Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
สวัสดีครับ ขอขอบคุณและชื่นชมการสอนครับ พอดีผมเปิดมาเจอพอดีครับ อยากจะบอกนะครับว่า การทำ tempering เราจะไม่ใช้ TTT diagram ในการพิจารณานะครับ เพราะโครงสร้างได้เปลี่ยนเป็นมาร์เทนไซท์แล้วครับ ดังนั้นการทำ tempering จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงจากมาเทนไซท์ไปเป็น tempered martensite และถ้า tempering ที่นานและอุณหภูมิสูงก็จะเปลี่ยนเป็น Ferrite และ Cementite ครับ
ขอบคุณครับ ติชมแนะนำได้ครับผมจะปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไปครับ เพื่อประโยชน์ตนประโยชน์ท่าน
@@serichongnimitsataporn157 ชื่นชมครับ ในการทำสื่อ พอดีบังเอิญเข้ามาเจอ ก็เลยอยากให้เกิดความถูกต้องนะครับ เพราะ TTT diagram เป็นการพิจารณาถึงการเปลี่ยนโครงสร้างของ Austenite นะครับ ดังนั้นถ้า quenching แล้ว ในการทำ tempering จึงไม่สามารถนำมาพิจารณาได้ครับ แต่คลิปอื่นผมยังไม่ได้ดูนะครับ บังเอิญมาดูแค่คลิปนี้ครับขอบคุณครับรศ.ดร.ปฏิภาณ จุ้ยเจิม
ผมต้องการชุบแข็งเหล็ก SKD61 ด้วยน้ำมันแล้ว Temmper ต่ออยากทราบว่าช่วงระยะเวลาห่างระหว่าง Quench แล้ว Temperต่อครับ ควรรอให้เหล็กเย็นตัวอุณภูมิห้อง หรือ Quench น้ำมันเสร็จไม่ต้องรอเหล็กเย็นตัวสนิท เอาเข้าเตา Temper ต่อเลยรึเปล่าครับ
จำนวนชิ้นงานที่ชุบแข็งกี่ชิ้นครับ. ถ้าจำนวนมาก1.ทำตามประวัติเก่าที่เคยทำแล้วได้ผลตามต้องการ2.ถ้าไม่เคยมีประวัติมาก่อนให้ทำ ตัวอย่างที่ Quenchแล้ว Temperทันที. กับ Quenchแล้วปล่อยเย็นจึงTemper อันไหนได้ผลดีกว่าถ้าจำนวนชิ้นน้อย Quenchแล้วTemperเลย ไม่ต้องรอเย็นตัวสนิท ครับหรือถ้ามีเซลล์ ก็สอบถาม หรือ ทำตามคู่มือเหล็กที่มีมากับเหล็กตอนซื้อเหล็ก ครับ
อาจารย์ครับผมขออนุญาตสอบถามเพิ่มเติม ในเรื่องของ เมื่อเราอบให้ความร้อนกับวัสดุแล้วปล่อยให้เย็นตัว ผมอยากทราบว่า ทำไม สารประกอบต่างๆจึงมี เปอร์เซ็นสูงขึ้น เช่น อลูมิเนียม เมื่อนำไป ให้ความร้อนแล้วปล่อยให้ เย็น แล้วค่า ทองแดง และ ซิลิคอนสูงขึ้น
