Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
คนเก่งจริงเขาจะไม่ดูถูกคน คนเก่งส่วนมากจะถ่อมตน และรู้ว่าในโลกนี้ยังมีอะไรหลายอย่างที่เรายังไม่รู้อีกมากมาย และพร้อมที่จะเรียนรู้ไปเรื่อยๆเหมือนน้ำไม่เต็มแก้ว
ใช้คับ. เรื่องความรู้ เรียนทั้งชีวิต. ก็ยังไม่จบ. ทุกที่ล้วนเป็นสถานที่ศีกษาได้หมด. ไม่ว่า ทุ่งนา. แม่น้ำ. ป่าเขา. ทะเล. ท้องฟ้า. แม้แต่ดิน. ที่เราเดินเหยียบอยู่ทุกวัน ล้วนให้เราต้องศึกษาทั้งนั้น
เหมือนไอ้ตู่ใช่ไหมครับ โง่แล้วอวดดี หยิ่ง จองหอง
ใช่ที่สุดเลยครับ บางคนเก่งอยู่เรื่องเดียว ดันคิดว่าคนอื่นเค้าโง่ ถุย มึงเเหละที่โง่ที่คิดว่าตนเองฉลาด
@@prawithoysakul8857 ใช่ค่ะคุณเป็นคนที่คิดดีคิด+
ใช่ครับ องค์กรทุกองค์กรไม่ได้ต้องการคนเก่งเสมอไป แต่ผมว่าองค์กรทุกองค์กรต้องการคนดีครับ
เอาความจริงสิครับ ผมจบราชภัฏ ความรู้ความสามารถสู้จบมหาวิทยาลัยชั้นนำไม่ได้จริงๆครับ ถ้าไม่ยอมรับก็คือหลอกตัวเอง แต่อย่างที่คุณจั๊ดบอก ความสำเร็จไม่ได้ขึ้นอยู่กับสถาบันที่จบมา อยู่ที่ประสบการณ์ ผู้ที่เป็นเจ้าสัวในประเทศไทยหรือผู้ที่ประสบความสำเร็จในโลกบางคนก็ไม่ได้จบจากสถาบันชั้นนำครับ
Mark Zuckerberg เรียน HarvardBill gates เรียน MIT มันจริงๆหรอที่บอกว่าผู้นำบริษัทใหญ่ๆเขาไม่เรียนที่ดัง? ลองอ่านดีๆก่อนไหม
ดีมาก ครับ คนเราต้องยอมรับความจริง อย่าหลอกตัวเอง จุฬา ดี กว่า รัชฏัทร จริงๆครับ
@@Theerath-bn6sn เจ้าสัว ๆ...😓
@@Theerath-bn6sn ขอบคุณมากครับที่ช่วยแนะนำ ผมอาจจะศึกษาข้อมูลมาไม่มากพอ ผมขอแก้ไขข้อความให้เหมาะสมแล้วกันนะครับ
ทั้งมาร์ก ทั้งบิลเกตส์ ถึงจะเรียนมหาวิทยาลัยดัง แต่ทั้งคู่ เรียนไม่จบครับ
เราเรียนมหาวิทยาลัยเอกชน ยอมรับนะว่าคือจุฬา ธรรมศาสตร์มีแต่เก่งๆทั้งนั้น เพื่อนเราเก่งมาก เข้าธรรมศาสตร์อยู่แค่กลางๆเกือบปลาย มหาวิทยาลัยมันต่างกันมากๆ เริ่มตั้งแต่การสอบเข้าที่เอาแค่คนที่มีความสามารถ การเรียนการสอนที่มีแต่อาจารย์ด็อกเตอร์ นักวิชาการมาสอน มหาลัยงบเยอะการเรียนก็บูรณาการมากไปอีก ไปศึกษาต่างประเทศบ้าง งบทุนวิจัยบ้าง แถมในระหว่างเรียนยังมีคอนเนคชั่นต่างๆที่มันมาพร้อมกับโอกาสในอนาคต และเมื่อจบแล้วไม่ว่าคุณจะเกรดเท่าไหร่ เเค่จัวหัวว่าจุฬา ธรรมศาสตร์ คือเข้าเกณฑ์เลย ยอมรับเถอะหลายบริษัทอยากได้คนมีความสามารถ และสิ่งแรกที่วัดได้คือ มหาวิทยาลัย
จริงครับ
ชอบแนวคิดของคุณจั๊ดมาก ที่เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเจาะจงคณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ส่วนตัวมองว่าเปิดหลายคณะเกินไป ถ้าแต่ละที่นำจุดเด่นของจังหวัดมาเป็นหลักสูตร คือมองว่าน่าสนใจมาก
ความต้องการในท้องถิ่น ก็มีหลากหลายพอ ๆ กับ กทม. นะครับอย่าลืม / ที่ คุณจั้ดพูดยังเป็น มุมมองคนนอก ที่ เข้ามาแสดงทัศนะแบบคนเรียนจบส่วนกลางและอยู่ส่วนกลาง / ยิ่ง สายสังคมศาสตร์ ความต้องการของท้องถิ่นก็มีอยู่
เรียนจบที่ไหนก็มีคนที่ประสพความสำเร็จในการทำงานและล้มเหลวในการดำเนินชีวิตเหมือนกันครับจบจุฬาหรือราชภัฏก็ขอให้ตั้งใจทำงานตอบแทนคุณแผ่นดินเป็นคนดีของสังคมก็พอครับ
@@อนุวัตสุขศรีจักรวาฬ ตอบแทนคุณแผ่นดินทำไมครับ
@k-jibpepis7940 พิมให้ถูกก่อนนะคนไทยจริงป่าวหรือไม่ได้เรียนหนังสือครับ
@อนุวัต สุขศรีจักรวาฬ ถามแปลกทำไมต้องตอบแทนแผ่นดิน ๆ เพราะทำให้มันเจริญเติบโตและคุณก็เก็บเกี่ยวมาดำรงค์ชีวิตไหมคะ
1. มีความรับผิดชอบและมีวินัยไหม = ถามตัวเองยัง2. ซื่อสัตย์ไหม = ถามตัวเองยัง3. ขยันและใฝ่รู้ไหม = ถามตัวเองยัง💥 สำคัญสุด เป็นคนดีและเสียสละ เพื่อสังคมและสาธารณะบ้างไหม = ถามตัวเองยังจบที่ไหน ไม่สำคัญเท่า มีสิ่งเหล่านี้หรือเปล่า เรียนไม่เก่ง ก็สามารถเหนือกว่าคนเรียนเก่งได้ เพราะมีความเป็นมนุษย์มากกว่า สิ่งเหล่านี้
ผมชอบคำที่คุณจั๊ดบอกว่า "แต้มต่อ" อันนี้ คือความจริงแท้ที่สุด Peak สุดใน EP. นี้ คือการจบมหาลัยชั้นนำ ย่อมมีแต้มต่อเหนือกว่ามหาลัยอื่นๆ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า แต้มต่อนี้จะอยู่ได้ตลอดไป อาจจะโดนแซงทีหลังก็ได้ หรืออาจจะนำม้วนเดียวจบก็ได้ เป็นไปได้ทั้งสองแบบ ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลเองและปัจจัยอื่นๆ ภายนอกที่ผ่านเข้ามาในชีวิต แต่สุดท้าย การประสบความสำเร็จในชีวิต ก็ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ "แต้มต่อ" นี้เพียงอย่างเดียว เป็นเพียงปัจจัยที่ได้เปรียบหนึ่งเท่านั้น
ผมเองสอบได้รอบโควต้า วิศวะซอฟแวร์ของ มอ. แต่อยากเป็นหมออนามัยเลยเลือกราชภัชฯ เลยมองว่ามันอยู่ที่ความคิดคนอื่นมากกว่า ปัจจุบันผมทำงานกับชุมชนมีความสุขมากครับ
สำหรับผมนะครับ คนไทยควรเลิกมองอุดมคติที่สวยหรูได้เเล้ว เเละหันกลับมามองความเป็นจริงที่ว่า เรียนที่ไหนมันก็ไม่มีทางเหมือนกัน อะจะบอกในฐานะที่ผมก็อยู่ในมหาลัยระดับต้นๆเช่นเดียวกัน ผมจะบอกเเค่ว่า เเค่การเรียนการสอนมันก็ต่างเเล้วครับ เคยถามพี่อีกมหาลัยที่เขาไม่ได้ดัง ในหลักสูตรเหมือนๆกันที่เรียน พี่เขาตอบว่านี่ต้องเรียนถึงขนาดนี้เลยหรอ เเต่ไอ้ที่เราถามไปในสายตาของอาจารย์ที่สอนเรามันเเค่ละดับเบื้องต้นที่เราเรียนเอง นั่นเเหละคือคำถามที่ว่าทำมหาลัยไหนๆก็ไม่เหมือนกัน ทั้งด้านคุณภาพที่สอน คุณภาพบุคคลากรที่จบมาเเล้วได้งาน คุณภาพของอาจารย์ที่เข้าไปสอน หรือคอนเนคชั่นต่างๆล้วนมีผลทั้งสิ้น เราในฐานะคนที่สอบได้มหาลัยดัง คุณต้องมองมุมกลับว่าพวกผมต้องเจออะไรบ้าง ต้องทำอะไรบ้างถึงได้เข้ามหาลัยนี้ มากกว่าไหม? เราไม่ได้คิดจะหลับตาตื่นขึ้นมาเเล้วได้เข้าเลยนะเว้ย เราต้องติวเป้นปีๆ อดหลับอดนอนกันเป็นเดือนๆเพื่อเตรียมสอบเข้า ทำไมไม่มองมุมนี้ เเละหลายๆคนยังมีหน้ามาถ่มถุยความพยายามของพวกเราอีกนะ ถ้าคุณทำไมได้คุณก็อย่ามาพาลคนที่เขาทำได้ไหมอะ อยากฝากให้คิด
จริง เพื่อนผมปวส.เรียนๆเล่นๆไปวันๆจบมาติดโควต้าธัญบุรีเฉย ผมละอึ้ง ทั้งๆที่ทุกวิชาลอกเพื่อนทั้งหมด ตอนสอบก็ยังไม่ผ่านมาตรฐานวิชาชีพด้วยซ้ำ อึ้งเลยติดกันเฉย
ความเห็นส่วนตัวนะครับ ......การศึกษา คือ การหาความรู้ ใช่ที่สถาบัน.........ผมมีลูก จะสอนลูกว่า เรียนที่ไหนก็ได้ ขอแค่ จบมาแล้วมีงานทำเอาตัวรอดได้ ไม่เอาเปรียบสังคมและคนอื่น
สอนผิด
@@wongyara1 แล้วจะสอนยังไงดีครับ
อย่าเห็นแก่เพียงตัวเอง ทำงานที่สุจริตพัฒนาชีวิตตนเอง แล้ว พัฒนาครอบครัว ประเทศชาติเลี้ยงตนเอง และ *ข่วยเหลือสังคมได้* ตามกำลังความสามารถ
สอนผิด อย่าพึ่งมีลูกไปคิดใหม่
แตกต่างกันที่มาตรฐาน ในการวัดผลของเด็ก ความเข้มข้นในการสืบค้นความรู้ความสามารถของเด็ก และการรีดประสิทธิภาพของเด็ก ซึ่งมหาวิทยาลัยชั้นนำทำได้ดีกว่า แต่ไม่ใช่เด็กที่เรียนจะมีโอกาสที่แตกต่างเพราะการศึกษา จะแตกต่างเพราะอุปนิสัย และความพยายามตั้งใจของผู้เรียน เพราะสมัยนี้ความรู้ ไม่ได้อยู่ที่มหาลัยชั้นนำ ความรู้ตอนนี้สามารถเรียนรู้ผ่าน อินเตอร์เน็ต ได้ ขึ้นอยู่ที่ attitude ของผู้เรียน
จริงค่ะ เด็กบางคนต้องเรียนเพราะใกล้บ้าน เพราะทางบ้านไม่ได้มีกำลังพอที่จะส่ง ต้องเรียนเพื่อให้ได้วุฒิมา
อีก10ปี มหาวิทยาลัยอาจจะปิดตัวลงเยอะมาก เพราะสิ่งที่สอนในมหาวิทยาลัย นั้นนำไปใช้ได้น้อยมากๆ เพราะตอนนี้มีคอสเรียนโดยตรงกับสิ่งที่อยากเรียนแล้ว ไม่ต้องมาเข้ากิจกรรมมารับน้องมานั้นมานี่
สิบปีมานี้เปลี่ยนเป็นมหาลัยนำหน้ากันหมดปิดแล้วไปโฟดัสคุณภาพก็ดีครับ
ใช้เป็นพื้นฐานที่นำไปต่อยอด
ไม่ต้องรอถึง 10 ปีหรอก ตอนนี้ มหาลัย/คณะ ที่ไม่มีคนเรียนก็เริ่มทยอยยุบไปบ้างแล้วม.กรุงเทพ คณะสื่อสารมวลชน นิเทศ วารสาร บางมหาลัยไม่มีคนเรียนจำเป็นต้องยุบหรือรวมกับภาควิชาอื่นม.นเรศวร ข่าวจะยุบคณะสังคมศาสตร์ม.ศิลปากร ยุบภาควิชาปรัชญา
