Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
เพลงสุดเศร้าอาลัย เพลงนี้เป็นย่ำเที่ยงคับ19/10/2563/ปีชวด
ป้าคนกลางแถวหน้ารำสวยมากๆ
มล.สุรักษ์ เกิดในชาติตระกูลที่สูงส่ง ท่านมีวัตรปฏิบัติที่เรียบง่าย เป็นผู้ดีอย่างยิ่ง เป็นที่พึ่ง เป็นองค์ความรู้ในกองการสังคีตสมัยนั้น ครูมนตรี ตราโมทยังยอมรับ จริงๆแล้วหลายคนไม่ทราบ ท่านเคยถวายความรู้แด่พระกนิษฐาฯ ทุกครั้งที่วงหลวงบรรเลงในงานพระราชพิธี พระองค์จะเสด็จมาทักทายและถามความรู้เรื่องเพลงบรรเลงในคราวนั้นๆทุกครั้งมล.สุรักษ์เป็นบุตรของ มรว.สุมนชาติ อดีตอธิการบดีจุฬาฯ กับท่านผู้หญิงสมโรจน์ ราชบัณฑิตด้านวรรณศิลป์ อยู่ในราชสกุลสายกรมพระสมมตอมรพันธ์ ปัจจุบันวังของท่านยังอยู่ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินฯส่งท้าย - ผมทันเห็นครูสุดจิตต์เล่นมอญรำด้วย แต่ไม่ได้บันทึกภาพไว้ครับ
ขอบคุณเจ้าของคลิปที่นำมาโพสต์ให้ผมได้ตามมาดูพี่ชายซึ่งทำให้บรรยากาศของบ้านผลชีวิน อบอวลไปด้วยกลิ่นอายของดนตรีไทย มาตลอดชีวิตของพี่ และทำให้ผมต้องนั่งจังงังทุกครั้งที่พี่ต่อเพลงให้ลูกศิษย์ .. เห็นคลิปนี้แล้วยิ่งคิดถึง
รำไทยมอญสุดสวยงดงามแบบมอญ
ชอบป้าคนขวาสุดแถวบนอิอิสวยดีครับ
ตาถึงมากค่ะ ไม่ใช่สวยอย่างเดียวนะค่ะ รำได้ถูกน่าทัพจังหวะและสอดคล้องกับปี่พาทย์ได้ทวงทำนองเป็นอย่างดี
ผู้ที่เป่าปี่มอญ เป็นผู้ที่เก่งทึ่สุดแห่งเครื่องเป่าและเป่าได้ทุกชนิดที่ไม่มีท่านใดมาเปรียบในการเป่าของคุณพ่อผมได้ในยุดนั้นครับ ปัจจุบันท่านได้พักจากวงการแล้วครับ และท่านได้สร้างผลงานไว้หลายอย่างเช่น การบรรเลงเป่าขลุ่ยในภาพยนต์เรื่อง แผลเก่าในยุดของคุณสรพงษ์ ชาตรี และการปิดตัวของศาลเฉลิมไทย ในลครร้อง เรื่องพันท้ายนรสิงห์ โดยคุณศรัยู วงศ์กระจ่าง ด้วยบทเพลง น้ำตาแสงใต้ ครับ
ชื่อเพลงย่ำเที่ยงใช้ตอนเวลาเที่ยงและค่ำ1/2020/ปีหมูไฟ
วงดุริยบรรย์ บรรเลงได้เพราะมากครับ อยากฟังเสียงคุณสุรางค์ร้องเลงไทยเดิมด้วยครับ
ไม่นึกไม่ฝันเลยว่าจะได้ชม ปี่พาทย์มอญที่เพียบพร้อมอย่างนี้ เป็นบุญหูตาจริง ๆ ครับ ควรกล่าวประวัติให้รับรู้บ้าง ชื่อเสียงนามผู้แสดงทั้งหมด หรือเท่าที่จะทำได้เพื่ออนุชนรุ่นหลังหันมาสนใจเหมือน กังนัมสไตล์ บ้าง ขอขอบคุณผู้นำมาถ่ายทอด และผู้แสดงทั้งหมด ยอดเยี่ยม ไม่มีที่ติ หวังว่าคงจะได้รับชมรับฟังสิ่งดี ๆ มากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งขอแบ่งปันไว้เพื่อรับฟังอย่างเดียวครับ ขอบคุณทุก ๆท่านด้วยใจจริง ไม่น่าเชื่อว่าคนไทยตีปี่พาทย์มอญได้ไพเราะกว่า มอญแท้ ๆ ตีเสียอีก(มอญที่มาจากพม่า)
