Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
เวลาวัด semiconductor จะเห็นว่ากราฟแกนนอนมันกลับด้าน เพราะว่าต่อ ground ของ oscilloscope ไว้ที่จุดร่วม และ probe ของ channel 2 ไว้ที่ ground ของ function gen ครับต้องกด invert สัญญาณให้ก้บช่องที่วัดทางแกนนอนด้วยครับ (ตามคู่มือที่ปรากฏในคลิปนาทีที่ 4.00 น่ะครับ)ขอบคุณที่ทำคลิปให้ดูนะครับ
ขอบคุณครับ
ผมลืมไปเลยว่าผมเรียนอิเลคมาเหมือนกัน 555 เพิ่งนึกได้ตอนเห็นคลิปนี้แหละ
เป็นงั้นไป 55
ขอบคุณครับ. ขอไปเผยแพร่ต่อนะครับ
Function gen ตัวนี่ผมก็มีนะพี่ แต่เห็นวิธีการนี้ทำให้เห็นประโยชน์มากขึ้นเลยครับ
พี่ครับใช้ function gen xr2206 ได้ไหม
แรงดันเอาต์พุตต่ำไปหน่อย (0-3V) แต่ก็น่าจะพอใช้ได้ครับ
@@ELEC4K ผมสั่ง xr2206 มาแล้วครับ ไม่เวิคเลยย วัดแทบไม่ได้วัดแต่ค่า C ต่ำๆได้ character ก็ดูแทบไม่ออก ไม่สวยเลยครับ
@@easyguitar422 'แสดงว่าแรงดันเอาพุตมันต่ำไป อาจจะต้องเพิ่มวงจรขยายสัญญาณก่อนเข้าวงจรคอมโพเนน เทสเตอร์ครับ
พี่ครับ preview function gen ด้วยนะพี่
ถ้ามีโอกาส เดี๋ยวจัดให้ครับ
ซื้อมาก็ใช้ไม่ค่อยครบมากๆ ครับ เครื่องนี้จะใช้ แรงดัน TTL 5 v ยังไง? งงมาก
ในกรณีของ สโคปที่สามารถสร้าง เจน ได้ละครับ มันทำcom tester ได้ไหมครับ
สโคปรุ่นไหนครับ
@@ELEC4K fnirsi 1014d
@@arnajakdev ลองดูว่ามันแยกการทำงานกันได้ไหมครับ เช่นสมมุติว่าเราตั้งใช้งาน function ให้จ่ายสัญญาณออกมา มันจะสามารถใช้งานโหมด scope XY ได้ไหม ถ้าแยกกันทำงานได้อิสระ ก็สามารถทำวงจร component tester ด้วย R ตัวเดียวต่อตามวิดีโอได้ครับแต่มาคิดอีกที ถ้า scope กับ function gen มันใช้ ground ร่วมกัน อาจทำไม่ได้ครับ
มันมักจะกราวด์เดียวกันครับ
สอบถามครับ ถ้าวัดไดโอดความถี่สูง ว่าตอบสนองความถี่สูงได้ไหมโดยการปรับความถี่ให้สูงขึ้น แล้วสังเกตุกราฟที่ได้ ถ้ากราฟเป็นรูปเหมือนไดโอดปกติไม่เพี้ยนแสดงว่าไดโอดตัวนั้นใช้ความถี่สูงได้ผมเข้าใจถูกใช่ไหมครับ
รูปกราฟจะยังคล้ายๆ เดิมครับ แต่อาจไม่เหมือนกันเปะครับ แต่ถ้าเอาไปเทียบกับไดโอดความถี่ต่ำ ที่ความถี่ประมาณ 10-20 kHz จะเห็นชัดเจนครับว่ากราฟของไดโอดความถี่ต่ำมันเพี้ยนไปเยอะ ยังไงลองทดลองดูอีกทีนะครับ
เวลาวัด semiconductor จะเห็นว่ากราฟแกนนอนมันกลับด้าน
เพราะว่าต่อ ground ของ oscilloscope ไว้ที่จุดร่วม และ probe ของ channel 2 ไว้ที่ ground ของ function gen ครับ
ต้องกด invert สัญญาณให้ก้บช่องที่วัดทางแกนนอนด้วยครับ (ตามคู่มือที่ปรากฏในคลิปนาทีที่ 4.00 น่ะครับ)
ขอบคุณที่ทำคลิปให้ดูนะครับ
ขอบคุณครับ
ผมลืมไปเลยว่าผมเรียนอิเลคมาเหมือนกัน 555 เพิ่งนึกได้ตอนเห็นคลิปนี้แหละ
เป็นงั้นไป 55
ขอบคุณครับ. ขอไปเผยแพร่ต่อนะครับ
Function gen ตัวนี่ผมก็มีนะพี่ แต่เห็นวิธีการนี้ทำให้เห็นประโยชน์มากขึ้นเลยครับ
พี่ครับใช้ function gen xr2206 ได้ไหม
แรงดันเอาต์พุตต่ำไปหน่อย (0-3V) แต่ก็น่าจะพอใช้ได้ครับ
@@ELEC4K ผมสั่ง xr2206 มาแล้วครับ ไม่เวิคเลยย วัดแทบไม่ได้วัดแต่ค่า C ต่ำๆได้ character ก็ดูแทบไม่ออก ไม่สวยเลยครับ
@@easyguitar422 'แสดงว่าแรงดันเอาพุตมันต่ำไป อาจจะต้องเพิ่มวงจรขยายสัญญาณก่อนเข้าวงจรคอมโพเนน เทสเตอร์ครับ
พี่ครับ preview function gen ด้วยนะพี่
ถ้ามีโอกาส เดี๋ยวจัดให้ครับ
ซื้อมาก็ใช้ไม่ค่อยครบมากๆ ครับ เครื่องนี้จะใช้ แรงดัน TTL 5 v ยังไง? งงมาก
ในกรณีของ สโคปที่สามารถสร้าง เจน ได้ละครับ มันทำcom tester ได้ไหมครับ
สโคปรุ่นไหนครับ
@@ELEC4K fnirsi 1014d
@@arnajakdev ลองดูว่ามันแยกการทำงานกันได้ไหมครับ เช่นสมมุติว่าเราตั้งใช้งาน function ให้จ่ายสัญญาณออกมา มันจะสามารถใช้งานโหมด scope XY ได้ไหม ถ้าแยกกันทำงานได้อิสระ ก็สามารถทำวงจร component tester ด้วย R ตัวเดียวต่อตามวิดีโอได้ครับ
แต่มาคิดอีกที ถ้า scope กับ function gen มันใช้ ground ร่วมกัน อาจทำไม่ได้ครับ
มันมักจะกราวด์เดียวกันครับ
สอบถามครับ
ถ้าวัดไดโอดความถี่สูง ว่าตอบสนองความถี่สูงได้ไหม
โดยการปรับความถี่ให้สูงขึ้น แล้วสังเกตุกราฟที่ได้ ถ้ากราฟเป็นรูปเหมือนไดโอดปกติไม่เพี้ยนแสดงว่าไดโอดตัวนั้นใช้ความถี่สูงได้
ผมเข้าใจถูกใช่ไหมครับ
รูปกราฟจะยังคล้ายๆ เดิมครับ แต่อาจไม่เหมือนกันเปะครับ แต่ถ้าเอาไปเทียบกับไดโอดความถี่ต่ำ ที่ความถี่ประมาณ 10-20 kHz จะเห็นชัดเจนครับว่ากราฟของไดโอดความถี่ต่ำมันเพี้ยนไปเยอะ ยังไงลองทดลองดูอีกทีนะครับ