Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
Thanks!
🙏🙏🙏สาธุค่ะอาจารย์
ขอบคุณจ่ะอาจารย์
เข้าใจมากกเลยค่ะทำมาเรื่อยๆนะคะอาจารย์ ติดตามค่ะ
ผู้บรรยายอธิบายตรงตามตำราโหราศาสตร์ไทย (บางตำรา) แตกฉานตามตำราที่ได้ร่ำเรียนมา แต่ไม่ถูกต้องตามหลักโหราศาสตร์ที่แท้จริง เพราะโหราศาสตร์ไทยมีการรับถ่ายทอดมาเป็นทอดๆ อีกทีนึง จึงมีการเสริมความเชื่อตามวัฒนธรรมของท้องถิ่นไทยอีกทีนึงเพื่ออุดรอยรั่วจากการรับมาไม่สมบูรณ์ ตำราโหราศาสตร์ไทยจึงมีหลายสายหลายสำนัก อย่างการอธิบายเรื่องฤดูกาลของโหราศาสตร์ก็บอกชัดเจนอยู่แล้วว่าโหราศาสตร์มีแหล่งกำเนิดมาจากประเทศอื่น ฤดูกาลเป็นฤดูกาลทางดาราศาสตร์ที่เกิดจากแกนโลกเอียง มี 4 ฤดูกาลคือ ใบไม้ผลิ ร้อน ใบไม้ร่วง หนาว แต่เพราะประเทศไทยมีแค่ 3 ฤดูคือ ร้อน ฝน หนาว จึงต้องปรับเอาความเชื่อของท้องถิ่นมาอธิบาย ฤดูกาลทั้ง 4 แต่ละฤดูกาลมี 3 ระยะ ไว้ใช้อธิบายชีวิตของมนุษย์ทั้ง 12 เรือน ตั้งแต่กำเนิดเกิดมาจนถึงวาระสุดท้าย หลักโหราศาสตร์ คุณสมบัติของราศีต้องศึกษาให้แตกฉาน เข้าใจให้ถูกต้อง ไม่สามารถเอาแต่เชื่อตำรา เพราะคุณสมบัติของราศีเป็นพื้นฐานสำคัญในการอ่านดวงชะตา คุณสมบัติของราศีประกอบด้วย สัญลักษณ์ สภาวะธาตุ คุณะราศี เกษตรธาตุ ผู้บรรยายขาดความเข้าใจที่ถูกต้องตามหลักโหราศาสตร์ไทยดั้งเดิม (แต่เข้าใจถูกต้องตามตำราที่เพี้ยน) ในเรื่องสภาวะธาตุและคุณะราศี (ผู้บรรยายใช้คำว่าประเภทราศี) สภาวะธาตุไม่ใช่ธาตุทางเคมี แต่เป็นธาตุทางปรัชญา ที่ประกอบด้วย ไฟ ดิน ลม น้ำ โหราศาสตร์ไว้ใช้แทนความหมายคุณลักษณะพื้นฐานของสรรพสิ่งที่มีในธรรมชาติ เช่น สภาวะธาตุไฟ ไฟลุกขึ้นด้านบนเป็นแนวตั้ง (ขึ้นให้สูง) แทนความหมาย กระตือรือร้น เร่าร้อน ร่าเริง สนุกสนาน ต้องการเหนือคนอื่น ต้องการแสดงออกซึ่งความเป็นตัวตน ไม่ใช่ว่าราศีหรือดาวต่างๆ มีสภาพเป็น ไฟ ดิน ลม น้ำจริงๆ โหราศาสตร์บางสำนักเอาไปทายอย่างผิดเพี้ยน เช่น ๑ ธาตุไฟไปอยู่ราศีกรกฎธาตุน้ำ ทำให้ ๑ ไฟดับมอดลง เลยอ่อนกำลัง นี่ไม่ใช่หลักโหราศาสตร์แต่เป็นหลักวิทยาศาสตร์ แปลกดีนะแต่ ๑ อยู่ราศีนี้ได้ตำแหน่งมหาจักร หลักโหราศาสตร์ขัดกันผิดเพี้ยนไปหมด