(อว ๑๑) อภิปรัชญาของเดส์การ์ตส์ สมภาร พรมทา

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 27 вер 2019
  • เจ้าของ : ศูนย์ศึกษาพุทธปรัชญา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    ผู้บรรยาย : ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา
    บรรยายแก่ : นิสิตปริญญาโทและเอก สาขาปรัชญา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    วันที่เผยแพร่ : ๒๘ กันยายน ๒๕๖๒

КОМЕНТАРІ • 36

  • @newpicup
    @newpicup Місяць тому

    ผมเห็นฝูงผีเสื้อตัวเล็กๆ บินอยู่บนพุ่มไม้😊

  • @story3356
    @story3356 7 місяців тому

    🙏🙏

  • @logoloveman9957
    @logoloveman9957 Рік тому

    ฉันคิด ฉันจึง มีอยู่.

  • @user-li7vg6nc3i
    @user-li7vg6nc3i 10 місяців тому

    ผมแลไม่เห็น กาย จิต วิญญาณ เส้นแบ่งอยู่ตรงไหน บอกทีอาจารย์

  • @chevasit
    @chevasit 4 роки тому +3

    น่าสนใจมาครับ
    โดยเฉพาะแนวคิดแบบ เดส์การ์ตส์ นี้

  • @user-li7vg6nc3i
    @user-li7vg6nc3i 10 місяців тому

    นาคารชุน อ.สมถารเล่าเลยครับ

  • @phuwadonchunaksorn3392
    @phuwadonchunaksorn3392 Рік тому

    วิธี Descartes นี่ น่าสนใจมากครับ ผมฟังอาจารย์เรื่องนี้หลายรอบเลยครับ ขอบพระคุณครับ❤❤😊

  • @guitar4string
    @guitar4string 3 роки тому +5

    แนวคิดแบบแยกส่วน (reductionism) เชื่อว่าความเป็นจริงเฉพาะเรื่องใดๆ สามารถแยกออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อศึกษาหาความรู้ความเข้าใจทั้งหมดที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ และสามารถสรุปความเป็นจริงเฉพาะเรื่องใดๆ ได้จากการรวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับส่วนต่างๆ เข้าด้วยกันแนวคิดแบบแยกส่วนนั้น นอกจากนี้ยังมีความเชื่อที่ว่า ความเป็นจริงเฉพาะเรื่องใดๆ สามารถแยกจากอคติค่านิยมหรือความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์ออกจากสภาวะที่มองเห็นหรือความเป็นจริงที่ดำรงอยู่ภายนอก

    • @guitar4string
      @guitar4string 3 роки тому +1

      สิ่งที่แต่ละบุคคลเข้าใจว่าจริงเฉพาะเรื่องใดๆ คือความเป็นจริงที่ดำรงอยู่อย่างอิสระ แท้จริงเป็นเพียงข้อมูลความเป็นจริงบางส่วนที่รับรู้ผ่านระบบประสาทสัมผัสเข้าสู่สมอง เพื่อตีความและประกอบขึ้นใหม่เป็นภาพเสมือนจริงเท่านั้น ซึ่งจะเห็นได้ว่าเมื่ออคติทางค่านิยมและลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคลเปลี่ยนไป ความเป็นจริงก็เปลี่ยนไปด้วย จริงเฉพาะเรื่องใดๆ จึงไม่สามารถเป็นกลางที่นำไปอ้างอิงในเรื่องเฉพาะเรื่องอื่นได้ ดังนั้นปัจจัยทั้งหลายที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเรา ล้วนแล้วแต่ส่งผลต่อความเป็นจริงที่เราสร้างขึ้นทั้งสิ้น ในอีกด้านหนึ่ง ความเป็นจริงก็มิอาจถูกตัดแบ่งออกเป็นส่วนๆ ได้ เพราะการดำรงอยู่ของแต่ละส่วนนั้นขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์กับส่วนรวมทั้งหมด การแยกส่วนจึงส่งผลให้ทั้งส่วนที่ถูกแยกและส่วนรวมที่ถูกพรากส่วนออกไป ขาดความครบถ้วนสมบูรณ์ลงทันที