กิตติพันธ์ เชษฐ์รัมย์ เปอร์เซ็นต์ของธาตุต่างๆในโลหะผสมจะคงที่เสมอ แต่รูปแบบการจับตัวของโลหะเปลี่ยนไปเมื่อได้รับความร้อนหรือนำไปอบ เช่น อลูมิเนียม ผสม4%ทองแดง เมื่อนำไปอบ 520 องศาC ทองแดงจะลายเข้าไปในผลึกอลูมิเนียมแล้วชุบน้ำ ทองแดงอยู่ในรูปสารละลาย. แล้วนำอลูมิเนียมชิ้นเดิมไปอบที่ 130-190 องศาC ทองแดงจะแยกตัวจากการละลายมารวมตัวกับอลูมิเนียมเป็น. CuAl2 กิตติพันธ์เลยเข้าใจว่า Cu เพิ่มขึ้นใช่ไหม? Cuไม่ได้เพิ่มแต่เปลี่ยนรูปแบบจากละลายในอลูมิเนียมเป็นจับตัวกับอลูมิเนียม. ยกตัวอย่างเราต้มน้ำร้อนแล้วใส่น้ำตาลเยอะๆ ขณะที่น้ำยังร้อนเราจะเห็นแต่น้ำแต่พอเราปล่อยให้น้ำเย็นเราจะเห็นน้ำตาลที่ตกตะกอน. น้ำตาลที่เห็นเปลี่ยนจากละลายในน้ำเป็นตกตะกอนเราก็เลยเข้าใจว่าน้ำตาลเพิ่มขึ้น. ลองเปิดกูเกิล เรื่อง อลูมิเนียมผสมทองแดงกลุ่ม 2xxx ดูครับ
@@serichongnimitsataporn157 ขอบคุณครับ อาจารย์🙏🙏🙏 แต่ผมยังมีข้อสงสัยในการทดลองของผมอยู่ ผมขออนุญาติ ถามเพิ่มเติมครับ อาจารย์
@@serichongnimitsataporn157 ผมได้ทำการทดลอง ในการ Heat treatment ชนิด T6 ซึ้งคล้ายกับ ที่อาจารย์อธิบายในคลิปข้างต้น มีลายละเอียดังนี้ครับ ผมได้นำอะลูมิเนียม ชนิด AC4B ซึ่งมีธาตุ ผสม ซิลิกอน และ ทองแดง ผมได้นำอะลูมิเนียมชนิดนี้มาทำการ Heat treatment ซ้ำ 4 ครั้ง ในแต่ละครั้งผมได้ทำการ ทดสอบ ความแข็ง (Rockwell scale B) และ ส่วนผสมทางเคมี (ด้วยเครื่อง Spectro) ในครั้ง ที่1มีค่าความแข็ง เพิ่มขึ้นในครั้งที่2-3และลดลงในครั้งที่ 4 ส่วนผสมทางเคมี มีการเพิ่มขึ้นและลดลงเพียง0.4% แต่ไม่เกิน ค่ามาตฐาน ผมอยากถามอาจารย์ในเรื่องของ1. ค่าความแข็งของวัสดุนั้นมีเพิ่มมากขึ้น เพราะอะไร2. ส่วนผสมทางเคมี ดังกล่าว เมื่อ Heat treatment ซ้ำๆ จะทำให้ ส่วนผมสม ระเหย ออกไปจะ วัสดุใหมครับผมมีความสนใจในเรื่องดังกล่าวพอสมควร ซึ่งผมได้ทำการศึกษาจนมาพบอารย์ใน UA-cam อาจาร์สอนได้เข้าใจขึ้นมากครับ แต่ผมยังมีข้อสงสัยอยู่ ในเรื่องของการที่จะสรุปผล ของการทดลอง อาจารย์พอจะช่วยอนุเคราะห์ แนะนำแนวทางผมได้หรือปล่าวครับ ขอคุณครับ🙏
ขอตอบตามหลักการ 1. คือ Mg และ Si เปลี่ยนจากการละลายในอลูมิเนียมมาเป็น สารประกอบกับอลูมิเนียม (จับรวมตัวกัน)ทำให้อลูมิเนียมแข็งขึ้น2. การระเหยของธาตุโลหะต้องเกิดที่อุณหภูมิสูงมาก Mg ระเหย 1107 C Siระเหย 3265 C
@@serichongnimitsataporn157 ขอบคุณครับท่านอาจารย์ ที่ชี้แนะแนวทางกับผม