สนับสุนให้มีคอร์สเฉพาะทางครับ ให้คนจบป.ตรีเน้นเรียนคอร์สเแพาะทางเพื่ออัพความรู้อัพสกิลไม่จำเป็นต้องเน้นเรียนป.โทอย่างเดียว
ฟังแล้วดีมากเลย เพราะความเชี่ยวชาญ มันสามารถต่อยอด ไปยัง ความเป็นเลิศ และความคิดสร้างสรร
อยากให้ทุก ม. คุณภาพเหมือนกัน ก็ต้องใช้หลักสูตรการสอนเหมือนกัน อาจารย์ความรู้ระดับเดียวกัน การสอนเหมือนกัน ที่สำคัญ! ตัดเกรดโหดเหมือนกัน ประเทศไทยต้องไม่ปล่อยเกรดได้แล้ว เด็กคนไหนยังไม่ผ่านก็สอนจนกว่าจะผ่าน ไม่ใช่อัพคะแนนให้
เราไม่ได้จบราชภัฏ แต่เพื่อนเราจบจุฬาเก่งจริงๆ มาเรียนที่ ตปท ก็สอบได้คะแนนระดับต้นๆ ยอมรับ ระดับมันสมอง ความคิด เวลามันเตรียมตัวสอบเค้าเน้นเอาคะแนนต้นๆ ถึงเต็ม ไม่ใช่คิดแค่สอบผ่าน
นักเรียนทุนก็แบบนั้นแหละครับ ยิ่งทุนรัฐบาลทุนมหาลัย ต้องรายงานผลการเรียนตลอด เรียนไม่จบโดนปรับเละ เรียนนานกว่าหลักสูตรกำหนดก็ต้องเขียนรายงานเหตุผล การเอาทุนมาเรียนไม่ใช่เรื่องล้อเล่นนะครับ เขาถึงต้องตั้งใจเพราะไม่ใช่ทุกคนที่มีโอกาสแบบนี้ ทำไม่ดีคนรุ่นถัดไปก็ซวย ทางเมืองนอกเขาก็อาจจะไม่พิจรณารับเข้าเรียน
เพื่อนเราติดจุฬา จบมาได้ 2.5 นะ (เห็นว่าแบบนั้น) ทั้งๆที่ตอนเรียนมัธยมได้สามกว่า จะเรียนได้ดีไหมขึ้นอยู่กับตัวเอง เราไม่ได้ดูถูกอะไรเลย ตอนเรียนมัธยมเพื่อนเราเก่งกว่าเราอีก คณะที่เรียนก็ไม่ได้เรียนยากเว่อร์อะไรนะ แล้วแต่คนจริงๆ กะเพื่อนเราอีกคนสอบไม่ติด ไปเรียนอีกที่ แต่ได้เกรด 3+ (เรียนราม ใครว่าง่าย ไม่มีคะแนนเก็บ แล้วแต่สาขาล้วนๆ) บางสาขาไม่มีคะแนนเก็บ สอบจากคะแนนfinalล้วนๆ
@@raiponcemignonne1590 พอเถอะไอเรื่องเอาคนนั้นคนนี้มาเปรียบเทียบอ่ะ เลิกซะที ถ้าเราเห็นเขาเป็นเพื่อนจริง เราก็ไม่ควรเอาเพื่อนไปเปรียบเทียบกัน เราจะคบเพื่อนเราสนใจการศึกษาเขามากกว่านิสัยเหรอ
@@thaihairband ก็ไม่ได้เปรียบเทียบนะ แค่เล่าให้ฟังไม่ได้มาเผาเพื่อน เค้าสอบติดจุฬาคือโครตดี ส่วนเรื่องเรียนจะดีหรือไม่ดีไม่ว่าจะเรียนที่ไหนมันขึ้นอยู่ที่ตัวเองนะเพื่อนอยู่จุฬาก็เยอะนะ ที่พูดไม่ได้บอกว่าคนเรียนจุฬาเกรดแย่ทุกคน คนเรียนดีๆมันมีเยอะ เพื่อนอีกคนได้เกียรตินิยม จบจุฬา คือมันธรรมดาที่เค้าเก่ง มันมีทุกที่ในสังคมว่าจะเก่งหรือไม่เก่ง เรียนปานกลางก็มี แต่ค่าของคนคือความสุขได้เรียนอะไรที่ต้องการ บางคนต้องการเพราะค่านิยม จนซิ่งหลายรอบ อันนี้มันเรื่องของเค้า กำลังตะบอกต่อให้เรียนที่ไม่ดัง แต่ตั้งใจมุ่งมั่น ได้เกรดดี มีงานทำแค่นั้น - ไม่ได้เปรียบเทียบ ไม่ได้เผานะ แต่แค่ให้ตีความใหม่ว่าต่อให้คุณเรียนที่ไหน ถ้าคุณตั้งใจจริง เกรดก็ได้ดีแน่นอน เหมือนราชภัฏต่อให้คนดูถูก แต่ถ้าคนตั้งใจเรียนเค้าก็ได้เกียรตินิยม ปล่อยเกรดเฉลี่ยไม่รู้นะ เพราะไม่ได้เรียนที่นี่ การสอนไม่รู้ กำลังจะสื่ออะไรก็ตีความใหม่นะ ไม่งั้นคุณจั๊ดนักข่าวเค้าจะมานั่งพูดทำไม เรียนที่ไหนไม่ว่าจะสถาบันดังหรือเปล่าไม่สำคัญ ถ้าตั้งใจเรียนเกรดได้ดีทุกคน ค่าของคนมันที่คุณจะคิดว่าเพราะสถาบันเหรอมันไม่ใช่ความตั้งใจของคนที่จะเข้าไปเรียนเหรอ? ต่อให้สถาบันไม่ดังก็ประสบความสำเร็จได้ไม่สนใจหรอกนะ ว่าใครการศึกษาดีกว่า เพราะก็เพื่อน แต่กำลังจะชี้ว่าต่อให้เรียนที่คนดูถูกแค่ไหน ถ้าคุณตั้งใจเรียน ก็สามารถเรียนได้ดี มีงานทำผิดประเด็นป่ะ
@@raiponcemignonne1590 เพื่อนผมหรือคนที่ผมรู้จักทุกคนที่เรียนราชภัฎ ไม่มีใครเคยเป็นคนเรียนเก่งซักคน อยู่กลางๆถึงท้ายห้อง ไม่ได้ดูถูกอะไรนะ แต่มันเป็นเรื่องจริง แต่อาจจะมีคนเก่งอยู่บ้างแหละ แต่คงน้อย
มันควรเคารพกันนะ ไม่ว่าจะจบจากที่ไหน.. คนเท่ากันฝึกได้คือกัน...
สำหรับผม การเรียนรู้มียู่ตลอดทุกวัน ไม่เคยหยุด ไม่จำกัดสถานที่
มหาวิทยาลัยทุกที่ ไม่ได้บ่งบอกว่าจบมาแล้วจะประสบความสำเร็จสิ่งสำคัญสุดอยู่ที่จบมาแล้ว สามารถสร้างความสำเร็จให้กับตัวเองและครอบครัวอย่างไรมากกว่า จะสังเกตได้ว่ามหาเศรษฐีส่วนใหญ่ ไม่ได้เริ่มต้นการจบที่มหาวิทยาลัย แต่ส่วนใหญ่มหาลัยจะนำเกียรติบัตรไปให้ คิดดูกันดีๆนะครับ
สำหรับเราจะจบจากไหนไม่สำคัญ ขึ้นอยู่กับความถนัดและความสามารถ คนบางคนเรียนเก่งแต่ทำงานไม่เป็นก็มี บางครั้งการสอบราชการเด็กราชภัฏกสอบบรรจุได้ก่อนจุฬาฯก็มี เรื่องนี้จะไม่เกิดการโต้เถียงถ้าคนไม่ไปแบ่งแยกว่าเด็ก ม. ไหนดีกว่ากัน หยุดเถอะการแบ่งแยกมันไม่มีสาระสำคัญอะไรในการพัฒนาประเทศมีแต่จะทำให้เกิดความแตกแยก
ที่ราชาภัฏมันสอบข้าราชาการได้เพราะอะไร เพราะมันมีหลายแห่งส่วนใหญ่ก็จะเป็นตามตำบลของจังหวัด เพื่อให้ทำงานรองรับกับหน่วยอะไรละ ถ้าไม่ใช่ข้าราชาการ
จบ ม.รัย สตาร์ทเท่ากัน ราชการ
แต่ถ้าทำธุรกิจ จบไหนสำคัญมากๆครับ ผมเองได้ connection มาจากเพื่อน จากรุ่นพี่เยอะมาก ปัญหาคือราชภัฏต้องกลับไปมองหลักสูตรตัวเอง พัฒนาให้ตามได้มากกว่านี้ตอนนี้ยังห่างกันไกลมาก
สมองที่ใช้หาเงินกับการเรียนมันคนละส่วนกัน พิมรี่พายไม่เรียนมหาลัยเลยรวยกว่าทุกคน จบจากไหนไม่สำคัญผมให้ค่าเฉพาะสาขาที่มีความเป็นวิชาชีพสูง เช่น แพทย์ ถาปัด การขับร้องการแสดง พวกนี้ขึ้นกับตัวบุคคลจริงๆ แต่คุณภาพการเรียนการสอน ถ้าใครสักคนจะมาบอกว่าเหมือนกันนี่คือตรรกะพังมาก
@@Aunzalambretta ราชภัฏ ไม่ใช่ราชภัฏเน้อ!! แล้วใช้สรรพนามว่ามัน ฟังแล้วสะดุ้งได้เลย"
จุฬา เลือกเด็ก ใครจะเข้าก็ต้องสอบ และอยู่ในเกณฑ์ที่เขากำหนดราชภัฏ มีแทบทุกจังหวัด เป็นทางเลือก ที่ไม่มีเกณฑ์กำหนดที่ยุ่งยากให้โอกาศกับคนส่วนใหญ่ สุดท้ายก็ได้นิสิตที่มีใบปริญญาเหมือนๆกัน
ใบปริญญาจุฬากับราชภัฏไม่เหมือนกันครับ ลองเสิร์จดูแล้ว
@@VisibleMRJ 5555555 อันใหนเอาไปจำนำได้ครับ
ไม่ได้เหยียดนะ ไม่เหมือน!!
คุณเข้าใจผิด ราชภัฏก็เลือกคน มีการสอบเข้าไม่รู้ข้อมูลอย่าแสดงความเห็นมั่วๆม.ราม มสธ. ถึงไม่มีการสอบเข้า (สอบเข้าบางคณะ)
@@fundeekongsuk7815 ผมบอกว่า ไม่มีเกณฑ์ กำหนดที่ยุ่งยาก ไม่ได้บอกว่าไม่มีการสอบ
คนเรียนหนังสือเก่ง คนฉลาดหัวไว คนทัศนะคติดี คนทำงานเก่ง ล้วนแต่เป็นคนละเรื่องกันคนไทยชอบตัดสินคนจากโปรไฟล์ถึงราชภัฏคุณภาพระบบด้อยกว่าจริงแต่การเอาเป็นประเด็นการตัดสินคนคนนึง หรือบูลลี่คนที่สอบเข้าม.ดังๆไม่ได้ความสามารถคนเราต่างกันหลายทางเด็กมหาลัยดังๆอาจจะต้องพึ่งพาเด็กช่างเด็กราชภัฏเด็กเรียนไม่จบสังคมไทยอย่าไปให้ค่าเด็กเรียนม.ดังมากบางคนจบหมอยังฆ่าแฟนทิ้งเลย
ถึงจะภจึภึภุคค_คไป_คภึ_ค_คไป_ค_ค_คภึไป_คนะ_นะภึึไม่พึภึภึำึภึำึำึำตำึำึพึพนะ_ต
คุณจะรับคนทำงานคนนึงที่ไม่มีประสบการณ์ ก็ต้องดูใบเกรดจากกระดาษหรือป่าวครับ ว่าจบจากไหน คะแนนเป็นยังไง นอกจากนั้นก็ดูจากทักษะอื่นๆในตอนสัมภาษณ์ ว่าพูดคุยรู้เรื่องมั้ย มีตรรกะในการตอบคำถามยังไง ถ้าไ่ม่ดูใบเกรดประกอบจะตัดสินคนยังไง เวลาสัมภาษณ์มีนิดเดียว ประสบการณ์ก็ยังไม่มีทั้งนั้นถ้าคนสองคนมีทักษะการตอบคำถาม EQ หรือประสบการณ์พอๆกัน ยังไงเจ้าของบริษัทเค้าก็ต้องเลือกคนที่มหาลัยดีกว่าเข้าทำงานครับ เพราะการเข้ามหาลัยดีๆได้ มันเป็นข้อพิสูจน์ระดับนึงว่า ตอนสอบเข้าคนนี้มีความพยายาม ความขยันในการอ่านหนังสือมากกว่าคนที่สอบไม่ได้ ยังไงการเข้ามหาลัยที่ดีกว่าก็มีข้อได้เปรียบกว่าครับ ไม่ได้เกี่ยวกับค่านิยมอะไร
@@pattum2454 ผมรับงาน รับคนทำงานเป็น ไม่เกี่ยวกับการศึกษา เพราะงานบางอย่างการศึกษาไม่มีสอนในการเรียน ใบปริญญาแค่กระดาษ ส่วนเรียนสูงแต่หมาไม่รับประทาน เจอมาเยอะนะ แถมอีโก้ ตามมาอีก
@@Thomas-vz7hx คุณจะรู้ได้ไงว่าเค้าทำงานเป็นจากการสัมภาษณ์ และคุณเป็นใคร เป็นhrเหรอ?