ไม่มีความสอดคล้องกันเลย สภาวะธาตุเหล่านี้สามารถแสดงออกมาแตกต่างกันด้วยคุณะราศี คือ จร สถิร อุภย จร=ริเริ่ม กระตือรือร้น ชัดเจน แสดงออก สถิร=มั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลง อุภย=เปลี่ยนแปลงและปรับตัว เมื่อดูสภาวะธาตุที่มีธาตุเดียวกันตามราศีต่างๆ ก็จะทำมุมตรีโกณกัน แสดงถึงธรรมชาติลักษณะเดียวกัน แต่มีคุณะที่ไม่เหมือนกัน เช่น สภาวะธาตุลม จะมีมิถุน ตุลย์ กุมภ์ สภาวะธาตุลม พัดไปในแนวราบ แทนความหมายความคิด ความสัมพันธ์ การสื่อสาร (ไปให้ทั่ว) ไม่ใช่ราศีเหล่านี้นี้มีลมจริงๆ อยู่ในราศี ตุลย์ ลม จร=ความสัมพันธ์แบบจร แสดงออกชัดเจน ตัวต่อตัว แบบ ขั้ว จึงมาเป็นความหมายเรือนปัตนิ เพศตรงข้าม คู่ครอง หุ้นส่วน ศัตรู (ไม่ใช่ อริ) กุมภ์ ลม สถิร=ความสัมพันธ์แบบสถิร ความสัมพันธ์ที่เหนียวแน่นมั่นคง จึงมาเป็นความหมายเรือนลาภะ แทนเรื่องมิตรภาพ ทายเรื่องเพื่อนสนิท มิตรสหาย คนที่มีความคิดแบบเดียวกัน ไม่ใช่โชคลาภหรือลาภผลตามชื่ออย่างที่เรียกกัน ไม่รู้ว่าการตั้งชื่อเรือนลาภะนี้มาจากไหน มิถุน ลม อุภย=ความสัมพันธ์แบบอุภย ความสัมพันธ์จึงเป็นไปอย่างหลากหลาย ต้องเปลี่ยนแปลงและปรับตัว ความสัมพันธ์ที่ไม่แนบแน่นหรือเกาะเกี่ยวกันไว้ จึงมาเป็นความหมายเรือนสหัชชะแทนความหมายพี่น้อง เพื่อนบ้าน คนที่ต้องไปติดต่อ
เพราะว่าไม่แตกฉานเรื่องคุณสมบัติราศีโหราศาสตร์ไทยบางสายจึงเอาทักษามาใช้ มันคนละหลักวิชากันไม่ควรมาใช้ โหราศาสตร์เป็นเรื่องธาตุในจักรวาล เกี่ยวกับดวงดาวในสุริยะจักรวาล ๑ ให้แสงแก่ดาวต่างๆ ในจักรวาล พอดาวต่างๆ ได้รับแสงแล้วก็แตกตัวกลั่นกรองออกมาเป็นธาตุดาวและเกษตรธาตุเข้ามาสู่ราศีต่างๆ ในดวงชะตาโลก ดาวต่างๆ ยังลอยอยู่จริงในจักรวาล ส่วนทักษา เป็นเรื่องธาตุในธรณี เป็นธาตุในโลกของเรา เขาไว้ใช้กับเลข ๗ ตัว ๙ ฐาน เพราะไม่มีราศีและตําแหน่งดาวไว้ใช้ ทักษาจึงเป็นสิ่งที่แคบและต่ำมากของโหราศาสตร์ ทดแทนเรื่องระดับจักรวาลไม่ได้ โหราศาสตร์มีหลักแค่คู่มิตรคู่ศัตรูเท่านั้น และเป็นของโหราศาสตร์เอง จะเอาคู่มิตร คู่ศัตรู คู่ธาตุ คู่สมพลของทักษามาใช้ไม่ได้ ไม่อย่างนั้น ๑ ไม่เป็นอุจจ์ในราศีเมษ ๗ ไม่เป็นอุจจ์ในราศีตุลย์ เพราะหลักโหราศาสตร์ ๑๓ ๖๗ เป็นคู่มิตรกัน อันนี้ไม่ได้มั่ว ถ้าไม่เชื่อต้องอธิบายได้ว่าทำไมดาวเหล่านี้จึงเป็นอุจจ์ในราศีนั้น ส่วนเรื่องตำแหน่งดาวเช่น อุจ ที่อธิบายผ่านฤดูต่างๆ โดยการโคจรของ ๑ ตำแหน่งอุจไม่ได้มาจากหลักการนั้น แต่มาจากหลักดาราศาสตร์ของจักรวาล และหลักคุณสมบัติของดาวและราศีที่มีต่อกัน จึงอยากฝากไว้ว่าควรศึกษาต้นตอของโหราศาสตร์ก่อน ไม่ควรเชื่อตำราเลย ควรหาที่มาที่ไปของหลักและความหมายของแต่ละเรื่องก่อนว่าถูกต้องไหม นี่ยังไม่พูดถึงสัญลักษณ์ของราศีที่จะมาเป็นความหมายเรือน และเกษตรธาตุของแต่ละราศีมีหน้าที่อะไร ความเข้าใจเรื่องธาตุดาว เกษตรธาตุ สภาวะธาตุ พลังงานธาตุ กำลังธาตุ กำลังดาว ก่อนจะไปเรื่องนวางค์ กาลจักรลัคน์จร อินทภาสบาทจันทร์
อจ.ขอความรุ้ครับคือลูกราศีธนูมีดาว5/6/3/4กุมกันอยุ่ในราศีเมษ(ภพปุตตะ)อยากทราบว่าดาว3/4/5/6ที่ว่ากุมกันอยุ่นั้นจะได้(นระราศี)มั้ยครับ ด้วยความนับถือครับอจ.
ลัคนาราศีธนู เป็นราศีนระ มีดาว ๑ ๕ ๗ ดวงใดดวงหนึ่งหรือทั้งหมดกุมลัคน์ คือ อยู่ราศีธนู จึงได้นรเกณฑ์
ขอบคุณอาจารย์มากค่ะ
Thanks!
🙏🙏🙏สาธุค่ะอาจารย์
ขอบคุณจ่ะอาจารย์
เข้าใจมากกเลยค่ะ
ทำมาเรื่อยๆนะคะอาจารย์ ติดตามค่ะ
ผู้บรรยายอธิบายตรงตามตำราโหราศาสตร์ไทย (บางตำรา) แตกฉานตามตำราที่ได้ร่ำเรียนมา แต่ไม่ถูกต้องตามหลักโหราศาสตร์ที่แท้จริง เพราะโหราศาสตร์ไทยมีการรับถ่ายทอดมาเป็นทอดๆ อีกทีนึง จึงมีการเสริมความเชื่อตามวัฒนธรรมของท้องถิ่นไทยอีกทีนึงเพื่ออุดรอยรั่วจากการรับมาไม่สมบูรณ์ ตำราโหราศาสตร์ไทยจึงมีหลายสายหลายสำนัก
อย่างการอธิบายเรื่องฤดูกาลของโหราศาสตร์ก็บอกชัดเจนอยู่แล้วว่าโหราศาสตร์มีแหล่งกำเนิดมาจากประเทศอื่น ฤดูกาลเป็นฤดูกาลทางดาราศาสตร์ที่เกิดจากแกนโลกเอียง มี 4 ฤดูกาลคือ ใบไม้ผลิ ร้อน ใบไม้ร่วง หนาว แต่เพราะประเทศไทยมีแค่ 3 ฤดูคือ ร้อน ฝน หนาว จึงต้องปรับเอาความเชื่อของท้องถิ่นมาอธิบาย ฤดูกาลทั้ง 4 แต่ละฤดูกาลมี 3 ระยะ ไว้ใช้อธิบายชีวิตของมนุษย์ทั้ง 12 เรือน ตั้งแต่กำเนิดเกิดมาจนถึงวาระสุดท้าย
หลักโหราศาสตร์ คุณสมบัติของราศีต้องศึกษาให้แตกฉาน เข้าใจให้ถูกต้อง ไม่สามารถเอาแต่เชื่อตำรา เพราะคุณสมบัติของราศีเป็นพื้นฐานสำคัญในการอ่านดวงชะตา