เเม่หนูก็นามสกุล สวัสดิกุล
พิธิญา ดับพันธ์ บะ
พญามอญ
คิดถึงพี่ตู่ในชุดม่อฮ่อม ถือไม้ยาว ใส่หมวก ผ้าขาวม้าพาดบ่า รองเท้าแตะธรรมดาๆ เดินอมยิ้มนิดๆ
ครูสมจิตร รนขาว คุณครูเพลงมอญแห่งวงปี่พาทย์เกาะเกร็ด ตีตะโพนมอญครับผม
ปี ๒๔๘๕ ออกตระเวนเป็นครูปี่พาทย์อยู่ตามสำนักถิ่นภูธร ทำให้ครูตู๋รับเป็นภาระหน้าที่ไปเยี่ยมเยียนครูเพลงมอญตามสำนักที่ครูชื้นครูโชติเคยไปอาศัยเรียนสมัยก่อนโน้นแทน ทั้งบ้านครูแหยม ครูจำปา ครูบุญทิว ทำให้ได้เรียนเพลงมอญเพิ่มเติม ด้วยความที่เป็นผู้ฝักใฝ่นิยมประเพณีมอญตามสายเลือดฝ่ายมารดาทำให้เข้าไปคลุกคลีเรียนรู้อย่างจริงจังจนสามารถพูดเขียนภาษามอญได้ และเปิดทางให้ได้ไปสืบค้นหาแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมถิ่นชาวมอญอื่นเท่าที่จะพากเพียรไปถึงได้ เช่นที่สามโคก บางกระดี่ บางไส่ไก่ ก็ไม่ยอมให้ผ่านไปเพียงผิวเผิน จากบทความนี้ ครูสมจิตร รนขาว คุณครูเพลงมอญแห่งวงปี่พาทย์เกาะเกร็ด ตีตะโพนมอญอยู่ด้านหลังสุดนั้น เป็นบุตรชายของ ครูแหยม ค่ะ
ปู่ผมเอง
ล้ำค่าจริงๆครับ
เพลงย่ำเที่ยงต่อท้ายมอญประจำวัด
ผมขอแนะนำรายชื่อผู้บรรเลงนะครับเอาที่ผมรู้จะนะครับ 1.มล.สุรักษ์ สวัสดิกุล ฆ้องมอญวงใหญ่ 2. คุณครูสมชาย ดุริยประณีต ฆ้องมอญวงใหญ่ 3.คุณครูเฉลิม ทองละมูล ฆ้องมอญวงเล็ก 4.คุณครูธีระศกดิ์ ชุ่มชูศาสตร์ ฆ้องมอญวงเล็ก5.คุณครูทัศนัย พิณพาทย์ระนาดเอก6.คุณครูสืบศักดิ์ ดุริยประณีตระนาดทุ้ม7.คุณครูสวง ไม่ทราบนามสกุล ระนาดทุ้มเหล็ก 8.คุณครูพิพัฒน์ ดุริยประณีตระนาดเอกเหล็ก9.คุณครูสุชาติ หอมจันทร์เจือคนปี่ คิอคุณพ่อ ของผมเองครับ10.คุณครูอนันต์ ดุริยพันธุ์ ตีฉิ่ง 11.คุณครูอำนวย รุ่งเรือง เปิงหมาก12.คุณครู...ไม่ทราบชื่อและนามสกุล ตีตะโพนมอญ13.คุณครู...ไม่ทราบชื่อและนามสกุล โหน่ง 3 ใบ14.คุณครู...ไม่ทราบชื่อและนามสกุล ตีฉาบใหญ่ผมต้องกราบขออภัยมา ณ ที่นี่ ด้วยที่ไม่สามารถนำข้อมูลรายชื่อมาได้ครบถ้วนครับ