ไม่มีรั้วไหนดีกว่ากัน สุดท้าย “วิชาชีวิต” และประสบการณ์ด้านการงานของแต่ละคนเป็นตัวกำหนดความสำเร็จของคนๆนั้น
ปัจจุบัน เรามาร่วมมือให้ประเทศเราเจริญกันดีกว่าครับคุณจั๊ด นำเสนอได้ดีมากครับ
สุดจัด ชอบเล่าข่าวของคุณจั๊ดฟังเพลินและได้รับความรู้ และข้อคิดดีๆๆมากๆคะ ขอบคุณนะคะ
ลึกมากเลยค่ะมันดีมากเลย♥️ ในใจข้างในนั้นไม่ต้องคิดอะไรมากเลยค่ะรู้กันอยู่แก่ใจดีอยู่แล้ว🤍
สุดท้ายก็มีแต่คอมเม้นไปแซะว่าเด็กม.ดัง ทำงานไม่เป็น ไม่คิดว่ามั่งหรอว่าเด็กที่ตั้งใจ มีวินัย ความรู้จนสอบเข้าม.ดังได้ พอไปอยู่ในสังคมทำงาน เค้าก็จะตั้งใจเหมือนตอนเรียนหนังสือนั่นแหละ
จุฬา มธ.เกษตร มศว. ความใฝ่ฝันของผม สุดท้ายมาเรียนราชภัฎ ครับ
ผมเคยฝึกงาน นศ.ฝึกงาน ทั้งรัฐและเอกชนผมไม่ได้เหยียดนะ แต่ความรู้ความสามารถต่างกันจริงๆ
รู้จักพอ...ชีวิตมีสุข
ขอบคุณคุณจั๊ดสำหรับแนวคิดดีๆค่ะ ไม่ว่าจะเรียนหรือจบจากสถาบันใด ไม่ใช่ตัวชี้วัดว่าบุคคลผู้นั้นจะประสบความสำเร็จในชีวิตหรือไม่ การที่บุคคลในสังคมสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข มีระเบียบวินัย เคารพกฎ ระเบียบ และเคารพสิทธิในสังคมและผู้อยู่ร่วมในสังคมต่างหากที่เป็นตัวชี้วัดความดีความสำเร็จของบุคคลในสังคม แต่ที่เห็นในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่จะวัดกันที่ความร่ำรวย เรียนสถาบันไหน ทำงานอะไร อยากให้ความคิด และความเหลื่อมล้ำนี้จบที่รุ่นเราค่ะ
เค้าเป็นนักข่าว ก็ต้องพูดไปแบบนั้นตามบท ในใจจริงๆคิดอะไร เค้าไม่บอกคุณหรอก
@@puddingman2331 ใช่ครับ เผลอๆส่งลูกตัวเองเรียนนานาชาติ จุฬา ธรรมศาสตร์ มหิดล
เรียนที่ไหนก็เหมือนกัน มันแค่คำพูดหวานหูของคนชั้นนำ เอาเข้าจริงๆในสังคมไทยคนของใครต่างหากที่เก่งที่สุด จบจากไหนก้สู้คนของใครไม่ได้
ถ้าคิดแบบนั้นก็แปลว่า ชนชั้นนำจะเป็นชนชั้นนำเสมอไป คนจนจะไม่เลื่อนชั้นเป็นคนชั้นกลาง และคนชั้นกลางจะไม่มีวันรวยขึ้น ส่วนคนที่รวยอยู่แล้วจะไม่ตกต่ำลงมาได้ แต่อันที่จริง ปท.มีชนชั้นกลางเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ การใช้เส้นแม้มีอยู่จริง แต่ไกลจากการเป็นแกนหลักในการรับเข้าทำงานของสังคมมาก แม้แต่ นักเรียนนายร้อย ร้อยละ 80 ก็เป็นนามสกุลใหม่ที่ไม่เคยมีในกองทัพมาก่อน ถ้าสังเกตดี ๆ ขรก.ส่วนใหญ่ไม่ได้มีพ่อแม่หรือครอบครัวเป็นคนรวยมาก่อน เอกชนก็เช่นกัน รับเอาที่ความสามารถมากกว่าใช้เส้น เว้นแต่ลูกเจ้าของหรือผู้ถือหุ้น
ถ้าคิดได้แค่นี้ ก็จะอยู่แค่นี้แหละครับจาก ผม คนจนที่สุดสู่ชนชั้นกลาง จากการจบราชภัฏ
คุณจั๊ดพูดถูกมากครับ ผมอยากเรียน มอกรุงเทพ เพราะผมอยากเรียนสาขาการกำกับการแสดง
จะเรียนจบจากสถาบันไหนก็ไม่เท่าลูกๆเป็นคนดี ไม่สร้างปัญหาให้พ่อให้แม่ และไม่เป็นปัญหากับสังคมแค่นี้ก็ภูมิใจและนะลูกๆ
ตีตนเสมอท่าน เรียกคนดีได้ไหมครับ
ค่านิยมในการเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเริ่มเปลี่ยนไปแล้ว จำนวนนักศึกษาในบางคณะเริ่มลดน้อยลง ปัญหานี้เริ่มรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
มาฟังซะ จะได้รู้สักที จะได้ จบ แล้วไป ตั้งใจ ให้ชีวิต ประสบความสำเร็จ ตามที่หวังนะ
ผมเองเรียนจบโรงเรียนอัสสัมชัญ ทางบ้านส่งให้ผมไปเรียนศรีปทุมหรือเอแบคได้สบายๆ แต่ตอนนั้นกระแสด้อยค่าราชภัฏมาแรงเลยลองไปเรียนราชภัฏทุกวันนี้ก็เรียนราชภัฏ(ฝืนเรียน) ที่แน่ๆเขาพัฒนาหลักสูตรใหม่ แต่ที่พัฒนาไม่ได้เลยคือสังคม พวกเขาไม่ยอมรับฟังความเห็นต่าง ทำให้นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่กล้าออกเสียง ไม่กล้าเถียง ไม่กล้าคิดต่าง อาจารย์และนักศึกษาเองก็ไม่ชอบคนเห็นต่างมากนัก คนที่หัวรุนแรง หัวศิลปิน ไม่ควรเรียนราชภัฏอย่างยิ่ง เพราะเมื่อใดก็ตามที่คุณเห็นต่างเมื่อนั้นคุณจะกลายเป็นแพะในฝูงแกะทันที อาจจะเป็นเพราะนี่รึป่าวทำให้บริษัทดังๆไม่กล้ารับเด็กราชภัฏ พวกเขาต้องการคนเห็นต่าง มองสร้างสรรค์มาพัฒนาองค์กร แต่ราชภัฏส่วนน้อยมากจะเป็นแบบนี้ และส่วนใหญ่คนพวกนี้ จะไม่มีโอกาสแสดงฝีมือเพราะถูกปิดกั้นทางสังคม มีลูกบอกลูกมีหลานบอกหลานว่าอย่าเรียนราชภัฏไม่งั้นชะตากรรมจะเป็นเหมือนผม ต้องอดทน อยากพูดอะไรก็ไม่ได้พูด ตอนเรียนอาจารย์ถามไม่มีใครกล้าตอบ มีผมตอบอยู่คนเดียวเนี้ย มีตอบผิดบ้างถูกบ้างก็ว่ากันไป ผมไม่อาย ผมหน้าด้าน😂 เหมือนกันตอนออกเสียงทำกิจกรรมน้องหล้าคำแพงและเฟรชชี่ เพื่อนผมฉลาดลํ้ามากต้องการให้การแสดงแตกต่างไปจากเดิม เพราะการแสดงที่เพื่อนคนอื่นคิดกัน จัดมาแบบนี้ทุกปี เพื่อนผมเลยต้องการสิ่งใหม่ๆเพื่อให้กรรมการจับทางไม่ได้ งบประมาณเท่าเดิม แค่ปรับเปลี่ยนการแสดง สุดท้ายตอนโหวตมีผมแค่คนเดียวเห็นด้วย เพื่อนคนอื่นไม่เห็นด้วย เพราะเพื่อนคนอื่นไม่ใช่เพื่อนผม ผมคิดอะไรทำอะไรพวกเขาจะไม่มีวันเห็นด้วย พวกเขาจะเห็นด้วยก็ต่อเมื่อเป็นเพื่อนรัก นับตั้งแต่ตอนนั้นผมเกลียดประชาธิปไตยแบบเพื่อนรักทันที สมมุติว่าคุณฉลาดมาก คุณไม่มีเพื่อนเลย แต่อีกคนโง่มากมีเพื่อนอยู่14ล้านคน ต่อให้คุณคิดดียังไง 14ล้านคนจะไม่มีวันเลือกฝั่งคุณเพราะคุณไม่ใช่เพื่อนเขา นี่แหละครับ ไม่มีเหตุผลเอาซะเลย 😂😂😂
ผมจบปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ผมมีญาติเรียนจบจากจุฬา และมีญาติเรียนจบจากราชภัฏ ผมถามว่า จุฬา กับ ราชภัฏ ควรเลิกดราม่าได้แล้ว อายฟ้าดินบ้างนะครับ จากบ่าวเก่งคนมักม่วนครับ
ยังคุยกันเรื่องนี้ไม่จบอีกเน๊าะจั๊ดเอ้ย ถ้ามันเก่งกันจริงๆ ประเทศไทยเรามันมีเทคเป็นของตัวเองแล้ว นาซ่า รอสคอสมอส อยู่ตะวันตกทั้งนั้น สังเกตุดีๆ เจ้าสัวไทยที่รวยๆก็ทำ ของกิน ของใช้ เหล้าเบียร์ ธุรกิจผูกขาดเรื่อยเปื่อย ผมก็จบวิศวะราชมงคล 10กว่าปีก่อน ทำงานเขียนแบบแม่พิมพ์เอ็นซีให้บริษัทญี่ปุ่น ซาโจ้ที่ส่งเข้ามาอบรมให้พวกผม เขาก็จบเทียบเท่าแค่ ม.ปลาย แต่เขามีตำเเหน่งเป็นเอ็นจิเนียร์ครับ ใช้ประสบการณ์ชั่วโมงบินล้วนๆ
ทุกสายวิชาชีพ ทุกสถาบัน ก็มีโควต้าในตัวมันเอง การกระทำของเรา ตอนม.4_5_6 +วาสนาจะนำทางเราไป สู่รั้ว ม.ต่่างๆบ้างก็ได้ที่ดีแต่ไม่ตรงโอกาส เลือกใกล้บ้านขาดทุนทรัพย์แต่... จบ ม.6 ก็รวยและประสบความสำเร็จ ก็มีถมเถไป
ยอมรับครับ ม.ดังของรัฐยังงัยก็มีความโดดเด่นกว่าแต่ข้อเสียคือคนที่จบจากสถาบันเหล่านี้มักเหยียดคนอื่น
ผมทำงานร่วมกับเด็กจบ ม.ดัง ที่ผ่านมามีแต่นิสัยดีๆทั้งนั้นครับ ที่เจอก็มีแต่คนจบ ม.ไม่ดังแล้วมาแซะคนจบ ม.ดัง ซะมากกว่า
@@chaiiriver จริงค่ะ ดูจากดราม่าแต่ละครั้งในโซเชียล มันมักเริ่มมาจากเด็กมอไม่ดัง ไปแซะเด็กมอดังก่อนทั้งนั้น โดยเฉพาะจุฬา มธ เห็นโดนตลอด
น้องที่ทำงานจบ ม.ราชภัฏ ความสามารถโดดเด่นมากๆ เก่งรอบด้าน คิดว่าคุณภาพ คุณค่าอยูที่ตัวบุคคลมากกว่า
ใช่
เด็กราชภัฏบางคนเรียนเก่งนะ บางคนก็สอบติด ม.ดังๆดีๆ ได้แต่ไม่มีทุนหรือที่บ้านไม่มีกำลังซัพพอร์ต เลยทำให้ต้องเข้าราชภัฏก็มี
1%
ค่าของคนไม่ได้ขึ้นกับสถาบันและการศึกษาระดับใหนครับ มันขึ้นกับคุณงามความดีของแต่ละคน เพราะทุกที่ย่อมมีทั้งคนดีและคนเลว สังคมวุ่นวายเพราะความคิดแบ่งแยกจนทุกวันนี้
จำได้ว่า ชีวิตมีความสุขมาก..เพราะไม่ได้สอบ entrance เหมือนคนอื่นๆ เพราะได้ โคต้า ศิลปะตอนม.6 เข้า ราชฎัฎ ที่หนึ่งในกรุงเทพ.ไม่มีการเรียนพิเศษเตรียมตัวสอบentrance และเที่ยวช่วงปิดเทอมได้อย่างเต็มที่. ตอนเรียนราชภัฏก็สนุกมากกับเพื่อนและตอนมาเรียนต่างประเทศก็สบายๆ แต่ส่วนตัวคิดว่าโลกทัศน์ของครูไทยส่วนใหญ่กับครูต่างชาติแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงไม่น่าเชื่อว่าเมืองไทยยังมีความกดดันแบบนี้อยู่อีก. เห็นด้วยว่าควรจะมีการส่งเสริมวิชาการเรียนแบบหลากหลายมากกว่านี้ไห้สอดคล้องกับชุมชน. และครอบครัวไม่ควรกดดันไห้เด็กเรียนพิเศษที่เค้าก็ไม่ได้สนใจมากเกินไป, โดยไม่ได้ใช้ชีวิตตามวัย แต่ส่งเสริมในสิ่งที่เค้าอยากจะเป็นมากว่า โดยที่เด็กบางคนอาจะไม่ได้เหมาะกับการเรียนในมหาวิทยาลัยก็ได้ แต่ก็ไม่รู้จะเรียนอะไรเพราะไม่มีใครให้ความรู้พอส่วนตัวแล้วไม่เคยคิดเปรียบเทียบเรื่องการศึกษาเลย. แต่จะ focus กับการใช้ชีวิต และพัฒนาตัวเองไห้มีความสุขมากกว่า. ตอนนี้มองย้อนกลับไป โชคดีจังที่ ที่มีความคิดนี้ได้ตั้งแต่เด็กๆ ☺️
คนสมัยก่อน30กว่าปีที่แล้ว เด็กในกรุงเทพอยากเข้า จุฬาและธรรมศาสตร์เราก็เช่นกันแต่ก็ไม่กล้าพอเพราะคนสอบติดต้องหัวดีจริงๆ มันคือความฝันได้แต่มองนักศึกษาเวลาผ่านไป และการสมัครงานในกรุงเทพส่วนมากดูหน้าตา บุคคลิกการศึกษา แต่ต่างประเทศส่วนมากดูที่การทำงานมากกว่า
จากประสบการณ์ ขอให้มีความขยัน ความซื่อสัตย์ ใส่ใจในการงานที่รับผิดชอบ จบที่ไหน ก็ได้ เวลาทำงานต้องไปเริ่มนับหนึ่งเหมือนกัน จบที่ดีๆ จอดมาก็เยอะ ความอดทนไม่มี