คุณสมบัติของราศีประกอบด้วย สัญลักษณ์ สภาวะธาตุ คุณะราศี เกษตรธาตุ ผู้บรรยายขาดความเข้าใจที่ถูกต้องตามหลักโหราศาสตร์ไทยดั้งเดิม (แต่เข้าใจถูกต้องตามตำราที่เพี้ยน) ในเรื่องสภาวะธาตุและคุณะราศี (ผู้บรรยายใช้คำว่าประเภทราศี) สภาวะธาตุไม่ใช่ธาตุทางเคมี แต่เป็นธาตุทางปรัชญา ที่ประกอบด้วย ไฟ ดิน ลม น้ำ โหราศาสตร์ไว้ใช้แทนความหมายคุณลักษณะพื้นฐานของสรรพสิ่งที่มีในธรรมชาติ เช่น สภาวะธาตุไฟ ไฟลุกขึ้นด้านบนเป็นแนวตั้ง (ขึ้นให้สูง) แทนความหมาย กระตือรือร้น เร่าร้อน ร่าเริง สนุกสนาน ต้องการเหนือคนอื่น ต้องการแสดงออกซึ่งความเป็นตัวตน ไม่ใช่ว่าราศีหรือดาวต่างๆ มีสภาพเป็น ไฟ ดิน ลม น้ำจริงๆ โหราศาสตร์บางสำนักเอาไปทายอย่างผิดเพี้ยน เช่น ๑ ธาตุไฟไปอยู่ราศีกรกฎธาตุน้ำ ทำให้ ๑ ไฟดับมอดลง เลยอ่อนกำลัง นี่ไม่ใช่หลักโหราศาสตร์แต่เป็นหลักวิทยาศาสตร์ แปลกดีนะแต่ ๑ อยู่ราศีนี้ได้ตำแหน่งมหาจักร หลักโหราศาสตร์ขัดกันผิดเพี้ยนไปหมด ไม่มีความสอดคล้องกันเลย
สภาวะธาตุเหล่านี้สามารถแสดงออกมาแตกต่างกันด้วยคุณะราศี คือ จร สถิร อุภย จร=ริเริ่ม กระตือรือร้น ชัดเจน แสดงออก สถิร=มั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลง อุภย=เปลี่ยนแปลงและปรับตัว
เมื่อดูสภาวะธาตุที่มีธาตุเดียวกันตามราศีต่างๆ ก็จะทำมุมตรีโกณกัน แสดงถึงธรรมชาติลักษณะเดียวกัน แต่มีคุณะที่ไม่เหมือนกัน เช่น สภาวะธาตุลม จะมีมิถุน ตุลย์ กุมภ์ สภาวะธาตุลม พัดไปในแนวราบ แทนความหมายความคิด ความสัมพันธ์ การสื่อสาร (ไปให้ทั่ว) ไม่ใช่ราศีเหล่านี้นี้มีลมจริงๆ อยู่ในราศี ตุลย์ ลม จร=ความสัมพันธ์แบบจร แสดงออกชัดเจน ตัวต่อตัว แบบ ขั้ว จึงมาเป็นความหมายเรือนปัตนิ เพศตรงข้าม คู่ครอง หุ้นส่วน ศัตรู (ไม่ใช่ อริ) กุมภ์ ลม สถิร=ความสัมพันธ์แบบสถิร ความสัมพันธ์ที่เหนียวแน่นมั่นคง จึงมาเป็นความหมายเรือนลาภะ แทนเรื่องมิตรภาพ ทายเรื่องเพื่อนสนิท มิตรสหาย คนที่มีความคิดแบบเดียวกัน ไม่ใช่โชคลาภหรือลาภผลตามชื่ออย่างที่เรียกกัน ไม่รู้ว่าการตั้งชื่อเรือนลาภะนี้มาจากไหน มิถุน ลม อุภย=ความสัมพันธ์แบบอุภย ความสัมพันธ์จึงเป็นไปอย่างหลากหลาย ต้องเปลี่ยนแปลงและปรับตัว ความสัมพันธ์ที่ไม่แนบแน่นหรือเกาะเกี่ยวกันไว้ จึงมาเป็นความหมายเรือนสหัชชะแทนความหมายพี่น้อง เพื่อนบ้าน คนที่ต้องไปติดต่อ