อ.เจนวิทย์ เจนวิทย์นาฏศิลป์และการแสดง คนตีตะโพนมอญคือครูสมจิตร รนขาว แห่งวงปี่พาทย์เกาะเกร็ด นนทบุรี ท่านคืออโน๊ค ใหญ่แห่งไทย-รามัญ เกาะเกร็ด
ทอง เมืองนนท์ ขอบคุณครับผม
สมัยก่อนนะ ไปเล่นปีพาทย์ตามวัดมอญทีไร ต้องตีย่ำเที่ยงให้คุณย่าคุณยายรำกันทุกงานครับ แล้วท่านรำได้อย่างถูกต้องเรียบร้อยน่าชมครับ ไม่ใช่มารำแบบคิดท่ากันเองนะ ถ้าปี่พาทย์ตีเกินตีขาดหรือตะโพน-เปิงตีหน้าทับไม่ถูกเป็นต้องหันมาค้อนทุกทีไป สนุกครับทำปี่พาทย์มอญสมัยก่อนบรรเลงไพเราะน่าฟังถูกต้องตามสำเนียงแบบแผนครับ พอตอนเช้าปี่พาทย์นอนยังไม่ตื่นพ่อครัวแม่ครัวก็จะทำพูดจากในครัวดังๆว่า ประโคมประโคม อะไรแบบเนี้ย เราก็ยังไม่ได้ล้างหน้าล้างตาตื่นก็มาตีนางหงส์-ประจำวัดให้ก่อนแค่เท่านี้หละครับทั้งงานก็จะราบรื่น
ภาพแห่งความทรงจำของบ้านดุริยปราณีต โดยหม่อมหลวงสุรักษ์ สวัสดิกุล (ป๋าตู่) บรมครูแห่งยุด และบรรดาผู้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญวงใหญ่ โดยมีคุณพ่อของผมนั่งเป่าปี่มอญข้างๆกับป๋าตู่ครับ สืบสานศิลปะเพลงมอญครับ
เพลงประจำบ้านออกป๊ะเมียงพรู
30 ปีได้แล้วมั๊ง........ขอบคุณครับ
ลืมไปครับ คิดถึงป๋าติ๊กด้วยนะ ว่างๆมาเที่ยวท่าฉลอมบ้างนะ (และรักษาสุขภาพด้วยนะครับ)
May I know the name of this dance, please?
ช่วงนาทีที่ 18 เพลงคุ้นๆ นะครับ
ระนาดเอก ป๋าติ๊ก ทัศนัย พิณพาทย์
รำมอญใช่ม๊ะครับ
anucha saengin
ที่ถูกต้องเรียกว่า มอญรำ ค่ะ สาเหตุที่เรียกเช่นนี้ เพราะเป็นศิลปที่สืบทอดมาจากชาวรามัญ(ชาวมอญ )ที่ อพยพมาจากกรุงหงสาวดีค่ะแล้วมาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ที่เกาะเกร็ดในช่วงกรุงธนบุรี นับได้เกือบสามร้อยปีแล้ว ผู้ชายจะเก่งในเรื่อง การปั้นและการดนตรีปี่พาทย์ ส่วนผู้หญิงจะเก่งในเรื่องการร่ายรำและทำอาหารคาวหวาน มีอาทิขนมหวานชาวมอญ ผัดหมี่กรอบ ข้าวแช่ หันตรา เป็นต้นค่ะ
คนรำยังเหลืออยู่กี่คน
ยังอยู่ครบทุกคนค่ะ สวยเหมือนเดิม
อ.เจนวิทย์ฯ ครับ พอจะทราบบ้างใหมว่า ผู้บรรเลงระนาดเอก ชื่ออะไร จะใช่ ครูสุพจน์ โตสง่า หรือเปล่า ? (จะสมัยเดียวกันหรือเปล่าไม่รู้) ขอบคุณครับ จากผู้ชอบปี่พาทย์มอญ
buntham88 ครูทัศนัย พิณพาทย์ (ป๋าติ๊ก) ครับผม
facebook.com/profile.php?id=100014517555496
รำมอญเกาะเกร็ด