โดนใจมากค่ะ ตอนดิฉันทำงานนายไม่ให้บอกใครว่าดิฉันจบเอกอาหารและโภชนาการและไม่ได้จบตรีคือนายถูกซื้อตัวและดงดิฉันเข้าไปทำงานในตำแหน่งเลขา และคนทีทำงานจบม.ดังทั้งในและตปท. และจุดพีทคือMDรับนักศกษาฝกงานจากราชภัฎและม.สามย่านท้้งป.ตรีป.โท ผลสรุปเสร็จสิ้นการฝกงานเด็กราชภัฏMDทำหนังสือของจองตัวเด็กกลุ่มนี้รับผิดชอบงานสูงเกินมาตรฐานที่คาดหวัง แต่เด็กม.ดังทำงานแบบชิวๆและคำพูดว่าไปไหนๆใครๆก็รับแต่จะเลือกว่าที่ไหนงานสบายรายได้ดี...ดิฉันชอบคอมเม้นของคุณมากค่ะตรงใจ😇🥰
อันนี้จริง จบสูงอีโก้ เยอะจัด
ข้าราชการหลายๆคน จะเรียน ป โท เอก ที่ ม ราชภัฎเพื่อเอามาเพิ่มวิทยะฐานะ เรียน ส-อา จบมาได้วุฒิ ป โท เอก ส่วนสาขาวิชาที่เรียนก็ไม่ได้เน้นว่ามีประโยชน์อะไรมาก เน้นให้ได้ ป โท เอก เท่านั้น บางสาขาส่วนตัวก็มองว่างั้นๆ หลายๆคนจบ ป ตรีมาแต่ภาษาต่างประเทศสำคัญๆยังพูดไม่ได้ ไม่ได้ลบหลูุ่แต่อยากให้พัฒนาระดับ ป ตรี ขั้นต่ำต้องพูดอ่านเขียนภาษาสากลได้ดีพอใช้ ก็คงเห็นว่าทำไมข้าราชการดถึงเรียนต่อ รภ คหสต
คือ ไม่ได้อยากด้อยค่าวุฒิ หรือ สถาบันนะ ข้าราชการที่เรียนต่อ ป.โท เยอะสุดก็ครูครับมันจะมีอยู่ 2 กลุ่ม1. กลุ่มที่เรียนเพื่อปรับวิทยฐานะให้เร็วขึ้นจาก 4 ปี เหลือ 3 ปี2. กลุ่มที่เรียนเพื่อสอบเป็น ผอ. โรงเรียน (เรียนบริหารการศึกษา)เมื่อก่อน 2 กลุ่มนี้ได้ทั้งขึ้น ทั้งล่อง คือ ได้ทั้งปรับลดเวลาทำวิทยฐานะให้เร็วขึ้น + ได้สอบเป็นผอ.รร. เพราะกระทรวงมันไม่ได้บังคับเรื่องวิชาเอกที่จบ คนเลยนิยมเรียน ป.โท บริหารเพื่อลดเวลาวิทยฐานะจากปกติ 4 ปีเหลือ 3 ปีหากจบ ป.โท ส่วนใหญ่ก็เรียนพวกราชภัฏ ราม เก่งหน่อยก็เกษตรศาสตร์ จุฬา มศว. แต่สุดท้ายไม่ใช่ทุกคนจะไปถึงเป้าหมาย เช่น หลายคนจบ บริหารแต่ไม่ได้สอบเป็นผอ. ก็เยอะ ส่วนใหญ่ก็ได้แค่ปรับเงินเดือน กับคุยทับถมชาวบ้านปัจจุบันใครที่บรรจุหลัง 9 ธันวา 59 จบบริหารหลังจาก ปี59 มีสิทธิ์แค่สอบเป็นผอ. กับ ปรับเงินเดือน ไม่สามารถยื่นลดเวลาทำวิทยฐานะได้แล้ว คือ ทำปกติ 4 ปีไปเลย หากจะยื่นลดหย่อนได้ต้องจบ สาขาการจัดการเรียนรู้ เช่น สาขาการสอนสังคม การสอนภาษาไทย การสอนภาษาอังกฤษ เป็นต้น และต้องมีผลสอบภาษาอังกฤษมากกว่า B2 (ต้องสอบได้ C1 ตามมาตรฐานระดับ ป.โท) ตอนนี้มันไม่ง่ายเหมือนแต่ก่อนแล้วครับสบายใจได้ ต่อให้หลุดเรียนจบมาได้ แต่การประเมินวิทยฐานะไม่ง่ายอย่างที่คิด เขาทำมาเพื่อกันลัดไก่
ฉันอีกคนที่.จบ.ปตรี.จากสถาบันราชภ้ฏ เอกคณิตศาสตร์และสถิติประยุกต์.สอบบรรจุครูติด.ตั้งแต่จบมาแค่หกเดือน ภาคภูมิใจนะที่ไม่ได้รองานนานไม่ตกงาน
เก่งมาก เก่งเวอร์❤
ใครจะจบที่ไหนผมไม่รู้ แต่ผมจวธรรมศาสตร์ เพราะผมรักธรรมศาสตร์ .ธรรมศาสตร์สอนให้รู้จักรักประชาชน
เป็นแนวคิดที่ดี และจริงค่ะ ต้องมองจุดเด่น ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมของจังหวัดนั้น ยิ่งๆเด็กๆสมัยนี้ คิดเป็น คิดเก่งค่ะ
จริงสุด
ผม เคยเถียงกับ เด็ก ราดพัดนะ เขาบอกเรียนที่ไหนก็ เหมือน กัน ผม จบ มข ทำเอกชนมา20ปี ที่กทม พอกลับต่างจังหวัด ผม สอบ ราชการ ครั้งเดียวติด ส่วนเขา ที่ได้เกียรตินิยม ราดพัด สอบ บรรจุ ตลอดชีวิต ยังเป็นคน เฝ้าหอ อยู่ เลย
มันสมองมันต่างกัน เราจบ บช ราม แต่เรายอมรับคนจบ ม ต้นๆนะ เก่งจริงๆ
แนะนำเพิ่มเติมม.หลักในแต่ละภาค มีสาขาวิชาที่ยอดเยี่ยม ในไทย เช่นมช.: นาโนเทค.......มทส: วศ. ขนส่ง......มอ:.วท. อาหาร.....นศ. ในภูมิภาค ไม่จำเปนต้องเข้ามาเรีบน ป.ตรี ใน กทม.
เราถูกคนรุ่นก่อนๆ ฝังความเชื่อ ค่านิยมแบบนี้และถุกส่งต่อกันมาถึงตอนนี้ มันเลยมีความเหลื่อมล้ำทุกวันนี้
เอาความจริงมาพูดไปเลย ชื่อเสียงของมหาลัยมันก็ได้มาจากนักศึกษาที่จบมานั่นแหละ
จริง
จงศึกษาเรียนรู้อย่าหยุดยั้ง ไม่สำคัญจบมาจากที่ไหน ขอแค่เรียนให้รู้มุ่งสู่ไป สู่เป้าหมายของชีวิตแต่ละคน สิ่งสำคัญสร้างชีวิตสร้างอาชีพ ถึงที่สุดสร้างคนสร้างสังคม สถาบันคือจุดเพียงเริ่มต้น เกิดเป็นคนมีเกียรติทุกคนเอย
วิเคราะห์ได้ดีมากค่ะ
ไม่ต้องเสียเวลามาถกเถียงกันหรอกความจริงคืออะไร เราต่างรู้กันอยู่แก่ใจ ❤️❤️❤️
ช่าายครับ ความจริงพิสูจน์ได้
ใช่ไม่ต้องไปเถียงกันหรอกยังไงราชภัฏก็สู้จุฬาไม่ได้อยู่แล้ว
@@kfc3025 แต่ราชภัฎก็ไม่มีสามกีบแค้นี้ก็ดีแล้ว
@@jittananlysholm4427 ไม่อยากพูดอะไรมากนะครับ เพราะเม้นคุณมันส่อไปแล้ว
@@jittananlysholm4427 5555 เพราะไอ้ราชาภัฏมันเป็นมหาลัยที่ดักดาน เพราะแม้แต่ประชาธิปไตยไอ้ม.นี้มันมีก็ไม่มีหลักสูตรสอน มันสมชื่อราชาภัฏจริงๆ
ไม่ต้องเถียงกันหรอก จะเรียนอะไรถ้าได้ความรู้ที่ไม่สามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้ก็ไม่มีประโยชน์อะไรเสียเวลาเรียนเฉยๆ การเรียนก็เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนากิจการของตัวเอง ถ้าไม่พัฒนากิจการของตัวเองก็เรียนไปเพื่อสมัครงานเป็นทาสบริษัท คนที่สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ก็ต้องดีกว่าคนที่มีความรู้แต่ไม่สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน วิชาที่ไม่มีประโยชน์เรียนไปก็ไม่ได้ใช้แต่ก็ต้องจ่ายค่าเรียนทำให้เสียเงินฟรี
จบจากที่ไหนไม่สำคัญวิชาพื้นฐานระดับปริญาตรีเรียนเหมือนกันถือว่าความรู้เท่าเทียมกัน คณะต่างกันต้องยอมรับ ที่สุดคือเป็นคนดี ขอบคุณจั๊ดที่หยิบยกมาพูด
ไม่น่าจะเท่านะคะ ต้องไปดูหลักสูตรด้วยแค่คนละคณะก็ไม่เท่ากันแล้ว😊
มันขึ้นอยู่กับว่าเราอยากเรียนอะไร บางทีที่ราชภัฏไม่มีสอนเช่นแพทย์ สถาปัตย์ เราก็ต้องไปเรียนมหาลัยใหญ่ที่เปิด บางทีราชภัฏสิ่งแวดล้อมก็ไม่เอื้อต่อการเรียน นิเทศ อักษรศาสตร์ เพราะไกลแหล่งเรียนรู้ ด้านครุ ราชภัฏก็เชี่ยวชาญ แต่เด็กๆไม่เข้าใจมุ่งสู่ ม ในฝัน จริงๆสำคัญเราไฝ่เรียนแค่ไหน หรือยากเรียนแค่เท่ห์ๆ เราจบมาทุกระดับเริ่มราชภัฏ ไปเมืองนอกไปจบ ม ดังระดับประเทศ ตอนทำงานเราไม่ได้ด้อยกว่าคนจบ ม ดัง ฉนั้นมันขึ้นกับควาไฝ่ของเรา ใครจะมาช่วยได้ มหาลัยแค่สถานที่ให้เราเข้าไปเท่านั้น
การจบจากสถาบันไหนมันวัดอะไร. สำหรับเรา. มันวัดที่ความพยายาม ความตั้งใจ. ไม่ใช่จากแค่การศึกษาในระดับปริญญา. แต่เป็นความตั้งใจตั้งแต่ระดับมัธยมกันเลย. หากสามารถเข้าเรียนมหาลัยท๊อปๆได้(ไม่รวมแผนกอินเตอร์ แผนกนี้ขอแค่มีเงินก็เข้าได้แทบทุกคน) แสดงว่าความพยายามในการเรียนรู้ การเข้าใจในบทเรียน. หรือแม้บางวิชาจะเน้นการท่องจำเป็นนกแก้วนกขุนทอง. แต่ก็สามารถวัดได้ว่า. ทำในสิ่งที่คาดหวังได้. ทีนี้ระหว่างเรียนในมหาลัย ตัดเรื่องสถาบันออกชั่วคราว จบมาจากที่เดียวกัน ถ้าเลือกได้เขาก็ดูเกรด ดูกิจกรรม. สามารถทำงานร่วมกับคนอื่นได้มั้ย. บางคนเรียนเก่ง. แต่ไม่ทำกิจกรรม โลกส่วนตัวสูง. รับมาก็เพิ่มปัญหาให้บริษัทอีก. ป.ล. ส่วนตัวเรา เราเลือกรพ.เวลาเจ็บป่วย. (มันเกี่ยวกับเรื่องนี้เหรอ) รพ.ที่เรารักษาตลอดคือรพ.นั้นที่มีแต่หมอจบจากจุฬา มหิดล มหาลัยรัฐ ถึงจะแพงกว่าชาวบ้านแต่ก็ยอม ดีกว่าไปเจอหมอจากมหาลัยเอกชน มีแต่เงินไม่น่าได้เรียนหมอนะเราว่า. เป็นอาชีพที่ขึ้นอยู่กับความเป็นตายของชีวิตคน. เอาใครมาเรียนก็ได้เหรอ ตรวจจากโรคนึงเป็นอีกโรคเกือบตายคารพ. เข็ดจริงๆ ถ้ารพของรัฐก็รพที่มีแต่หมอจบจากมหิดลกับมหาลัยรัฐ
ชีวิตนั้น ต้องดูไปยาวๆ คนที่จบมหาวิทยาลัยดังเก่าแก่ รวมๆ อาจจะไม่ได้ประสบความสำเร็จมากกว่าคนที่เรียนมหาวิทยาลัยที่เกิดขึ้นทีหลัง จริงอยู่มหาวิยาลัยเก่าแก่มีข้อได้เปรียบเนื่องจากมีรุ่นพี่ๆ ที่ไปกระจายอยู่ตามหน่วยราชการหรือองค์กรใหญ่ๆ อยู่มาก จึงเกิดระบบพวกพ้องของคนที่จบมหาวิทยาลัยเดียวกัน โอกาสความก้าวหน้าของคนที่จบมหาวิทยาลัยเก่าแก่นั้นก็จะดูว่ามากกว่า แต่ปัจจุบันนี้สถานการณ์เริ่มเปลี่ยนไป เด็กที่จบมหาวิทยาลัยอื่นมีจำนวนมากขึ้น และมีความโดดเด่นเรื่องความมุมานะ สู้งาน ก็เริ่มเห็นว่าผู้บริหารระดับสูงมีจำนวนผู้ที่มีแบล็คกราวน์จากมหาวิทยาลัยรุ่นหลังๆ มากขึ้นจากเดิมมาก จากประสบการณ์ส่วนตัว และเกษียณแล้ว จะบอกว่าตอนที่เป็นผู้บริหารระดับสูงเวลาเลือกคนเข้าทำงาน และเลือกคนที่จะมาเป็นผู้บริหารนั้น จะดูเรื่องสถาบันการศึกษาที่จบมาน้อยมาก ถ้าจะดูก็ดูพวกที่จบจากมหาวิทยาลัยชื่อแปลกๆ จากต่างประเทศว่าคืออะไร แต่จะดูประวัติการทำกิจกรรมระหว่างเรียน ประสบการณ์การทำงาน ความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา และทัศนคติมากกว่า ซึ่งทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละคนมากกว่า ที่ผ่านมาไม่ค่อยรู้สึกว่าเด็กที่จบจากมหาวิทยาลัยต่างๆ จะต่างกัน คนที่ได้รับเลือกจึงเป็นใครก็ได้ที่เขาเก่ง ไม่ได้ขึ้นอยู่กับมหาวิทยาลัย
ความเข้มข้นของเนื้อหาและความยากของข้อสอบมันต่างกันนี่ครับ เฉลี่ยโดยรวมราชภัฏแพ้เกือบทุกมิติ ซึ่งมันก็ควรเป็นแบบนั้นเพราะถ้ามาตรฐานเดียวกันรับรองได้ตกซ้ำชั้นกันครึ่งประเทศ เพราะต้นทุนชีวิตคนไทยส่วนใหญ่มันต่ำจนเด็กๆต้องช่วยงานพ่อแม่แทนที่จะได้เน้นการเรียนล้วนๆ
ชอบคุณจั้ดจัดรายการ