    • @guitar4string
      @guitar4string 3 роки тому +1

      ธรรมชาติไม่สามารถถูกลดส่วนลงเป็นหน่วยพื้นฐานเหมือนหน่วยย่อยพื้นฐานของวัตถุ แต่ต้องทำความเข้าใจธรรมชาติในแง่ของความสอดคล้องต้องกันของส่วนทั้งหมด วิชาฟิสิกส์ทั้งปวงต้องดำเนินไปตามข้อกำหนดในลักษณะที่ส่วนประกอบต่าง ๆ ของมันมีความสัมพันธ์ ที่สอดคล้องซึ่งกันและกันและสอดคล้องภายในตัวมันเองด้วย

    • @guitar4string
      @guitar4string 3 роки тому +1

      หลักการพื้นฐานทางปรัชญาวิทยาศาสตร์ขัดแย้งอย่างถึงรากเหง้ากับประเพณีวิทยาศาตสตร์ทางตะวันตก แต่สอดคล้องกับแนวคิดของตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระพุทธศาสนา

    • @guitar4string
      @guitar4string 3 роки тому +1

      ในท่ามกลางบริบทสังคมโลกที่ประสบปัญหาการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนรากฐานความคิดแบบวิทยาศาสตร์กระแสหลัก นั่นคือวิธีคิดในการหาความจริงแบบลดทอนหรือแยกส่วน และวิธีคิดแบบใฝ่ปรารถนาที่จะเอาชนะธรรมชาติ วิธีคิดแบบนี้ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักในสังคมตะวันตกว่าเป็นรากฐานที่มาของการครอบงำธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน

    • @guitar4string
      @guitar4string 3 роки тому +1

      ขณะที่สังคมตะวันตกกำลังประสบปัญหาความติดตันของวิธีคิดแบบเดิมและกำลังแสวงหาฐานความคิดแบบใหม่อยู่นั้น ได้มีนักคิดชาวตะวันตกและนักชาวพุทธไทยบางท่านพยายามนำเสนอกระบวนทัศน์เชิงพุทธขึ้นมาเพื่อเป็นทางเลือกในการหาทางออกให้กับสังคมโลก

  • @user-dc2fo4lq4o
    @user-dc2fo4lq4o 2 роки тому

    จิตเป็นผู้ถ่ายทอดสัญญาและขณะเดียวกันจิตก็เป็นผู้จดจำสัญญาโดยถือเอาตัวเป็นศูนย์กลางถ่ายทอดสัญญาณคือพิจารนาเหตุโดยสมมุติว่าคนไหนก็ตามที่ตัวรู้จักนามจิตอาจจดจำรูปแม้นเห็นเพียงครั้งเดียวแต่กลับกันบุคคลที่เห็นเพียงครั้งเดียวที่หันหลังให้ซึ่งตนมิเคยรู้จักหรือจดจำน่าตาได้จิตก็ไร้ความสามาตรที่จะถ่ายทอดสถาณะว่าบุคคลนั้นๆมี่รูปลักณ์อย่างไรฉะนั้นคือเหตุที่เข้าใจว่าสิ่งที่เห็นสงใสไม่ได้สรุปจิตฝึกฝนได้หรือไม่

  • @user-cn5bg8qg9k
    @user-cn5bg8qg9k Рік тому

    ความจริง

  • @jirajiracharoensilp8098
    @jirajiracharoensilp8098 2 роки тому +1

    เรียนถาม อาจารย์สมภาร หรือ ท่านผู้รู้ ผมเข้าใจว่า I think therefore I am มีความหมายว่า เราไม่อาจแน่ใจว่าโลกนี้มีอไรจริงบ้างได้ มีเพียงสิ่งเดียวที่เราแน่ใจได้คือตัวเราเองที่มีอยู่จริง (หากเราไม่มี ใครคือคนที่คิดว่าเรืองนี้อยู) ไม่ทราบว่าผมเข้าใจถูกไหมครับ ซึ่งในความหมายนี้จะทำให้เรืองนี้ ไม่เกี่ยวกับเรือง ผีสองตัวที่อาจารย์ยกตัวอย่างมีจริงหรือไม่ หรือ ไม่เกี่ยวกับ เรืองที่คนอื่นและตัวเราเห็นนั้นมีจริงหรือไม่ ครับ

  • @user-eh2ec3rn6w
    @user-eh2ec3rn6w 4 роки тому +2

    ผมว่า วิทยาศาสตร์ กับ คณิตศาสตร์ เป็น 2แนวทางที่เสริมกันและกัน เหมือนขา 2 ขา ขาซ้าย และ ขาขวา โดย ขาซ้ายทดแทน ขาขวาไม่ได้ และ ขาขวาก็ทดแทนขาซ้ายไม่ได้