มอญรำเกาะเกร็ดค่ะ
มอญรำ
เพลงสุดเศร้าอาลัย เพลงนี้เป็นย่ำเที่ยงคับ19/10/2563/ปีชวด
ป้าคนกลางแถวหน้ารำสวยมากๆ
มล.สุรักษ์ เกิดในชาติตระกูลที่สูงส่ง ท่านมีวัตรปฏิบัติที่เรียบง่าย เป็นผู้ดีอย่างยิ่ง เป็นที่พึ่ง เป็นองค์ความรู้ในกองการสังคีตสมัยนั้น ครูมนตรี ตราโมทยังยอมรับ จริงๆแล้วหลายคนไม่ทราบ ท่านเคยถวายความรู้แด่พระกนิษฐาฯ ทุกครั้งที่วงหลวงบรรเลงในงานพระราชพิธี พระองค์จะเสด็จมาทักทายและถามความรู้เรื่องเพลงบรรเลงในคราวนั้นๆทุกครั้ง
มล.สุรักษ์เป็นบุตรของ มรว.สุมนชาติ อดีตอธิการบดีจุฬาฯ กับท่านผู้หญิงสมโรจน์ ราชบัณฑิตด้านวรรณศิลป์ อยู่ในราชสกุลสายกรมพระสมมตอมรพันธ์ ปัจจุบันวังของท่านยังอยู่ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินฯ
ส่งท้าย - ผมทันเห็นครูสุดจิตต์เล่นมอญรำด้วย แต่ไม่ได้บันทึกภาพไว้ครับ
ขอบคุณเจ้าของคลิปที่นำมาโพสต์ให้ผมได้ตามมาดูพี่ชาย
ซึ่งทำให้บรรยากาศของบ้านผลชีวิน อบอวลไปด้วยกลิ่นอาย
ของดนตรีไทย มาตลอดชีวิตของพี่ และทำให้ผมต้องนั่งจังงัง
ทุกครั้งที่พี่ต่อเพลงให้ลูกศิษย์ .. เห็นคลิปนี้แล้วยิ่งคิดถึง
รำไทยมอญสุดสวยงดงามแบบมอญ
ชอบป้าคนขวาสุดแถวบนอิอิสวยดีครับ
ตาถึงมากค่ะ ไม่ใช่สวยอย่างเดียวนะค่ะ รำได้ถูกน่าทัพจังหวะและสอดคล้องกับปี่พาทย์ได้ทวงทำนองเป็นอย่างดี
ผู้ที่เป่าปี่มอญ เป็นผู้ที่เก่งทึ่สุดแห่งเครื่องเป่าและเป่าได้ทุกชนิดที่ไม่มีท่านใดมาเปรียบในการเป่าของคุณพ่อผมได้ในยุดนั้นครับ ปัจจุบันท่านได้พักจากวงการแล้วครับ และท่านได้สร้างผลงานไว้หลายอย่างเช่น การบรรเลงเป่าขลุ่ยในภาพยนต์เรื่อง แผลเก่าในยุดของคุณสรพงษ์ ชาตรี และการปิดตัวของศาลเฉลิมไทย ในลครร้อง เรื่องพันท้ายนรสิงห์ โดยคุณศรัยู วงศ์กระจ่าง ด้วยบทเพลง น้ำตาแสงใต้ ครับ
ชื่อเพลงย่ำเที่ยงใช้ตอนเวลาเที่ยงและค่ำ1/2020/ปีหมูไฟ
วงดุริยบรรย์ บรรเลงได้เพราะมากครับ อยากฟังเสียงคุณสุรางค์ร้องเลงไทยเดิมด้วยครับ
ไม่นึกไม่ฝันเลยว่าจะได้ชม ปี่พาทย์มอญที่เพียบพร้อมอย่างนี้ เป็นบุญหูตาจริง ๆ ครับ ควรกล่าวประวัติให้รับรู้บ้าง ชื่อเสียงนามผู้แสดงทั้งหมด หรือเท่าที่จะทำได้เพื่ออนุชนรุ่นหลังหันมาสนใจเหมือน กังนัมสไตล์ บ้าง ขอขอบคุณผู้นำมาถ่ายทอด และผู้แสดงทั้งหมด ยอดเยี่ยม ไม่มีที่ติ หวังว่าคงจะได้รับชมรับฟังสิ่งดี ๆ มากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งขอแบ่งปันไว้เพื่อรับฟังอย่างเดียวครับ ขอบคุณทุก ๆท่านด้วยใจจริง ไม่น่าเชื่อว่าคนไทยตีปี่พาทย์มอญได้ไพเราะกว่า มอญแท้ ๆ ตีเสียอีก(มอญที่มาจากพม่า)