บริษัทที่ดิฉันทำงานเปิดโอกาศให้ทุกสถาบันการศีกษา มาสมัคร และเข้าทำงาน ไม่ว่าจะเป็นเอกชน รัฐบาล หรือ มหาวิทยาลัยเปิด และ ราชภัฎ โดยจะให้ผู้สมัครทุกคนสอบข้อเขียนก่อนในเบื้องต้น คือ วิชาภาษาอังกฤษ ความรู้ทั่วไป และวิชาเฉพาะด้าน(วิชาชีพ) ทำแบบนี้มา 10 กว่ารุ่น ดิฉันมีข้อสังเกตว่า ผู้ที่ทำคะแนนสูงสุด Top 10 ก็ยังเป็นมหาวิทยาลัยรัฐฯชั้นนำ (จุฬา มธ พระจอม 3 สถาบัน)อยู่ดี และเอกชนชั้นนำ ส่วนราชภัฎก็ยังอยู่อันดับท้ายๆ หรือไม่คะแนนก็น้อยมากๆ จนรับเข้าทำงานไม่ได้จริงๆ ก็เคยแอบสงสัยเหมือนกันว่า พวกเขาเรียนอะไรกันเนี้ย! ทำไมถึงทำข้อสอบกันไม่ได้เลย ตอนสัมภาษณ์ก็เหมือนกัน เด็กจากมหาลัยรัฐฯ ชั้นนำจะมี ตรรกะที่ดี และมีความมั่นใจสูง แต่ข้อดีของเด็กราชภัฎ คือ ขยัน อดทน และอยู่ทำงานกับบริษัทนานมาก (เกิน 5 ปี)ทุกคน ส่วนเด็กจากมหาวิทยาลัยรัฐบาล อายุเฉลี่ย 2-3 ปี
ทำตัวเองให้ดี เป้าหมายในชีวิตชัดเจนก็พอ จะเรียนมาจากไหนก็ชีวิตดีได้หมด
อยู่ที่คนค่ะ ไม่ได้อยู่ที่สถาบัน mindset คือสิ่งที่ชี้ชัด ว่าใครทำงานได้ดีกว่า มันคือการปรับตัวและเรียนรู้ให้เข้ากับองค์กร และหน้าที่การงานในองค์กรนั้น ๆ บางคนจบ ม.ดัง ม.ดี ที่ค่านิยมทางสังคมยอมรับ ก็ไม่ได้ทำงานได้ดี Ego เยอะมาก แต่เอาจริง แดกไม่ได้เลย เงื่อนไขเยอะ แต่บางคนก็ดีมากฉลาดคิด ฉลาดทำ mindset ดีมาก ไม่ได้อยู่ที่สถาบันค่ะ นี่เจอมากับตัวในสังคมการทำงาน ไม่ว่าราชภัฏฯ ม.รัฐ ดัง หรือเอกชน อยู่ที่คนจริง ๆ นี่เป็นคนนึงเวลาจะรับเด็กเข้าทำงาน จะไม่เอาสถาบันเป็นตัวตั้ง แต่จะเอาทัศนคติ และ mindset เป็นตัวตั้ง ซึ่งปัจจุบันมีหลาย Method มากในการวัด และสร้าง RTB ให้เห็น
ไม่ต้องเถียงกันหรอก หลักสูตรการเรียนการสอนก็คนละอย่าง ความโดดเด่นในแต่ละสาขาก็ต่างกัน ให้ไปดูที่ความสำเร็จจากการทำงานดีกว่า บางคณะม.ดังก็ด้อยกว่าในการทำงานจริง แต่คณะที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สุขภาพ ก็ต้องม.ดังดีกว่าอยู่แล้วด้านความรู้ความสามารถ แต่ในด้านนิสัยเหยียดคนอื่นนั้น เรียกว่าเป็นนิสัยส่วนบุคคลที่ได้รับมาจากครอบครัวและสังคมที่เค้าผ่านมาเสียมากกว่า
แหวะ เด็กราดพัดแน่นอน
ประเด็นนี้ มันเริ่มมาจากนักการเมือง ที่ชื่อ ธนาธร ที่ไปปราศรัยหาเสียง ชอบสร้างประเด็นแบ่งแยก ให้แตกแยกทั้งเรื่องคนรุ่นใหม่ คนรุ่นเก่าเผด็จการ ประชาธิปไตยอนุรักษนิยม เสรีนิยมมหาวิทยาลัยคนจน คนรวย
👏👏👏👏👏
อาจารย์ที่สอนในราชภัฏจบจากมหาวิทยาลัยที่คุณบอกชั้นนำเป็นส่วนใหญ่ ถ้าคุณดูถูกราชภัฏคุณกำลังดูถูกมหาลัยที่ผลิตบุคลากรมาสู่ราชภัฏน่ะครับ คิดให้มาก ที่ว่าไร้คุณภาพเพราะเราไม่สามารถเลือกเด็กได้ น่าจะภูมิใจน่ะ ที่ราชภัฏช่วยนักเรียนที่ไม่มีโอกาสได้เรียนในมหาลัยดังๆ
ยุที่การใส่ใจเรียนจบเอกชลก็โง่ได้ดูเด็กสามกีบสิโง่โง่
การรับเข้าทำงานในบริษัทชั้นนำ และการก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งงานสูงๆ จากประสบการณ์ท่านไหนที่จบมหาลัยชั้นนำ จะได้รับการยกย่องมีหน้ามีตาในองค์กรกว่าจบสถาบันทั่วๆ ไป
เรื่องนี้พูดยากนะ ขนาดประเทศพัฒนาแล้วยังแบ่งแรงค์เลย คนในประเทศรับพนักงานยังแบ่งแรงค์แบ่งเชื่อชาติก็ยังมี
ย้อนวันวาน สำหรับคนโง่ๆสมองทึบอย่างเรา มหาวิทยาลัยไหน ก็สอบเข้ากับเขาไม่ได้ ยิ่งมหาวิทยาลัยดังๆ ฝันยังไม่กล้าฝัน ในสมัยนั้นจึงนึกถึงแต่ Ramkhamhaeng University คือที่พึ่งสุดท้าย แต่ว่าเวลานั้น ใครถามเรียนที่ไหน ไม่กล้าตอบ อาย แต่เวลานี้รู้สึกภูมิใจอย่างมากเลย ที่ถูกกลุ่มเพื่อนเรียกว่าลูกพ่อขุนฯ และคนโง่สมองทึบคนนี้แหละ ที่ชีวิตมันผกผัน โดยที่ไม่ได้ฝัน และไม่คิดไม่ฝัน ว่าจะได้ไปเรียนถึงเมืองนอก😁
คนใกล้ชิดไม่มีใครจบราชภัฏ ทุกคนจบม.รัฐบาล-เอกชน ส่วนตัวจบตรี-โท มหาลัย top 3 ญาติๆ เพื่อนๆ ก็ด้วย และพื้นฐานครอบครัวไม่ใช่คนรวย (ญาติ-เพื่อนอาจจะรวย) แต่ตัวเองเคยถึงขั้นเกือบบ้านแตกและอาจไม่ได้เรียนมัธยม สำหรับเราและคนรอบตัว การศึกษาสำคัญมาก และจบจากที่ไหนก็ยิ่งสำคัญ ไม่ใช่แค่เรื่องชื่อเสียงหรือ connection แต่เป็นเรื่องการเรียนการสอน คุณแม่เราจบแค่ประถมเพราะสละให้น้องๆ ได้เรียนสูงกว่า (หาเงินให้น้องๆเรียน) ครอบครัวทางแม่สร้างตัวขึ้นมาได้จากการศึกษา และประสบการณ์ทำงานที่ต้องรู้ลึกรู้จริง น้าสาวไม่ได้จบปริญญา แต่เชี่ยวชาญบัญชีจน audit ยกนิ้วให้ น้าชายไม่จบแม้แต่ปวส. แต่ทำธุรกิจจนตั้งตัวได้ ทุกวันนี้เกษียณเล่นหุ้นเลี้ยงครอบครัว แต่ความต่างคือกว่าจะประสบความสำเร็จ ใช้ประสบการณ์รอบบินสูงจัด ต่างจากน้าอีกคนที่ได้เรียนจบตรี-โท จากมหาลัย top 3 ปริญญาเป็นใบเบิกทาง ต่อยอดด้วยความรู้ที่บ่มเพาะ และความสามารถประสบการณ์สั่งสม และจากการที่มีโอกาสทำงานกับทั้งเด็กจบใหม่จากม.ดัง-ราชภัฏ ถ้านับ % ยังไงคนที่ทำงานได้ดีกว่าก็จบจากม.ดัง ส่วนราชภัฏใช้เวลาเรียนรู้นาน และบางครั้งเราก็รอไม่ไหว สอนยังไงก็ไม่ได้สักที แต่ส่วนน้อยที่มีความรู้ความสามารถจริงก็มี และจากที่คุยคือกลุ่มนี้เข้าราชภัฏเพราะข้อจำกัดหรือ preference ด้านอื่นที่ไม่ใช่ความรู้ความสามารถตัวเอง ซึ่งถ้าได้คนกลุ่มนี้ ส่วนตัวจะชอบมากกว่าพวกจบจากม.ดังปัจจุบัน เพราะเด็กรุ่นใหม่โดนรุ่นพ่อแม่สปอยล์ อีโก้จัด
สรุป เอแบคคือดีที่สุด หลักสูตร สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก สิ่งแวดล้อม สังคมที่ดี
5555555 ชอบครับ ดูหลอกตัวเองดี
จะ.....จุฬาหรือราชภัฏ....สุดท้ายก็...ความดันเบาหวาน.....มาเยือนกันทั่วหน้า.........555555......
หลายๆมหาวิทยาลัย มีหลายๆคณะที่แปลกออกไปแล้ว และเชื่อว่า หลายๆมหาวิทยาลัยก็จะมีจุดเด่นเป็นของตัวเอง อยู่ทีผู้รับสารความรู้นั่นล่ะครับจะนำมาปรับใช้อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ เคยรับน้องฝึกงานสายนิเทศ บอกเลยว่าน้องๆ ราชภัฏ ขยันและต้องการความรู้กว่ามาก เมื่อเทียบกับ อีกสถาบัน
สาขาอื่นไม่รู้ แต่ถ้าเกี่ยวกะ graphic and design บอกเลยว่า จากประการณ์เปิดร้านมา 12 ปี ต้องเอามาฝึกใหม่ทุกม. ไม่ว่าจะม.ใหญ่ๆ หรือ ม.ไหนๆ ได้สอนใหม่หมดเลิกโฟกัสที่ม.สักทีเถอะครับ โฟกัสที่หลักสูตรที่มันเอามาใช้ได้จริงๆสักทีเถอะครับ เปลี่ยนกราฟฟิคทีก้อต้องเอามาสอนที หัวจะปวด
เรียนจบจุฬาโอกาสสมัครงานง่ายกว่าอยู่แล้วครับ อย่างน้อยการสอบเข้าจุฬาหรือมหาลัยรัฐอื่นๆได้ แสดงว่าตอนมัธยมคุณมีความเรียน มีความพยายามอ่านหนังสือมากกว่าคนอื่น คนก็อยากจะรับเข้าทำงานกว่ามหาลัยรองๆลงไปอยู่แล้ว แต่ชีวิตคนเราไม่ได้จบแค่การเรียนครับ สุดท้ายคนจะประสบความสำเร็จได้มันมีปัจจัยอื่นๆอีก ไม่จำเป็นว่าคนจบจุฬาทุกคนจะประสบความสำเร็จ สุดท้ายมันอยู่ที่ตัวเองครับ
จุฬา เองก็ยังห่างชั้นเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆในเอเชีย อยู่ราวๆ ที่ 30-40 เทียบกับ ม.แห่งชาติสิงคโปร์ , ม.ฮ่องกง , มหาวิทยาลัยโตเกียว และ ม.ปักกิ่ง
ส่วนradพัดนั้น
เป็นคนนึงที่จบ ราชภัฏครับ เเละเป็นคนนึงที่โดนดูถูก ซึ่งไม่เขาใจว่าชาวราชถัฏผิดอะไรที่ต้องโดนว่าอยู่ตลอดทั้งที่ก็ตั้งใจเรียนจบ
มันเอามาเทียบกันไม่ได้หรอก คล้ายกับเปรียบเทียบโรงเรียนเตรียมทหารจุดสำคัญ คนดันตกเป็นเหยื่ออุบายมาเทียบกันจริงๆ
ส่วนตัวสอบติดจุฬา (อักษรศาสตร์) ตอนนั้นทำงานพาร์ทไทม์ (ตอนเย็น 18:00-24:00) เพราะต้องหาเงินค่าเทอม ค่าใช้จ่ายอื่นๆเองทั้งหมด ที่บ้านหยุดส่งเสีย เเถวทองหล่อ (ทำตั้งเเต่ยังไม่รู้ผลสอบ ตอนนั้นอยู่ ม.6) พอรู้คะเเนนก็เลยเลือกมหาลัยใกล้ๆที่ทำงาน ตอนนั้นก็เลือกเเค่สองที่ ไม่จุฬา ก็ ธรรมศาสตร์ เเต่ มธ ต้องไปเรียนรังสิต ไม่สะดวกต่อการทำงาน จำไดัว่าตอนเรียนเหนื่อยมาก เรียนหนักมากกก ++ เเล้วต้องทำงานหลังเลิกเรียน 6 วัน/ สัปดาห์ ถึงเที่ยงคืนทุกวัน (ตื่นไปเรียนแปดโมงเช้า) เเต่ก็ผ่านมาได้ ทุกวันนี้ ภูมิใจนะที่ตัวเองผ่านมาได้ (จบเกียรตินิยมอันดับ 1) ทั้งเรียน ทั้งทำงาน เหนื่อย เเต่สนุกพี่ๆที่ร้าน จบหลายที่ ส่วนใหญ่จบราม เเล้วมาทำงานกัน ทำงานเก่งกันทั้งนั้น ไม่เคยดูถุกคนจบที่อื่นเลย โชคดีที่เราเจอเเต่คนดีๆรอบตัวที่เขียนนี่ไม่ได้อยากอวดนะ แค่อยากบอกว่าเรียน ม.รัฐ เราก็ทำงานไปด้วยได้ เรียนหนักเเต่ต้องอดทน มีเรื่องเสียดายอยู่อย่างนึง กิจกรรมมหาลัยได้ทำน้อยมาก เพราะต้องไปทำงานทุกเลิกเรียน เลยได้ connection จากตรงนี้น้อยมาก รู้สึกว่าตัวเองมี soft skills สูงมาก จบมาทำงานเลยไม่กลัวงานเหนื่อย งานยากเลย อาจมีเซงๆบ้างนิดหน่อย เเต่เรื่องท้อไม่ค่อยมี เพราะเราได้ฝึกความอดทนมาตั้งเเต่อายุ 18 ละ มันเลยชินไปเเล้วกับงานเหนื่อย งานยาก การเข้าสังคมกับคนอื่น (รุ่นพี่ที่ทำงาน หัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน) ก็ปรับตัวได้ดี เพราะส่วนตัวเป็นคนไม่เรื่องเยอะ อีกอย่างคิดว่าได้จากการทำงานตอนเรียนนี่แหล่ะ เพราะตอนนั้นยังเด็ก เข้าไปทำงานระบบจิงๆจังๆ ก็มีปรับตัวเยอะมาก
ไม่ว่าจะฝ่ายใหน ราชภัฏ จุฬา ธรรมศาสตร์ ลาดกระบัง...ทุกคนรู้ว่าคืออะไร ส่วนใหญ่คือผลจากรุ่นพี่ๆทำไว้ว่าดีแค่ใหน...
