นปัญหาสังคมที่ทุกคนต้องช่วยกันดูแล
    และปกป้องผู้ที่ถูกกระทำจากความรุนแรง
    จากการสำรวจสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว
    ระหว่างวันที่ 17 - 23 ตุลาคม 2564
    พบความรุนแรงด้วยการพูดจาส่อเสียด
    เหยียดหยามด่าทอและดูถูกมากถึงร้อยละ 53.1
    รองมาเป็นการห่างเหินไม่รับผิดชอบต่อครอบครัว ร้อยละ 35
    ตามด้วยการประจานทำให้อับอาย ร้อยละ 22.6
    และการทำร้ายร่างกาย ร้อยละ 20.2
    จากข้อมูลพบว่ามีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นกว่าช่วงก่อน
    เกิดการแพร่ระบาดโควิด-19 ร้อยละ 41.5
    และมีการใช้ความรุนแรงซ้ำ 2-3 ครั้ง ร้อยละ 75
    สาเหตุมาจากการดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 31.4
    เมื่อถามถึงผลกระทบต่อครอบครัวจากการระบาดของโควิด-19 พบว่าร้อยละ 82
    มีผลกระทบทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 80.2 มีผลต่ออารมณ์
    และร้อยละ 31.3 มีผลต่อความสัมพันธ์
    ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ไม่ใช่เรื่องของครอบครัวใดครอบครัวหนึ่ง
    แต่เป็นปัญหาที่ทุกคนในสังคมจะต้องช่วยกันยับยั้งไม่ให้เกิดขึ้น
    สำหรับผู้ถูกกระทำหรือผู้ที่พบเห็นสามารถขอความช่วยเหลือ
    ได้ที่หน่วยงานรัฐหรือมูลนิธิต่าง ๆ หรือสายด่วน
    1300 , 1387 , 191 และ 1157
    ครอบครัวที่อบอุ่นเป็นรากฐานของสุขภาพจิตที่ดี
    และความสำเร็จในอนาคตของทุกคน ไม่ว่าจะเพศไหน วัยใด
    ไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่ต่างก็ปรารถนาที่จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี
    มีความสบายใจและรู้สึกปลอดภัยด้วยกันทุกคน
    #ช่องทางการติดตาม www.ffc.or.th
    LINE : @ffcthailand
    UA-cam channel : / @sairungtv
    Fanpage Facebook มูลนิธิเด็ก
    / ffcthailand
    มูลนิธิเด็ก โทรศัพท์ : 02 814 1481 ถึง 7
    #ทุกท่านสามารถสนับสนุนการทำงานช่วยเหลือเด็กที่ขาดโอกาส
    ได้ที่ : ธนาคารไทยพาณิชย์ ชื่อบัญชี มูลนิธิเด็ก
    เลขที่บัญชี 115-2-14733-0
    #สนใจสนับสนุนรายการ ติดต่อได้ที่
    เมล์ 097 442 4697
    หนึ่ง 080 235 5991
  • Навчання та стиль

КОМЕНТАРІ • 4

  • @user-cc1fo7pw9i
    @user-cc1fo7pw9i 2 роки тому

    ด้วยความเคารพครับ
    กระผมกำลังประสบกับปัญหาเหล่านี้ เป็นปัญหาทางครอบครัวเริ่มจาก เรื่องนอกใจชู้สาว ระดับการแก้ไขปัญหาถูกต้องตามที่ปฏิบัติมา ไม่ใช้ความรุนแรง แก้ปัญหาเป็นขั้นตอน แต่ไม่มีใครเข้าใจ เพราะคนเป็นฝ่ายผิดแก้ไขปัญหาด้วยการพูดโกหกเพื่อตัวเอง โยนความผิดที่จินตนาการมโนปู้อื่นเห็นว่ากระผมเป็นคนไม่ดี กระผมกาทางแก้ไขยื้นพรเรื่องให้หน่วยงานพัฒนาสังคมและความนั่งคงของมนุษย์ไปแล้ว ลงผื้นที่เก็บหลักฐานไป รับเรื่องไปแต่ไม่เห็นว่ามีการแก้ไขได ปัญหาครอบครัวกับพ่อแม่ก็เกิดการขัดแย้ง เพราะการย้อนแย้งถามตอบเเบบเหตุผมไม่เกิดประโยชน์ มีแต่วิบัติเกิดขึ้นต่อตัวกระผม เหตุก็ว่า การย่อนแย้งคือการเถียงพ่อแม่ แต่ปัญหาหาที่เกิดกับตัวกระผม คำพูดกำลังตากพ่อแม่ก็ทั่วๆไป ปัญหาชู้สาวโดนนอกใจ ความรู้สึกแบบนี้ไม่มีใครเข้าใจได้นอกจากผู้ที่มีประสบการณ์ ปัจจุปันลูกๆผม3คนที่ปมเลี้ยงดูมาอย่างเอาใจใส่ วันสงกราน ก็เอาลูกไปอยู่บ้านตายายโดยที่ผมทำอะไรไม่ได้ ไม่เคยปรึกษาผมก่อน หากพูดกับพ่อแม่ก็จะเกิดแต่ปัญหา พอผมไม่พูดก็นิ่งเฉย คิดกันเหมือนว่ากระผมไม่สนใจลูก
    กระผมเริ่มต้านความรู้สึกไว้ไม่ไหว ขอคำปรึกษาหรือแนะนำหน่วยงานรัฐ โดยถูกต้องถูกหลักให้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้รับความยุติธรรมติครับ
    ลูกๆเป็น เด็กน้อย 3คน คนโต 8 ขวบ อี2คนเป็นคู่แฝด 4ขวบ
    รายระเอียที่ลึกซึ้ง ของเด็กช่วงเปลี่ยนผ่านตามวัย ประการณ์ของกระผมรู้ดีว่า หากมีปมด้วยช่วงไวเรียนจะเป็นปัญหาให้กับตัวเอง
    ช่วง10-15ปีจะให้ความรู้นี้ดีมาก แค่ไม่มีอะไรเหมือนเพื่อน หรือด้อยกว่าเพื่อน อาชีพพ่อแม่ไม่ดี ยังโดนถูกแบ่งแยก การรวมกลุ่มเข้าสังคมมันเกิดการแบ่งแยก
    หากความคิดของกระผมไม่มีระบบ คงใช้ทางออกแบบทัวไปแล้วครับ
    และความที่กล่าวผิดพลาดหรือไม่เหมาะสม ขอกราบอภัยครับผม
    ด้วยความเคารพเป็นอย่างสูง
    นาย ธีระวัฒน์ ขำทับทิม

    • @thitiphanmamas6116
      @thitiphanmamas6116 Рік тому

      เดี๋ยวจะลองประสานหาหน่วยงานให้นะคะ แต่ตอนนี้ลองปรึกษาบริการสายด่วนสุขภาพจิต 1323 เพื่อได้ระบายความทุกข์ที่อยู่ในใจเบื้องต้นก่อนนะคะ

    • @thitiphanmamas6116
      @thitiphanmamas6116 Рік тому

      ลองติดต่อที่ มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก www.thaichildrights.org/about/contact/ ดูนะคะ

    • @yuywhat4127
      @yuywhat4127 Рік тому

      สวัสดีค่ะ ตอนนี้เป็นอย่างไรมั่งค่ะ