เเม่หนูก็นามสกุล สวัสดิกุล
พิธิญา ดับพันธ์ บะ
พญามอญ
คิดถึงพี่ตู่ในชุดม่อฮ่อม ถือไม้ยาว ใส่หมวก ผ้าขาวม้าพาดบ่า รองเท้าแตะธรรมดาๆ เดินอมยิ้มนิดๆ
ครูสมจิตร รนขาว คุณครูเพลงมอญแห่งวงปี่พาทย์เกาะเกร็ด ตีตะโพนมอญครับผม
ปี ๒๔๘๕ ออกตระเวนเป็นครูปี่พาทย์อยู่ตามสำนักถิ่นภูธร ทำให้ครูตู๋รับเป็นภาระหน้าที่ไปเยี่ยมเยียนครูเพลงมอญตามสำนักที่ครูชื้นครูโชติเคยไปอาศัยเรียนสมัยก่อนโน้นแทน ทั้งบ้านครูแหยม ครูจำปา ครูบุญทิว ทำให้ได้เรียนเพลงมอญเพิ่มเติม ด้วยความที่เป็นผู้ฝักใฝ่นิยมประเพณีมอญตามสายเลือดฝ่ายมารดาทำให้เข้าไปคลุกคลีเรียนรู้อย่างจริงจังจนสามารถพูดเขียนภาษามอญได้ และเปิดทางให้ได้ไปสืบค้นหาแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมถิ่นชาวมอญอื่นเท่าที่จะพากเพียรไปถึงได้ เช่นที่สามโคก บางกระดี่ บางไส่ไก่ ก็ไม่ยอมให้ผ่านไปเพียงผิวเผิน จากบทความนี้ ครูสมจิตร รนขาว คุณครูเพลงมอญแห่งวงปี่พาทย์เกาะเกร็ด ตีตะโพนมอญอยู่ด้านหลังสุดนั้น เป็นบุตรชายของ ครูแหยม ค่ะ
ปู่ผมเอง
ล้ำค่าจริงๆครับ
เพลงย่ำเที่ยงต่อท้ายมอญประจำวัด
ผมขอแนะนำรายชื่อผู้บรรเลงนะครับเอาที่ผมรู้จะนะครับ
1.มล.สุรักษ์ สวัสดิกุล ฆ้องมอญวงใหญ่
2. คุณครูสมชาย ดุริยประณีต ฆ้องมอญวงใหญ่
3.คุณครูเฉลิม ทองละมูล ฆ้องมอญวงเล็ก
4.คุณครูธีระศกดิ์ ชุ่มชูศาสตร์
ฆ้องมอญวงเล็ก
5.คุณครูทัศนัย พิณพาทย์
ระนาดเอก
6.คุณครูสืบศักดิ์ ดุริยประณีต
ระนาดทุ้ม
7.คุณครูสวง ไม่ทราบนามสกุล ระนาดทุ้มเหล็ก
8.คุณครูพิพัฒน์ ดุริยประณีต
ระนาดเอกเหล็ก
9.คุณครูสุชาติ หอมจันทร์เจือ
คนปี่ คิอคุณพ่อ ของผมเองครับ
10.คุณครูอนันต์ ดุริยพันธุ์
ตีฉิ่ง
11.คุณครูอำนวย รุ่งเรือง
เปิงหมาก
12.คุณครู...ไม่ทราบชื่อและนามสกุล ตีตะโพนมอญ
13.คุณครู...ไม่ทราบชื่อและนามสกุล โหน่ง 3 ใบ
14.คุณครู...ไม่ทราบชื่อและนามสกุล ตีฉาบใหญ่
ผมต้องกราบขออภัยมา ณ ที่นี่ ด้วยที่ไม่สามารถนำข้อมูลรายชื่อมาได้ครบถ้วนครับ