จริงค่ะ ประสบการณ์ตัวเองยังเจอคุณภาพเด็กต่างกันจริงค่ะ ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่เสมอไปถ้าถามความอดทนก็ต่างกันอีกเช่นกันดังนั้นถ้าจะวัดกันแท้จริงต้องวัดที่ผลงานซึ่งโดยส่วนใหญ่จะพบว่าเด็กจากสถาบันดังจะเข้าใจงาน ดำเนินงาน แบะพื้นความรู้ที่เอามาวช้งานแน่นกว่าค่ะ
@@noolekkoinoi3841 ใช่ครับ..ไม่ใช่สถาบันไม่ดังจะทำงานไม่ได้..แต่ผลงานมันออกมาต่างกัน ผมจบราชภัฏต้องยอมรับจุดนี้..แต่นิสัย ความอดทน ขยัน วินัย จิตใจ ไม่ต่างกันครับ
ธรรมศาสตร์ไม่มีรุ่นพี่รุ่นน้องครับ ทุกคนคือเพื่อนกันหมด ไม่ว่าจะเรียนก่อนหรือเรียนทีหลัง
ธรรมศาสตร์ ไม่ใช่เก่งทุกคณะนะ วิศวะวิทยาศาสตร์ กากกว่าพวกม.เกษตรบางเขน มหิดลอีก
@@fjj1065 คำว่ารุ่นพี่รุ่นน้อง ไม่จำเป็นว่าต้องระบบโซตัสหรือมีการรับน้อง แต่มันคือวัฒนธรรมประเพนี คนอยู่ปี 1 เรียกคนอยู่ปี3ปี4 ก็เรียกพี่อยู่แล้ว จะคณะไหนเราให้เกียรติเราก็เรียกพี่ จะบอกว่าเท่ากันหมดมันไม่มีหรอก
มาตรฐาน แต่ละมหาวิทยาลัย ไม่เท่ากันแน่นอนครับต้นทุนผู้เรียน ความพร้อมต่างๆ โอกาส ก็ไม่เท่ากันคือ ความจริง ที่ไปสร้างความเชื่อมั่น สร้างมาตรฐานให้สูงๆ หรือต่ำลง จนตกเกณฑ์มาตรฐาน
เราเรียนราชภัฏตอน ป.ตรี ปโทเราก็มาต่อ มธ ได้นะ
เราจบ ม แถว บางแค แต่ใด้ทำงาน รร แถวๆ สีลม สมัยนั้นเพิ่งจบใหม่ทาง รร สตาร์ทให้ 9500บาท (สมัยนั้นเด็กบ้านนอกอย่างเราถือว่าเยอะ) แต่เด็ก จุฬามาสมัครใด้ 15000 คือ งง มาก ทุกวันนี้เราก็ยังงงอยู่
จั๊ดคะ ปัญหาที่เกิดขึ้นคือคำพูดของเขาในคลิปที่พูดขึ้นมาว่า “ราชภัฏเป็นมหาวิทยาลัยของคนจน เด็กแถวหัวลำโพง โตมาก็ไปทำงานในร้านไอศกรีมสเวนเซ่นส์” ปัญหามันอยู่ตรงนี้ละค่ะจั๊ด ที่คนเขารับไม่ได้
คุณต้องไปดูตลิปเต็มสิครับ ไม่ใช่คลิปตัดต่อ ว่าเขาคุยเรื่องอะไรกัน
จ้๊ดเหมือนกลัวนะไม่กล้าพูดทั้งที่คนทึ่มันพูดจบราชภัฎ ทำงานร้านไอศครีม แต่พออย่าอื่นนี้พูดชัดๆแบบไม่ต้องกลัวเกรงเลย
@@Channel-vz5ru คลิปเต็ม ความหมายเปลี่ยนไหม?
@@fundeekongsuk7815 เปลี่ยนสิครับ ต้องไปดูว่าเขาคุยเรื่องอะไรกัน ไม่ใช่เอามาตัดต่อแล้วคิดกันไปเอง
เก่งจริง รวยจริงมักไม่อวด...เศรษฐีใหม่ กับรวยไม่จริงมักชอบอวด
ใครเรียนจบจากสถาบันใด ไม่ต้องมาเปรียบเทียบกันแต่ละสถาบันมีความเด่นแตกต่างกันไป จริงแล้วข้อดีเด่นอยู่ที่ตัวบุคคล ความสำเร็จของแต่ละคน ใช่ว่าเขาเหล่านั้นจบจากมหาวิทยาลัยชื่อดังเสมอไปเด้อ... อย่ามาเถียงกันเลย...
ไปสมัครงานไม่ต้องคิดว่าเขาจะหยิบใบสมัครมหาลัยไหน ต่อให้ได้งานทั้งคู่แต่ค่าแรงและตำแหน่งช่างแตกต่างกัน555
@@Rama-wl3wm แต่ถ้าทำงานไม่เอาไหน ชื่อสถานบันก็ช่วยอะไรไม่ได้ องค์ประกอบมันมีหลายอย่างค่ะ ถ้าเก่งกันขนาดนั้น ชาติเจริญไปแล้วค่ะ นี่ยังไม่เจริญยังมานั่งเถียงนั่งเหยียดสถานบันกันอยู่เลย ถ้าจะให้เท่ากันให้รัฐสนับสนุนเงินให้เท่ากันก่อนค่ะ ตอนนั้นค่อยมาเทียบกันก็ไม่สาย
การแบ่งแยกของพิธีกรยังใช้คำเหยียดกันเลยครับ เช่น ชั้นนำ โนเนม ส่วนแนวคิดอื่นๆผมขอชื่นชมครับ
เรื่องนี้ไม่ควรเอามาถกเถียงกัน ..ใครก็ตามที่จบได้รับปริญญาบัตรมา มีศักดิ์ มีสิทธิเท่าเทียมกันทุกสถาบัน _มันอยู่ที่ตัวบุคคลมากกว่าในการประสบความสำเร็จ มิใช่อยู่ที่สถาบัน..
ม. ดังๆ หลายๆที่ มาจ้างผมเขียนโปรแรกม ทำโปรเจคจบนะ ผมจบราชภัฎ
ทำให้จน(ทุกข์) ทำให้โง่(งมงาย) ทำให้แตกแแยก(ขัดแย้ง) ปกครองง่าย ยุทธการที่ใช้ได้เสมอ ...สืบหาต้นเรื่องนี้้
ธนาธรไงพูดรับได้ไหม
@@พรสวรรค์พิลึก-ว4บ ทำไมต้องรับได้ หรือรับไม่ได้ กับหมากตัวหนึ่งตัวใดในเกมอำนาจ เราชอบที่จะมองภาพใหญ่ทั้งระบบมากกว่า มันจะทำให้เราไม่ไปยึดติดลุ่มหลง(โมหะ)กับบุคคล ไม่เป็นทาสทางความคิด และเมื่อเราไม่ถูกสะกดจิต เราก็จะเห็น วิเคราะห์ แยกแยะ ด้านดีด้านไม่ดีของทุกฝั่งทุกฝ่ายได้ วิธีคิดเราเป็นอย่างนี้ ขออภัยถ้ามันจะทำให้รู้สึกว่าเอนเอียง ไม่เข้าทางเข้าพวกฉัน เพราะนั่นคือเราชั่งน้ำหนักดีไม่ดีของมนุษย์มาแล้ว จึงเลือกสนับสนุนบางคนบางเรื่อง ที่มันจะดีที่สุด(เท่าที่มีให้เลือกได้) กับชาติกับอนาคตลูกหลาน เพราะไม่ว่าเขา หรือใคร ท่าน หรือเรา เดี๋ยวก็คืนสู่ธรรมชาติ เราไม่มานั่งร้องไห้คร่ำครวญจะเป็นจะตายกับเรื่องพวกนี้หรือกับคนเหล่านี้หรอก แต่อย่างไรก็ขอขอบคุณความหวังดีและห่วงใยของท่าน
ถ้าพวกคุณๆพอที่จะมีกำลังส่งเสียลูกให้ได้เรียนในระดับอุดมศึกษาและลูกของคุณก็เป็นคนที่เรียนเก่งผมขอถามจากก้นบึ้งของหัวใจว่าคุณจะให้ลูกอันเป็นที่รักยิ่งของคุณเข้าเรียนที่ไหน 1. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์2 . มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์3. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ5. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ6. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ7. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่8. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย9. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์10. มหาวิทยาลัยราชภัฏ ถ้าเลือกได้ลองตอบจากหัวใจจริงๆนะครับว่าคุณจะให้ลูกของคุณได้เข้าเรียนที่ไหนแต่สำหรับตัวของผม ผมขอเลือกจากหัวใจขอเลือกตามความฝันของตัวเองตั้งแต่เด็กนั่นก็คือ......มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต...เพราะเป็น..มหาวิทยาลัยราชภัฏที่ดีที่สุดในประเทศไทย และ ที่สำคัญที่สุดของที่สุดนักศึกษาที่จบที่นี่จะได้รับพระราชทานปริญญาบัตรจาก...พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว..เท่านั้น
ที่เป็นปัญหาปัจจุบัน เพราะ ทุกมหาวิทยาลัย มีมุมมองเปิดให้ครบ ให้มากที่สุดทุกคณะ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ … เพื่อให้ได้นักศึกษา มาเป็นลูกค้า หารายได้เข้ามหาวิทยาลัย/เลี้ยงคัวเองได้ แต่พอ demands ลดลง .. จึงเสมือนทำธุรกิจ ผลิตสินค้า แต่ผู้บริโภค ลดน้อยลง… ความเสี่ยงจึงเกิดขึ้น และหากบริหาร จัดการความเสี่ยงไม่ได้ ก็ปิดตัวเองไปม. เก่าแก่ มีชื่อเสียงได้เปรียบที่มีแบรนด์ดีดัง พอเอาตัวรอดไปวันๆ แต่หากไม่ปรับไปตรมสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป.. ก็ถึงจุดจบ ได้เช่นกัน ครับ
มันเป็นม.ชั้นนำเพราะทุกคนต่างทุ่มเทเข้ามา อาจจะมีบ้างที่ไม่ได้อ่านหนังสือมาสอบมากมายอะไร แต่ผมเชื่อว่า80%คือคนที่อ่านหนังสือเตรียมสอบเข้ามาแบบหามรุ่งหามค่ำ แม้ว่าม.ดังจะไม่ได้การันตีความสำเร็จ แต่มันก็เป็นความภาคภูมิใจและเชื่อว่ามันจะเป็นบันไดสู่อนาคตได้
จุฬา. เปน ม.เน้นวิจัย เช่นเดียวกับ มหิดล. มจธ. มจล..มรภ. เน้นการสอน และ วิจัยเพื่อชุมชนวัตถุประสงค ต่างกัน จึงไม่ควรจะเปรียบเทียบกัน
มีที่ไหน เปืด คณะไสยศาสตน์มั้ยค่ะ จะลงเรียนอีกรอบ.. ขำๆนะคะ..555
แนวคิดดีมากครับ คนที่รอรับประโยชน์ ก็อยากให้เปลี่ยนกันทั้งนั้นแหล่ะ แต่นิสัยคนไทยไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะคนที่มีอำนาจมีหน้าที่ จะไม่อยากลงมือเพราะมันเหนื่อย
เคยเรีบนที่วิทยาลัยสองแห่งภูมิใจครับ บัณฑิตจากสองวิทยาลัย จะไม่กล่าวถึงมหาวิทยาลัย
FC พี่จั๊ด ความรู้แง่คิดกว้างขึ้นเยอะเลยเดียวคะ
คนเก่งจริงเขาจะไม่ดูถูกคน คนเก่งส่วนมากจะถ่อมตน และรู้ว่าในโลกนี้ยังมีอะไรหลายอย่างที่เรายังไม่รู้อีกมากมาย และพร้อมที่จะเรียนรู้ไปเรื่อยๆเหมือนน้ำไม่เต็มแก้ว
ใช้คับ. เรื่องความรู้ เรียนทั้งชีวิต. ก็ยังไม่จบ. ทุกที่ล้วนเป็นสถานที่ศีกษาได้หมด. ไม่ว่า ทุ่งนา. แม่น้ำ. ป่าเขา. ทะเล. ท้องฟ้า. แม้แต่ดิน. ที่เราเดินเหยียบอยู่ทุกวัน ล้วนให้เราต้องศึกษาทั้งนั้น
เหมือนไอ้ตู่ใช่ไหมครับ โง่แล้วอวดดี หยิ่ง จองหอง
ใช่ที่สุดเลยครับ บางคนเก่งอยู่เรื่องเดียว ดันคิดว่าคนอื่นเค้าโง่ ถุย มึงเเหละที่โง่ที่คิดว่าตนเองฉลาด
@@prawithoysakul8857 ใช่ค่ะคุณเป็นคนที่คิดดีคิด+
ใช่ครับ องค์กรทุกองค์กรไม่ได้ต้องการคนเก่งเสมอไป แต่ผมว่าองค์กรทุกองค์กรต้องการคนดีครับ
เอาความจริงสิครับ ผมจบราชภัฏ ความรู้ความสามารถสู้จบมหาวิทยาลัยชั้นนำไม่ได้จริงๆครับ ถ้าไม่ยอมรับก็คือหลอกตัวเอง แต่อย่างที่คุณจั๊ดบอก ความสำเร็จไม่ได้ขึ้นอยู่กับสถาบันที่จบมา อยู่ที่ประสบการณ์ ผู้ที่เป็นเจ้าสัวในประเทศไทยหรือผู้ที่ประสบความสำเร็จในโลกบางคนก็ไม่ได้จบจากสถาบันชั้นนำครับ
Mark Zuckerberg เรียน Harvard
Bill gates เรียน MIT
มันจริงๆหรอที่บอกว่าผู้นำบริษัทใหญ่ๆเขาไม่เรียนที่ดัง? ลองอ่านดีๆก่อนไหม
ดีมาก ครับ คนเราต้องยอมรับความจริง อย่าหลอกตัวเอง จุฬา ดี กว่า รัชฏัทร จริงๆครับ
@@Theerath-bn6sn เจ้าสัว ๆ...😓
@@Theerath-bn6sn ขอบคุณมากครับที่ช่วยแนะนำ ผมอาจจะศึกษาข้อมูลมาไม่มากพอ ผมขอแก้ไขข้อความให้เหมาะสมแล้วกันนะครับ
ทั้งมาร์ก ทั้งบิลเกตส์ ถึงจะเรียนมหาวิทยาลัยดัง แต่ทั้งคู่ เรียนไม่จบครับ
เราเรียนมหาวิทยาลัยเอกชน ยอมรับนะว่าคือจุฬา ธรรมศาสตร์มีแต่เก่งๆทั้งนั้น เพื่อนเราเก่งมาก เข้าธรรมศาสตร์อยู่แค่กลางๆเกือบปลาย มหาวิทยาลัยมันต่างกันมากๆ เริ่มตั้งแต่การสอบเข้าที่เอาแค่คนที่มีความสามารถ การเรียนการสอนที่มีแต่อาจารย์ด็อกเตอร์ นักวิชาการมาสอน มหาลัยงบเยอะการเรียนก็บูรณาการมากไปอีก ไปศึกษาต่างประเทศบ้าง งบทุนวิจัยบ้าง แถมในระหว่างเรียนยังมีคอนเนคชั่นต่างๆที่มันมาพร้อมกับโอกาสในอนาคต และเมื่อจบแล้วไม่ว่าคุณจะเกรดเท่าไหร่ เเค่จัวหัวว่าจุฬา ธรรมศาสตร์ คือเข้าเกณฑ์เลย ยอมรับเถอะหลายบริษัทอยากได้คนมีความสามารถ และสิ่งแรกที่วัดได้คือ มหาวิทยาลัย