  • @bullfierz3325
    @bullfierz3325 Рік тому

    19:00

  • @jirajiracharoensilp8098
    @jirajiracharoensilp8098 5 місяців тому

    ผมคิดว่า เดคาร์ต สรุปได้ถูกต้อง คือ มีเรืองเดียวที่ แน่ใจได้แน่คือ ตัวผู้คิด มีอยู่ การที่บอกว่า มีแต่การคิด ไม่มีผู้คิด ผมว่าไม่มีความต่างจากที่เดคาร์ตสรุป คือจะเรียกว่า ตัวผู้คิดมีอยู่ หรือ การคิดนั้นมีอยู่ ก็เหมือนกัน คือนอกนั้น เราบอกอย่างแน่ใจไม่ได้ว่ามีสิ่งอื่นอยู่ อีกอย่างผมเข้าใจว่า เรืองนี้ไม่ได้เกี่ยวกับเรืองอนัตตา ผมเข้าใจว่า อนัตตา คือบอกว่า จิตของเรา นั้นไม่ได้ อยู่ได้อย่างอิสระ หากมาจากสิ่งอื่น ซึ่งหากตามมี้ ก็ไมใข่เรืองเดียวกับสิ่ง เดคาร์ต สรุป (คือสองเรืองนี้ไม่เเกี่ยวกัน) ครับ

  • @pomo5911
    @pomo5911 Рік тому +1

    5บาทเท่ากับ6บาท ลบ1บาทก็ได้อีก

  • @jirajiracharoensilp8098
    @jirajiracharoensilp8098 2 роки тому

    ผมเห็นว่า เมื่อมีการคิดต้องมีผู้คิด ส่วนผู้คิดจะเป็นอะไร(ตัวคนที่คงที่ หรือ ไม่คงที่เพราะตัวผุ้คิดเป็นผลจากสิ่งอื่นมาประกอบกันและสิ่งเหล่านั้นไม่คงที่)นั้นเป็นอีกเรืองหนึ่ง ไม่ทราบว่ามองอย่างนี้ได้ไหมครับ

  • @eeeaaa8676
    @eeeaaa8676 2 роки тому +2

    53:00 ก็เดคาตเราเป็นอัตตาที่ยังไม่ได้ชำระแม้แต่นิด จะไปเข้าใจอะไรกับวิสุทธิมรรคได้
    เช้าวันนึงขณะฉันจังหัน...
    ยายชีถามปู่ : ใครนั่งฉันข้าวอยู่นั่น?
    ปู่มั่น : มั่นไม่ได้ฉันข้าว!
    อ้างอิงจากเสียงบันทึกหลวงปู่หล้าวัดภูจ้อก้อ
    ถ้าพระสูตรก็พระยมกะได้อยู่ เธอเป็นขันธ์๕...? เปล่าๆๆๆๆ
    56:25 ขันธ์หิว

  • @miwtationzify
    @miwtationzify 4 роки тому +1

    อยากไปฟังบรรยาย ต้องทำไงคับ

    • @user-jy9cc1xu9b
      @user-jy9cc1xu9b 4 роки тому +1

      MuTe ArYu ทำใจคับ

    • @miwtationzify
      @miwtationzify 4 роки тому +2

      @@user-jy9cc1xu9b นั่นนะสิครับ.....ฟังทางนี้ยาวๆไปละกันครับ

  • @guitar4string
    @guitar4string 3 роки тому +5

    “เราควรเริ่มต้นจากการสงสัยทุกสิ่งทุกอย่าง จนกระทั่งในที่สุดเราจะพบว่ามีสิ่งหนึ่งที่เราสงสัยไม่ได้ นั่นคือ ความสงสัยที่เรามีอยู่” เรอเน เดการ์ต สรุปว่า “ฉันสงสัย ฉันจึงมีอยู่”

    • @guitar4string
      @guitar4string 3 роки тому +3

      บุคคลที่ถือว่าเป็นต้นตอที่มาของทัศนะแบบจักรกล คือ เรอเน เดคาร์ตส์ เ ขาได้รับแนวคิดนี้มาจากการได้สังเกตเห็นเครื่องจักรชนิดต่าง ๆ ที่ประดิษฐ์ขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ด้วยความมหัศจรรย์ของเครื่องจักรที่เคลื่อนไหวได้ราวกับว่าเป็นสิ่งมีชีวิต เขาหลงในเครื่องจักรเหล่านั้นอย่างมาก จนสามารถสร้างสิ่งประดิษฐ์บางอย่างได้ด้วยตัวเอง ดังนั้น จึงยากที่จะหลีกเลี่ยงการเปรียบเทียบเครื่องจักรกับสิ่งมีชีวิต