สวัสดีครับ ขอขอบคุณและชื่นชมการสอนครับ พอดีผมเปิดมาเจอพอดีครับ อยากจะบอกนะครับว่า การทำ tempering เราจะไม่ใช้ TTT diagram ในการพิจารณานะครับ เพราะโครงสร้างได้เปลี่ยนเป็นมาร์เทนไซท์แล้วครับ ดังนั้นการทำ tempering จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงจากมาเทนไซท์ไปเป็น tempered martensite และถ้า tempering ที่นานและอุณหภูมิสูงก็จะเปลี่ยนเป็น Ferrite และ Cementite ครับ
ขอบคุณครับ ติชมแนะนำได้ครับผมจะปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไปครับ เพื่อประโยชน์ตนประโยชน์ท่าน
@@serichongnimitsataporn157 ชื่นชมครับ ในการทำสื่อ พอดีบังเอิญเข้ามาเจอ ก็เลยอยากให้เกิดความถูกต้องนะครับ เพราะ TTT diagram เป็นการพิจารณาถึงการเปลี่ยนโครงสร้างของ Austenite นะครับ ดังนั้นถ้า quenching แล้ว ในการทำ tempering จึงไม่สามารถนำมาพิจารณาได้ครับ แต่คลิปอื่นผมยังไม่ได้ดูนะครับ บังเอิญมาดูแค่คลิปนี้ครับ
ขอบคุณครับ
รศ.ดร.ปฏิภาณ จุ้ยเจิม
ผมต้องการชุบแข็งเหล็ก SKD61 ด้วยน้ำมันแล้ว Temmper ต่อ
อยากทราบว่าช่วงระยะเวลาห่างระหว่าง Quench แล้ว Temperต่อครับ ควรรอให้เหล็กเย็นตัวอุณภูมิห้อง หรือ Quench น้ำมันเสร็จไม่ต้องรอเหล็กเย็นตัวสนิท เอาเข้าเตา Temper ต่อเลยรึเปล่าครับ
จำนวนชิ้นงานที่ชุบแข็งกี่ชิ้นครับ. ถ้าจำนวนมาก
1.ทำตามประวัติเก่าที่เคยทำแล้วได้ผลตามต้องการ
2.ถ้าไม่เคยมีประวัติมาก่อนให้ทำ ตัวอย่างที่ Quenchแล้ว Temperทันที. กับ Quenchแล้วปล่อยเย็นจึงTemper อันไหนได้ผลดีกว่า
ถ้าจำนวนชิ้นน้อย Quenchแล้วTemperเลย ไม่ต้องรอเย็นตัวสนิท ครับ
หรือถ้ามีเซลล์ ก็สอบถาม หรือ ทำตามคู่มือเหล็กที่มีมากับเหล็กตอนซื้อเหล็ก ครับ
อาจารย์ครับผมขออนุญาตสอบถามเพิ่มเติม ในเรื่องของ เมื่อเราอบให้ความร้อนกับวัสดุแล้วปล่อยให้เย็นตัว ผมอยากทราบว่า ทำไม สารประกอบต่างๆจึงมี เปอร์เซ็นสูงขึ้น เช่น อลูมิเนียม เมื่อนำไป ให้ความร้อนแล้วปล่อยให้ เย็น แล้วค่า ทองแดง และ ซิลิคอนสูงขึ้น