จริงครับ
ชอบแนวคิดของคุณจั๊ดมาก ที่เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเจาะจงคณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ส่วนตัวมองว่าเปิดหลายคณะเกินไป ถ้าแต่ละที่นำจุดเด่นของจังหวัดมาเป็นหลักสูตร คือมองว่าน่าสนใจมาก
ความต้องการในท้องถิ่น ก็มีหลากหลายพอ ๆ กับ กทม. นะครับอย่าลืม / ที่ คุณจั้ดพูดยังเป็น มุมมองคนนอก ที่ เข้ามาแสดงทัศนะแบบคนเรียนจบส่วนกลางและอยู่ส่วนกลาง / ยิ่ง สายสังคมศาสตร์ ความต้องการของท้องถิ่นก็มีอยู่
เรียนจบที่ไหนก็มีคนที่ประสพความสำเร็จในการทำงานและล้มเหลวในการดำเนินชีวิตเหมือนกันครับจบจุฬาหรือราชภัฏก็ขอให้ตั้งใจทำงานตอบแทนคุณแผ่นดินเป็นคนดีของสังคมก็พอครับ
@@อนุวัตสุขศรีจักรวาฬ ตอบแทนคุณแผ่นดินทำไมครับ
@k-jibpepis7940 พิมให้ถูกก่อนนะคนไทยจริงป่าวหรือไม่ได้เรียนหนังสือครับ
@อนุวัต สุขศรีจักรวาฬ ถามแปลกทำไมต้องตอบแทนแผ่นดิน ๆ เพราะทำให้มันเจริญเติบโตและคุณก็เก็บเกี่ยวมาดำรงค์ชีวิตไหมคะ
1. มีความรับผิดชอบและมีวินัยไหม = ถามตัวเองยัง
2. ซื่อสัตย์ไหม = ถามตัวเองยัง
3. ขยันและใฝ่รู้ไหม = ถามตัวเองยัง
💥 สำคัญสุด เป็นคนดีและเสียสละ เพื่อสังคมและสาธารณะบ้างไหม = ถามตัวเองยัง
จบที่ไหน ไม่สำคัญเท่า มีสิ่งเหล่านี้หรือเปล่า เรียนไม่เก่ง ก็สามารถเหนือกว่าคนเรียนเก่งได้ เพราะมีความเป็นมนุษย์มากกว่า
สิ่งเหล่านี้
ผมชอบคำที่คุณจั๊ดบอกว่า "แต้มต่อ" อันนี้ คือความจริงแท้ที่สุด Peak สุดใน EP. นี้ คือการจบมหาลัยชั้นนำ ย่อมมีแต้มต่อเหนือกว่ามหาลัยอื่นๆ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า แต้มต่อนี้จะอยู่ได้ตลอดไป อาจจะโดนแซงทีหลังก็ได้ หรืออาจจะนำม้วนเดียวจบก็ได้ เป็นไปได้ทั้งสองแบบ ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลเองและปัจจัยอื่นๆ ภายนอกที่ผ่านเข้ามาในชีวิต แต่สุดท้าย การประสบความสำเร็จในชีวิต ก็ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ "แต้มต่อ" นี้เพียงอย่างเดียว เป็นเพียงปัจจัยที่ได้เปรียบหนึ่งเท่านั้น
ผมเองสอบได้รอบโควต้า วิศวะซอฟแวร์ของ มอ. แต่อยากเป็นหมออนามัยเลยเลือกราชภัชฯ เลยมองว่ามันอยู่ที่ความคิดคนอื่นมากกว่า ปัจจุบันผมทำงานกับชุมชนมีความสุขมากครับ
สำหรับผมนะครับ คนไทยควรเลิกมองอุดมคติที่สวยหรูได้เเล้ว เเละหันกลับมามองความเป็นจริงที่ว่า เรียนที่ไหนมันก็ไม่มีทางเหมือนกัน อะจะบอกในฐานะที่ผมก็อยู่ในมหาลัยระดับต้นๆเช่นเดียวกัน ผมจะบอกเเค่ว่า เเค่การเรียนการสอนมันก็ต่างเเล้วครับ เคยถามพี่อีกมหาลัยที่เขาไม่ได้ดัง ในหลักสูตรเหมือนๆกันที่เรียน พี่เขาตอบว่านี่ต้องเรียนถึงขนาดนี้เลยหรอ เเต่ไอ้ที่เราถามไปในสายตาของอาจารย์ที่สอนเรามันเเค่ละดับเบื้องต้นที่เราเรียนเอง นั่นเเหละคือคำถามที่ว่าทำมหาลัยไหนๆก็ไม่เหมือนกัน ทั้งด้านคุณภาพที่สอน คุณภาพบุคคลากรที่จบมาเเล้วได้งาน คุณภาพของอาจารย์ที่เข้าไปสอน หรือคอนเนคชั่นต่างๆล้วนมีผลทั้งสิ้น เราในฐานะคนที่สอบได้มหาลัยดัง คุณต้องมองมุมกลับว่าพวกผมต้องเจออะไรบ้าง ต้องทำอะไรบ้างถึงได้เข้ามหาลัยนี้ มากกว่าไหม? เราไม่ได้คิดจะหลับตาตื่นขึ้นมาเเล้วได้เข้าเลยนะเว้ย เราต้องติวเป้นปีๆ อดหลับอดนอนกันเป็นเดือนๆเพื่อเตรียมสอบเข้า ทำไมไม่มองมุมนี้ เเละหลายๆคนยังมีหน้ามาถ่มถุยความพยายามของพวกเราอีกนะ ถ้าคุณทำไมได้คุณก็อย่ามาพาลคนที่เขาทำได้ไหมอะ อยากฝากให้คิด
จริง เพื่อนผมปวส.เรียนๆเล่นๆไปวันๆจบมาติดโควต้าธัญบุรีเฉย ผมละอึ้ง ทั้งๆที่ทุกวิชาลอกเพื่อนทั้งหมด ตอนสอบก็ยังไม่ผ่านมาตรฐานวิชาชีพด้วยซ้ำ อึ้งเลยติดกันเฉย
ความเห็นส่วนตัวนะครับ ......การศึกษา คือ การหาความรู้ ใช่ที่สถาบัน.........ผมมีลูก จะสอนลูกว่า เรียนที่ไหนก็ได้ ขอแค่ จบมาแล้วมีงานทำเอาตัวรอดได้ ไม่เอาเปรียบสังคมและคนอื่น
สอนผิด
@@wongyara1 แล้วจะสอนยังไงดีครับ
อย่าเห็นแก่เพียงตัวเอง ทำงานที่สุจริต
พัฒนาชีวิตตนเอง แล้ว พัฒนาครอบครัว ประเทศชาติ
เลี้ยงตนเอง และ *ข่วยเหลือสังคมได้* ตามกำลังความสามารถ
จริงครับ
สอนผิด อย่าพึ่งมีลูกไปคิดใหม่
แตกต่างกันที่มาตรฐาน ในการวัดผลของเด็ก ความเข้มข้นในการสืบค้นความรู้ความสามารถของเด็ก และการรีดประสิทธิภาพของเด็ก ซึ่งมหาวิทยาลัยชั้นนำทำได้ดีกว่า แต่ไม่ใช่เด็กที่เรียนจะมีโอกาสที่แตกต่างเพราะการศึกษา จะแตกต่างเพราะอุปนิสัย และความพยายามตั้งใจของผู้เรียน เพราะสมัยนี้ความรู้ ไม่ได้อยู่ที่มหาลัยชั้นนำ ความรู้ตอนนี้สามารถเรียนรู้ผ่าน อินเตอร์เน็ต ได้ ขึ้นอยู่ที่ attitude ของผู้เรียน
จริงค่ะ เด็กบางคนต้องเรียนเพราะใกล้บ้าน เพราะทางบ้านไม่ได้มีกำลังพอที่จะส่ง ต้องเรียนเพื่อให้ได้วุฒิมา
อีก10ปี มหาวิทยาลัยอาจจะปิดตัวลงเยอะมาก เพราะสิ่งที่สอนในมหาวิทยาลัย นั้นนำไปใช้ได้น้อยมากๆ เพราะตอนนี้มีคอสเรียนโดยตรงกับสิ่งที่อยากเรียนแล้ว ไม่ต้องมาเข้ากิจกรรมมารับน้องมานั้นมานี่
สิบปีมานี้เปลี่ยนเป็นมหาลัยนำหน้ากันหมดปิดแล้วไปโฟดัสคุณภาพก็ดีครับ
ใช้เป็นพื้นฐานที่นำไปต่อยอด
ไม่ต้องรอถึง 10 ปีหรอก ตอนนี้ มหาลัย/คณะ ที่ไม่มีคนเรียนก็เริ่มทยอยยุบไปบ้างแล้ว
ม.กรุงเทพ คณะสื่อสารมวลชน นิเทศ วารสาร บางมหาลัยไม่มีคนเรียนจำเป็นต้องยุบหรือรวมกับภาควิชาอื่น
ม.นเรศวร ข่าวจะยุบคณะสังคมศาสตร์
ม.ศิลปากร ยุบภาควิชาปรัชญา
สนับสุนให้มีคอร์สเฉพาะทางครับ ให้คนจบป.ตรีเน้นเรียนคอร์สเแพาะทางเพื่ออัพความรู้อัพสกิลไม่จำเป็นต้องเน้นเรียนป.โทอย่างเดียว
ฟังแล้วดีมากเลย เพราะความเชี่ยวชาญ มันสามารถต่อยอด ไปยัง ความเป็นเลิศ และความคิดสร้างสรร
อยากให้ทุก ม. คุณภาพเหมือนกัน ก็ต้องใช้หลักสูตรการสอนเหมือนกัน อาจารย์ความรู้ระดับเดียวกัน การสอนเหมือนกัน ที่สำคัญ! ตัดเกรดโหดเหมือนกัน ประเทศไทยต้องไม่ปล่อยเกรดได้แล้ว เด็กคนไหนยังไม่ผ่านก็สอนจนกว่าจะผ่าน ไม่ใช่อัพคะแนนให้
เราไม่ได้จบราชภัฏ แต่เพื่อนเราจบจุฬาเก่งจริงๆ มาเรียนที่ ตปท ก็สอบได้คะแนนระดับต้นๆ ยอมรับ ระดับมันสมอง ความคิด เวลามันเตรียมตัวสอบเค้าเน้นเอาคะแนนต้นๆ ถึงเต็ม ไม่ใช่คิดแค่สอบผ่าน
นักเรียนทุนก็แบบนั้นแหละครับ ยิ่งทุนรัฐบาลทุนมหาลัย ต้องรายงานผลการเรียนตลอด เรียนไม่จบโดนปรับเละ เรียนนานกว่าหลักสูตรกำหนดก็ต้องเขียนรายงานเหตุผล การเอาทุนมาเรียนไม่ใช่เรื่องล้อเล่นนะครับ เขาถึงต้องตั้งใจเพราะไม่ใช่ทุกคนที่มีโอกาสแบบนี้ ทำไม่ดีคนรุ่นถัดไปก็ซวย ทางเมืองนอกเขาก็อาจจะไม่พิจรณารับเข้าเรียน
เพื่อนเราติดจุฬา จบมาได้ 2.5 นะ (เห็นว่าแบบนั้น) ทั้งๆที่ตอนเรียนมัธยมได้สามกว่า จะเรียนได้ดีไหมขึ้นอยู่กับตัวเอง เราไม่ได้ดูถูกอะไรเลย ตอนเรียนมัธยมเพื่อนเราเก่งกว่าเราอีก คณะที่เรียนก็ไม่ได้เรียนยากเว่อร์อะไรนะ แล้วแต่คนจริงๆ
กะเพื่อนเราอีกคนสอบไม่ติด ไปเรียนอีกที่ แต่ได้เกรด 3+ (เรียนราม ใครว่าง่าย ไม่มีคะแนนเก็บ แล้วแต่สาขาล้วนๆ) บางสาขาไม่มีคะแนนเก็บ สอบจากคะแนนfinalล้วนๆ
@@raiponcemignonne1590 พอเถอะไอเรื่องเอาคนนั้นคนนี้มาเปรียบเทียบอ่ะ เลิกซะที ถ้าเราเห็นเขาเป็นเพื่อนจริง เราก็ไม่ควรเอาเพื่อนไปเปรียบเทียบกัน เราจะคบเพื่อนเราสนใจการศึกษาเขามากกว่านิสัยเหรอ
@@thaihairband ก็ไม่ได้เปรียบเทียบนะ แค่เล่าให้ฟังไม่ได้มาเผาเพื่อน เค้าสอบติดจุฬาคือโครตดี ส่วนเรื่องเรียนจะดีหรือไม่ดีไม่ว่าจะเรียนที่ไหนมันขึ้นอยู่ที่ตัวเองนะ
เพื่อนอยู่จุฬาก็เยอะนะ ที่พูดไม่ได้บอกว่าคนเรียนจุฬาเกรดแย่ทุกคน คนเรียนดีๆมันมีเยอะ
เพื่อนอีกคนได้เกียรตินิยม จบจุฬา คือมันธรรมดาที่เค้าเก่ง มันมีทุกที่ในสังคมว่าจะเก่งหรือไม่เก่ง เรียนปานกลางก็มี แต่ค่าของคนคือความสุขได้เรียนอะไรที่ต้องการ บางคนต้องการเพราะค่านิยม จนซิ่งหลายรอบ อันนี้มันเรื่องของเค้า กำลังตะบอกต่อให้เรียนที่ไม่ดัง แต่ตั้งใจมุ่งมั่น ได้เกรดดี มีงานทำแค่นั้น - ไม่ได้เปรียบเทียบ ไม่ได้เผานะ แต่แค่ให้ตีความใหม่ว่าต่อให้คุณเรียนที่ไหน ถ้าคุณตั้งใจจริง เกรดก็ได้ดีแน่นอน เหมือนราชภัฏต่อให้คนดูถูก แต่ถ้าคนตั้งใจเรียนเค้าก็ได้เกียรตินิยม
ปล่อยเกรดเฉลี่ยไม่รู้นะ เพราะไม่ได้เรียนที่นี่ การสอนไม่รู้
กำลังจะสื่ออะไรก็ตีความใหม่นะ ไม่งั้นคุณจั๊ดนักข่าวเค้าจะมานั่งพูดทำไม เรียนที่ไหนไม่ว่าจะสถาบันดังหรือเปล่าไม่สำคัญ ถ้าตั้งใจเรียนเกรดได้ดีทุกคน
ค่าของคนมันที่คุณจะคิดว่าเพราะสถาบันเหรอ
มันไม่ใช่ความตั้งใจของคนที่จะเข้าไปเรียนเหรอ? ต่อให้สถาบันไม่ดังก็ประสบความสำเร็จได้
ไม่สนใจหรอกนะ ว่าใครการศึกษาดีกว่า เพราะก็เพื่อน แต่กำลังจะชี้ว่าต่อให้เรียนที่คนดูถูกแค่ไหน ถ้าคุณตั้งใจเรียน ก็สามารถเรียนได้ดี มีงานทำ
ผิดประเด็นป่ะ
@@raiponcemignonne1590 เพื่อนผมหรือคนที่ผมรู้จักทุกคนที่เรียนราชภัฎ ไม่มีใครเคยเป็นคนเรียนเก่งซักคน อยู่กลางๆถึงท้ายห้อง ไม่ได้ดูถูกอะไรนะ แต่มันเป็นเรื่องจริง แต่อาจจะมีคนเก่งอยู่บ้างแหละ แต่คงน้อย
มันควรเคารพกันนะ ไม่ว่าจะจบจากที่ไหน.. คนเท่ากันฝึกได้คือกัน...