    • @guitar4string
      @guitar4string 3 роки тому +2

      เราเห็นนาฬิกาน้ำประดิษฐ์ โรงสี หรือเครื่องจักรอื่น ๆ ในทำนองนี้ แม้ว่าเครื่องจักรเหล่านั้นจะเป็นเพียงสิ่งประดิษฐ์จากมนุษย์ ซึ่งไม่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ไปในทิศทางอันหลากหลายได้ด้วยตัวเองก็ตาม แต่ข้าพเจ้าก็มองไม่เห็นความแตกต่าง ระหว่างเครื่องจักรที่ประดิษฐ์โดยช่างฝีมือ และหน่วยชีวิตต่าง ๆ ที่ธรรมชาติได้เสกสรรขึ้นมา… ผมเห็นว่าร่างกายของคนเราก็เหมือนกับเครื่องจักร…ในความคิดของผม… ผมเปรียบคนป่วยกับนาฬิกาที่มีการประกอบไม่ดีพอ และเปรียบคนที่มีสุขภาพดีกับนาฬิกาที่ประกอบดี

    • @guitar4string
      @guitar4string 3 роки тому +2

      เป็นฐานคิดที่อยู่เบื้องหลังการทำลายสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์ของโลก เพราะเป็นทัศนะที่เข้าไปลดคุณค่าของสรรพสิ่งในจักรวาลในฐานะเป็นองค์รวมแห่งองคาพยพเดียวกัน เป็นหน่วยชีวิตที่มีจิตวิญญาณ ให้เหลือเพียงเครื่องจักรกลที่ไร้ชีวิตจิตใจ

    • @guitar4string
      @guitar4string 3 роки тому +2

      บุคคลที่ให้กำเนิดทัศนะแบบลดทอน คือ เซอร์ไอแซค นิวตัน เขาเป็นผู้ให้เกิดแนวคิดในการศึกษาหาความจริงของธรรมชาติและจักรวาลด้วยลดทอนลงไปหาหน่วยหย่อยมูลฐานที่เรียกว่า “อะตอม” (Atom) ทัศนะของนิวตันถูกวิจารณ์ว่าเป็นที่มาของแนวคิดแบบมุ่งความชำนาญพิเศษเฉพาะด้าน (specialization)และเป็นที่มาของการมองโลกธรรมชาติแบบแยกส่วน นอกจากนั้น ยังเป็นตัวแบบให้กับศาสตร์สาขาอื่น ๆ โดยศาสตร์ด้านสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์ และรัฐศาสตร์ เป็นต้น เมื่อศาสตร์เหล่านี้ต้องการได้รับความน่าเชื่อถือเหมือนวิทยาศาสตร์ ต่างก็พยายามที่จะสร้างความชำนาญพิเศษด้วยการลดทอนลงไปศึกษาสังคมเฉพาะในบางส่วนบางด้าน มีการเอาหลักสถิติและคณิตศาสตร์เข้ามาเป็นตัวชี้วัด และพยายามจะกำจัดเรื่องคุณค่าออกไปให้ได้มากที่สุด (Value-free) เพราะคุณค่าคือสัญลักษณ์ของความไม่เป็นวิทยาศาสตร์ แนวคิดแบบลดทอนของ นิวตัน ได้มีอิทธิพลต่อจอห์น ล๊อค ในการศึกษาสังคมการเมืองด้วย โดยเขาได้พยายามลดทอนสังคมมนุษย์ลงไปหาหน่วยย่อยของสังคมในระดับปัจเจกชนแล้วพยายามจะประยุกต์หลักเกณฑ์เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์มาอธิบายมนุษย์ในระดับสังคม ที่เรียกว่า “ฟิสิกส์ทางสังคม” (Social Physics)

    • @user-kj3bd2mo7m
      @user-kj3bd2mo7m 2 роки тому

      ขบฝ

  • @user-cn5bg8qg9k
    @user-cn5bg8qg9k Рік тому

    ช่าง