กิตติพันธ์ เชษฐ์รัมย์ เปอร์เซ็นต์ของธาตุต่างๆในโลหะผสมจะคงที่เสมอ แต่รูปแบบการจับตัวของโลหะเปลี่ยนไปเมื่อได้รับความร้อนหรือนำไปอบ เช่น อลูมิเนียม ผสม4%ทองแดง เมื่อนำไปอบ 520 องศาC ทองแดงจะลายเข้าไปในผลึกอลูมิเนียมแล้วชุบน้ำ ทองแดงอยู่ในรูปสารละลาย. แล้วนำอลูมิเนียมชิ้นเดิมไปอบที่ 130-190 องศาC ทองแดงจะแยกตัวจากการละลายมารวมตัวกับอลูมิเนียมเป็น. CuAl2 กิตติพันธ์เลยเข้าใจว่า Cu เพิ่มขึ้นใช่ไหม? Cuไม่ได้เพิ่มแต่เปลี่ยนรูปแบบจากละลายในอลูมิเนียมเป็นจับตัวกับอลูมิเนียม. ยกตัวอย่างเราต้มน้ำร้อนแล้วใส่น้ำตาลเยอะๆ ขณะที่น้ำยังร้อนเราจะเห็นแต่น้ำแต่พอเราปล่อยให้น้ำเย็นเราจะเห็นน้ำตาลที่ตกตะกอน. น้ำตาลที่เห็นเปลี่ยนจากละลายในน้ำเป็นตกตะกอนเราก็เลยเข้าใจว่าน้ำตาลเพิ่มขึ้น. ลองเปิดกูเกิล เรื่อง อลูมิเนียมผสมทองแดงกลุ่ม 2xxx ดูครับ
@@serichongnimitsataporn157 ขอบคุณครับ อาจารย์🙏🙏🙏 แต่ผมยังมีข้อสงสัยในการทดลองของผมอยู่ ผมขออนุญาติ ถามเพิ่มเติมครับ อาจารย์
@@serichongnimitsataporn157 ผมได้ทำการทดลอง ในการ Heat treatment ชนิด T6 ซึ้งคล้ายกับ ที่อาจารย์อธิบายในคลิปข้างต้น มีลายละเอียดังนี้ครับ ผมได้นำอะลูมิเนียม ชนิด AC4B ซึ่งมีธาตุ ผสม ซิลิกอน และ ทองแดง ผมได้นำอะลูมิเนียมชนิดนี้มาทำการ Heat treatment ซ้ำ 4 ครั้ง ในแต่ละครั้งผมได้ทำการ ทดสอบ ความแข็ง (Rockwell scale B) และ ส่วนผสมทางเคมี (ด้วยเครื่อง Spectro) ในครั้ง ที่1มีค่าความแข็ง เพิ่มขึ้นในครั้งที่2-3และลดลงในครั้งที่ 4 ส่วนผสมทางเคมี มีการเพิ่มขึ้นและลดลงเพียง0.4% แต่ไม่เกิน ค่ามาตฐาน ผมอยากถามอาจารย์ในเรื่องของ
1. ค่าความแข็งของวัสดุนั้นมีเพิ่มมากขึ้น เพราะอะไร
2. ส่วนผสมทางเคมี ดังกล่าว เมื่อ Heat treatment ซ้ำๆ จะทำให้ ส่วนผมสม ระเหย ออกไปจะ วัสดุใหมครับ
ผมมีความสนใจในเรื่องดังกล่าวพอสมควร ซึ่งผมได้ทำการศึกษาจนมาพบอารย์ใน UA-cam อาจาร์สอนได้เข้าใจขึ้นมากครับ แต่ผมยังมีข้อสงสัยอยู่ ในเรื่องของการที่จะสรุปผล ของการทดลอง อาจารย์พอจะช่วยอนุเคราะห์ แนะนำแนวทางผมได้หรือปล่าวครับ ขอคุณครับ🙏
ขอตอบตามหลักการ 1. คือ Mg และ Si เปลี่ยนจากการละลายในอลูมิเนียมมาเป็น สารประกอบกับอลูมิเนียม (จับรวมตัวกัน)ทำให้อลูมิเนียมแข็งขึ้น
2. การระเหยของธาตุโลหะต้องเกิดที่อุณหภูมิสูงมาก Mg ระเหย 1107 C Siระเหย 3265 C
@@serichongnimitsataporn157 ขอบคุณครับท่านอาจารย์ ที่ชี้แนะแนวทางกับผม