เพราะว่าไม่แตกฉานเรื่องคุณสมบัติราศีโหราศาสตร์ไทยบางสายจึงเอาทักษามาใช้ มันคนละหลักวิชากันไม่ควรมาใช้ โหราศาสตร์เป็นเรื่องธาตุในจักรวาล เกี่ยวกับดวงดาวในสุริยะจักรวาล ๑ ให้แสงแก่ดาวต่างๆ ในจักรวาล พอดาวต่างๆ ได้รับแสงแล้วก็แตกตัวกลั่นกรองออกมาเป็นธาตุดาวและเกษตรธาตุเข้ามาสู่ราศีต่างๆ ในดวงชะตาโลก ดาวต่างๆ ยังลอยอยู่จริงในจักรวาล ส่วนทักษา เป็นเรื่องธาตุในธรณี เป็นธาตุในโลกของเรา เขาไว้ใช้กับเลข ๗ ตัว ๙ ฐาน เพราะไม่มีราศีและตําแหน่งดาวไว้ใช้ ทักษาจึงเป็นสิ่งที่แคบและต่ำมากของโหราศาสตร์ ทดแทนเรื่องระดับจักรวาลไม่ได้
โหราศาสตร์มีหลักแค่คู่มิตรคู่ศัตรูเท่านั้น และเป็นของโหราศาสตร์เอง จะเอาคู่มิตร คู่ศัตรู คู่ธาตุ คู่สมพลของทักษามาใช้ไม่ได้ ไม่อย่างนั้น ๑ ไม่เป็นอุจจ์ในราศีเมษ ๗ ไม่เป็นอุจจ์ในราศีตุลย์ เพราะหลักโหราศาสตร์ ๑๓ ๖๗ เป็นคู่มิตรกัน อันนี้ไม่ได้มั่ว ถ้าไม่เชื่อต้องอธิบายได้ว่าทำไมดาวเหล่านี้จึงเป็นอุจจ์ในราศีนั้น
ส่วนเรื่องตำแหน่งดาวเช่น อุจ ที่อธิบายผ่านฤดูต่างๆ โดยการโคจรของ ๑ ตำแหน่งอุจไม่ได้มาจากหลักการนั้น แต่มาจากหลักดาราศาสตร์ของจักรวาล และหลักคุณสมบัติของดาวและราศีที่มีต่อกัน
จึงอยากฝากไว้ว่าควรศึกษาต้นตอของโหราศาสตร์ก่อน ไม่ควรเชื่อตำราเลย ควรหาที่มาที่ไปของหลักและความหมายของแต่ละเรื่องก่อนว่าถูกต้องไหม นี่ยังไม่พูดถึงสัญลักษณ์ของราศีที่จะมาเป็นความหมายเรือน และเกษตรธาตุของแต่ละราศีมีหน้าที่อะไร ความเข้าใจเรื่องธาตุดาว เกษตรธาตุ สภาวะธาตุ พลังงานธาตุ กำลังธาตุ กำลังดาว ก่อนจะไปเรื่องนวางค์ กาลจักรลัคน์จร อินทภาสบาทจันทร์
อจ.ขอความรุ้ครับคือลูก
ราศีธนูมีดาว5/6/3/4กุม
กันอยุ่ในราศีเมษ(ภพปุตตะ)
อยากทราบว่าดาว3/4/5/6
ที่ว่ากุมกันอยุ่นั้นจะได้(นระ
ราศี)มั้ยครับ ด้วยความนับถือ
ครับอจ.
ลัคนาราศีธนู เป็นราศีนระ มีดาว ๑ ๕ ๗ ดวงใดดวงหนึ่งหรือทั้งหมดกุมลัคน์ คือ อยู่ราศีธนู จึงได้นรเกณฑ์
ขอบคุณอาจารย์มากค่ะ