อ.เจนวิทย์ เจนวิทย์นาฏศิลป์และการแสดง คนตีตะโพนมอญคือครูสมจิตร รนขาว แห่งวงปี่พาทย์เกาะเกร็ด นนทบุรี ท่านคืออโน๊ค ใหญ่แห่งไทย-รามัญ เกาะเกร็ด
ทอง เมืองนนท์ ขอบคุณครับผม
สมัยก่อนนะ ไปเล่นปีพาทย์ตามวัดมอญทีไร ต้องตีย่ำเที่ยงให้คุณย่าคุณยายรำกันทุกงานครับ แล้วท่านรำได้อย่างถูกต้องเรียบร้อยน่าชมครับ ไม่ใช่มารำแบบคิดท่ากันเองนะ ถ้าปี่พาทย์ตีเกินตีขาดหรือตะโพน-เปิงตีหน้าทับไม่ถูกเป็นต้องหันมาค้อนทุกทีไป สนุกครับทำปี่พาทย์มอญสมัยก่อนบรรเลงไพเราะน่าฟังถูกต้องตามสำเนียงแบบแผนครับ พอตอนเช้าปี่พาทย์นอนยังไม่ตื่นพ่อครัวแม่ครัวก็จะทำพูดจากในครัวดังๆว่า ประโคมประโคม อะไรแบบเนี้ย เราก็ยังไม่ได้ล้างหน้าล้างตาตื่นก็มาตีนางหงส์-ประจำวัดให้ก่อนแค่เท่านี้หละครับทั้งงานก็จะราบรื่น
ภาพแห่งความทรงจำของบ้านดุริยปราณีต โดยหม่อมหลวงสุรักษ์ สวัสดิกุล (ป๋าตู่) บรมครูแห่งยุด และบรรดาผู้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญวงใหญ่ โดยมีคุณพ่อของผมนั่งเป่าปี่มอญข้างๆกับป๋าตู่ครับ สืบสานศิลปะเพลงมอญครับ
เพลงประจำบ้านออกป๊ะเมียงพรู
30 ปีได้แล้วมั๊ง........ขอบคุณครับ
ลืมไปครับ คิดถึงป๋าติ๊กด้วยนะ ว่างๆมาเที่ยวท่าฉลอมบ้างนะ (และรักษาสุขภาพด้วยนะครับ)
May I know the name of this dance, please?
ช่วงนาทีที่ 18 เพลงคุ้นๆ นะครับ
ระนาดเอก ป๋าติ๊ก ทัศนัย พิณพาทย์
รำมอญใช่ม๊ะครับ
anucha saengin
ที่ถูกต้องเรียกว่า มอญรำ ค่ะ สาเหตุที่เรียกเช่นนี้ เพราะเป็นศิลปที่สืบทอดมาจากชาวรามัญ(ชาวมอญ )ที่ อพยพมาจากกรุงหงสาวดีค่ะ
แล้วมาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ที่เกาะเกร็ดในช่วงกรุงธนบุรี นับได้เกือบสามร้อยปีแล้ว ผู้ชายจะเก่งในเรื่อง การปั้นและการดนตรีปี่พาทย์ ส่วนผู้หญิงจะเก่งในเรื่องการร่ายรำและทำอาหารคาวหวาน มีอาทิขนมหวานชาวมอญ ผัดหมี่กรอบ ข้าวแช่ หันตรา เป็นต้นค่ะ
คนรำยังเหลืออยู่กี่คน
ยังอยู่ครบทุกคนค่ะ สวยเหมือนเดิม
อ.เจนวิทย์ฯ ครับ พอจะทราบบ้างใหมว่า ผู้บรรเลงระนาดเอก ชื่ออะไร จะใช่ ครูสุพจน์
โตสง่า หรือเปล่า ? (จะสมัยเดียวกันหรือเปล่าไม่รู้) ขอบคุณครับ จากผู้ชอบปี่พาทย์มอญ
buntham88 ครูทัศนัย พิณพาทย์ (ป๋าติ๊ก) ครับผม
facebook.com/profile.php?id=100014517555496
รำมอญเกาะเกร็ด
มอญรำเกาะเกร็ดค่ะ
มอญรำ