Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
สอนดีมากค่าาา ขอบคุณค่ะ❤✌
การสั่นพ้องของเสียงเกิดขึ้นได้อย่างไรหรอครับ
โอเวอโทนกับฮามอนิค ต่างกันยังไงครับ
โอเวอร์โทน คือ ลำดับความถี่เสียงที่ทำให้เกิดการสั่นพ้องที่ถัดจากความถี่มูลฐาน ส่วนฮาโมนิกคือ เลขบอกจำนวนเท่าของความถี่นั้นเทียบความถี่มูลฐาน เช่น ท่อเปิดความถี่เสียงที่ทำให้เกิดการสั่นพ้อง เท่ากับ f 2f 3f.... เราเรียกความถี่ f นี้ว่า ความถี่มูลฐาน ความถี่ 2f เรียกว่าโอเวอร์โทนที่ 1 (ถัดจาก f มา 1 ลำดับ) และมีฮาโมนิกที่ 2(เพราะความถี่เป็น 2 เท่าของ f) ส่วนท่อปลายปิด ความถี่เรียงเป็น f 3f 5f ความถี่ 3f เรียกว่าโอเวอร์โทนที่ 1 (ถัดจากความถี่ f มา 1 ลำดับ) และมีฮาโมนิกที่ 3(เพราะความถี่เป็น 3 เท่าของ f ครับ)
สอนเข้าใจมากเลยค่ะ แต่แบบฝึกข้อที่ 3 ได้ 17/8 = 2.125 m หรือป่าวคะ
21:42 โจทย์ ข้อ 2V=331+(0.6)(25)ได้ 346m/s ไม่ใช่เหรอครับถ้าจะได้ 340m/sก็ต้องอุณหภูมิ 15 องศา
ใช่ครับ
ขออภัยด้วยนะครับ ปรับผลการคำนวณเป็น v = 346 m/s และ ได้ความถี่ f = 346/0.8 = 432.5 Hz ครับ
ขอบคุณครับพี่
สอนดีมากค่าาา ขอบคุณค่ะ❤✌
การสั่นพ้องของเสียงเกิดขึ้นได้อย่างไรหรอครับ
โอเวอโทนกับฮามอนิค ต่างกันยังไงครับ
โอเวอร์โทน คือ ลำดับความถี่เสียงที่ทำให้เกิดการสั่นพ้องที่ถัดจากความถี่มูลฐาน ส่วนฮาโมนิกคือ เลขบอกจำนวนเท่าของความถี่นั้นเทียบความถี่มูลฐาน เช่น ท่อเปิดความถี่เสียงที่ทำให้เกิดการสั่นพ้อง เท่ากับ f 2f 3f.... เราเรียกความถี่ f นี้ว่า ความถี่มูลฐาน ความถี่ 2f เรียกว่าโอเวอร์โทนที่ 1 (ถัดจาก f มา 1 ลำดับ) และมีฮาโมนิกที่ 2(เพราะความถี่เป็น 2 เท่าของ f)
ส่วนท่อปลายปิด ความถี่เรียงเป็น f 3f 5f ความถี่ 3f เรียกว่าโอเวอร์โทนที่ 1 (ถัดจากความถี่ f มา 1 ลำดับ) และมีฮาโมนิกที่ 3(เพราะความถี่เป็น 3 เท่าของ f ครับ)
สอนเข้าใจมากเลยค่ะ แต่แบบฝึกข้อที่ 3 ได้ 17/8 = 2.125 m หรือป่าวคะ
21:42 โจทย์ ข้อ 2
V=331+(0.6)(25)
ได้ 346m/s ไม่ใช่เหรอครับ
ถ้าจะได้ 340m/s
ก็ต้องอุณหภูมิ 15 องศา
ใช่ครับ
ขออภัยด้วยนะครับ ปรับผลการคำนวณเป็น v = 346 m/s และ ได้ความถี่ f = 346/0.8 = 432.5 Hz ครับ
ขอบคุณครับพี่