สำหรับผม การเรียนรู้มียู่ตลอดทุกวัน ไม่เคยหยุด ไม่จำกัดสถานที่
มหาวิทยาลัยทุกที่ ไม่ได้บ่งบอกว่าจบมาแล้วจะประสบความสำเร็จ
สิ่งสำคัญสุดอยู่ที่จบมาแล้ว สามารถสร้างความสำเร็จให้กับตัวเองและครอบครัวอย่างไรมากกว่า จะสังเกตได้ว่ามหาเศรษฐีส่วนใหญ่ ไม่ได้เริ่มต้นการจบที่มหาวิทยาลัย แต่ส่วนใหญ่มหาลัยจะนำเกียรติบัตรไปให้ คิดดูกันดีๆนะครับ
สำหรับเราจะจบจากไหนไม่สำคัญ ขึ้นอยู่กับความถนัดและความสามารถ คนบางคนเรียนเก่งแต่ทำงานไม่เป็นก็มี บางครั้งการสอบราชการเด็กราชภัฏกสอบบรรจุได้ก่อนจุฬาฯก็มี เรื่องนี้จะไม่เกิดการโต้เถียงถ้าคนไม่ไปแบ่งแยกว่าเด็ก ม. ไหนดีกว่ากัน หยุดเถอะการแบ่งแยกมันไม่มีสาระสำคัญอะไรในการพัฒนาประเทศมีแต่จะทำให้เกิดความแตกแยก
ที่ราชาภัฏมันสอบข้าราชาการได้เพราะอะไร เพราะมันมีหลายแห่งส่วนใหญ่ก็จะเป็นตามตำบลของจังหวัด เพื่อให้ทำงานรองรับกับหน่วยอะไรละ ถ้าไม่ใช่ข้าราชาการ
จบ ม.รัย สตาร์ทเท่ากัน ราชการ
แต่ถ้าทำธุรกิจ จบไหนสำคัญมากๆครับ ผมเองได้ connection มาจากเพื่อน จากรุ่นพี่เยอะมาก ปัญหาคือราชภัฏต้องกลับไปมองหลักสูตรตัวเอง พัฒนาให้ตามได้มากกว่านี้ตอนนี้ยังห่างกันไกลมาก
สมองที่ใช้หาเงินกับการเรียนมันคนละส่วนกัน พิมรี่พายไม่เรียนมหาลัยเลยรวยกว่าทุกคน จบจากไหนไม่สำคัญผมให้ค่าเฉพาะสาขาที่มีความเป็นวิชาชีพสูง เช่น แพทย์ ถาปัด การขับร้องการแสดง พวกนี้ขึ้นกับตัวบุคคลจริงๆ แต่คุณภาพการเรียนการสอน ถ้าใครสักคนจะมาบอกว่าเหมือนกันนี่คือตรรกะพังมาก
@@Aunzalambretta ราชภัฏ ไม่ใช่ราชภัฏเน้อ!! แล้วใช้สรรพนามว่ามัน ฟังแล้วสะดุ้งได้เลย"
จุฬา เลือกเด็ก ใครจะเข้าก็ต้องสอบ และอยู่ในเกณฑ์ที่เขากำหนด
ราชภัฏ มีแทบทุกจังหวัด เป็นทางเลือก ที่ไม่มีเกณฑ์กำหนดที่ยุ่งยาก
ให้โอกาศกับคนส่วนใหญ่ สุดท้ายก็ได้นิสิตที่มีใบปริญญาเหมือนๆกัน
ใบปริญญาจุฬากับราชภัฏไม่เหมือนกันครับ ลองเสิร์จดูแล้ว
@@VisibleMRJ 5555555 อันใหนเอาไปจำนำได้ครับ
ไม่ได้เหยียดนะ
ไม่เหมือน!!
คุณเข้าใจผิด ราชภัฏก็เลือกคน มีการสอบเข้า
ไม่รู้ข้อมูลอย่าแสดงความเห็นมั่วๆ
ม.ราม มสธ. ถึงไม่มีการสอบเข้า (สอบเข้าบางคณะ)
@@fundeekongsuk7815 ผมบอกว่า ไม่มีเกณฑ์ กำหนดที่ยุ่งยาก ไม่ได้บอกว่าไม่มีการสอบ
คนเรียนหนังสือเก่ง คนฉลาดหัวไว
คนทัศนะคติดี คนทำงานเก่ง
ล้วนแต่เป็นคนละเรื่องกัน
คนไทยชอบตัดสินคนจากโปรไฟล์
ถึงราชภัฏคุณภาพระบบด้อยกว่าจริง
แต่การเอาเป็นประเด็นการตัดสินคนคนนึง หรือบูลลี่คนที่สอบเข้าม.ดังๆไม่ได้
ความสามารถคนเราต่างกันหลายทาง
เด็กมหาลัยดังๆอาจจะต้องพึ่งพาเด็กช่างเด็กราชภัฏเด็กเรียนไม่จบ
สังคมไทยอย่าไปให้ค่าเด็กเรียนม.ดังมากบางคนจบหมอยังฆ่าแฟนทิ้งเลย
ถึงจะภจึภึภุคค_คไป_คภึ_ค_คไป_ค_ค_คภึไป_คนะ_นะภึึไม่พึภึภึำึภึำึำึำตำึำึพึพนะ_ต
คุณจะรับคนทำงานคนนึงที่ไม่มีประสบการณ์ ก็ต้องดูใบเกรดจากกระดาษหรือป่าวครับ ว่าจบจากไหน คะแนนเป็นยังไง นอกจากนั้นก็ดูจากทักษะอื่นๆในตอนสัมภาษณ์ ว่าพูดคุยรู้เรื่องมั้ย มีตรรกะในการตอบคำถามยังไง ถ้าไ่ม่ดูใบเกรดประกอบจะตัดสินคนยังไง เวลาสัมภาษณ์มีนิดเดียว ประสบการณ์ก็ยังไม่มีทั้งนั้น
ถ้าคนสองคนมีทักษะการตอบคำถาม EQ หรือประสบการณ์พอๆกัน ยังไงเจ้าของบริษัทเค้าก็ต้องเลือกคนที่มหาลัยดีกว่าเข้าทำงานครับ เพราะการเข้ามหาลัยดีๆได้ มันเป็นข้อพิสูจน์ระดับนึงว่า ตอนสอบเข้าคนนี้มีความพยายาม ความขยันในการอ่านหนังสือมากกว่าคนที่สอบไม่ได้
ยังไงการเข้ามหาลัยที่ดีกว่าก็มีข้อได้เปรียบกว่าครับ ไม่ได้เกี่ยวกับค่านิยมอะไร
@@pattum2454 ผมรับงาน รับคนทำงานเป็น ไม่เกี่ยวกับการศึกษา เพราะงานบางอย่างการศึกษาไม่มีสอนในการเรียน ใบปริญญาแค่กระดาษ ส่วนเรียนสูงแต่หมาไม่รับประทาน เจอมาเยอะนะ แถมอีโก้ ตามมาอีก
@@Thomas-vz7hx คุณจะรู้ได้ไงว่าเค้าทำงานเป็นจากการสัมภาษณ์ และคุณเป็นใคร เป็นhrเหรอ?
ไม่มีรั้วไหนดีกว่ากัน สุดท้าย “วิชาชีวิต” และประสบการณ์ด้านการงานของแต่ละคนเป็นตัวกำหนดความสำเร็จของคนๆนั้น
ปัจจุบัน เรามาร่วมมือให้ประเทศเราเจริญกันดีกว่าครับ
คุณจั๊ด นำเสนอได้ดีมากครับ
สุดจัด ชอบเล่าข่าวของคุณจั๊ดฟังเพลินและได้รับความรู้ และข้อคิดดีๆๆมากๆคะ ขอบคุณนะคะ
ลึกมากเลยค่ะมันดีมากเลย♥️ ในใจข้างในนั้นไม่ต้องคิดอะไรมากเลยค่ะรู้กันอยู่แก่ใจดีอยู่แล้ว🤍
สุดท้ายก็มีแต่คอมเม้นไปแซะว่าเด็กม.ดัง ทำงานไม่เป็น ไม่คิดว่ามั่งหรอว่าเด็กที่ตั้งใจ มีวินัย ความรู้จนสอบเข้าม.ดังได้ พอไปอยู่ในสังคมทำงาน เค้าก็จะตั้งใจเหมือนตอนเรียนหนังสือนั่นแหละ
จุฬา มธ.เกษตร มศว. ความใฝ่ฝันของผม สุดท้ายมาเรียนราชภัฎ ครับ
ผมเคยฝึกงาน นศ.ฝึกงาน ทั้งรัฐและเอกชน
ผมไม่ได้เหยียดนะ แต่ความรู้ความสามารถต่างกันจริงๆ
รู้จักพอ...ชีวิตมีสุข
ขอบคุณคุณจั๊ดสำหรับแนวคิดดีๆค่ะ ไม่ว่าจะเรียนหรือจบจากสถาบันใด ไม่ใช่ตัวชี้วัดว่าบุคคลผู้นั้นจะประสบความสำเร็จในชีวิตหรือไม่ การที่บุคคลในสังคมสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข มีระเบียบวินัย เคารพกฎ ระเบียบ และเคารพสิทธิในสังคมและผู้อยู่ร่วมในสังคมต่างหากที่เป็นตัวชี้วัดความดีความสำเร็จของบุคคลในสังคม แต่ที่เห็นในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่จะวัดกันที่ความร่ำรวย เรียนสถาบันไหน ทำงานอะไร อยากให้ความคิด และความเหลื่อมล้ำนี้จบที่รุ่นเราค่ะ
เค้าเป็นนักข่าว ก็ต้องพูดไปแบบนั้นตามบท ในใจจริงๆคิดอะไร เค้าไม่บอกคุณหรอก
@@puddingman2331 ใช่ครับ เผลอๆส่งลูกตัวเองเรียนนานาชาติ จุฬา ธรรมศาสตร์ มหิดล
เรียนที่ไหนก็เหมือนกัน มันแค่คำพูดหวานหูของคนชั้นนำ เอาเข้าจริงๆในสังคมไทยคนของใครต่างหากที่เก่งที่สุด จบจากไหนก้สู้คนของใครไม่ได้
ถ้าคิดแบบนั้นก็แปลว่า ชนชั้นนำจะเป็นชนชั้นนำเสมอไป คนจนจะไม่เลื่อนชั้นเป็นคนชั้นกลาง และคนชั้นกลางจะไม่มีวันรวยขึ้น ส่วนคนที่รวยอยู่แล้วจะไม่ตกต่ำลงมาได้ แต่อันที่จริง ปท.มีชนชั้นกลางเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ การใช้เส้นแม้มีอยู่จริง แต่ไกลจากการเป็นแกนหลักในการรับเข้าทำงานของสังคมมาก แม้แต่ นักเรียนนายร้อย ร้อยละ 80 ก็เป็นนามสกุลใหม่ที่ไม่เคยมีในกองทัพมาก่อน ถ้าสังเกตดี ๆ ขรก.ส่วนใหญ่ไม่ได้มีพ่อแม่หรือครอบครัวเป็นคนรวยมาก่อน เอกชนก็เช่นกัน รับเอาที่ความสามารถมากกว่าใช้เส้น เว้นแต่ลูกเจ้าของหรือผู้ถือหุ้น
ถ้าคิดได้แค่นี้ ก็จะอยู่แค่นี้แหละครับ
จาก ผม คนจนที่สุดสู่ชนชั้นกลาง จากการจบราชภัฏ
คุณจั๊ดพูดถูกมากครับ ผมอยากเรียน มอกรุงเทพ เพราะผมอยากเรียนสาขาการกำกับการแสดง
จะเรียนจบจากสถาบันไหนก็ไม่เท่าลูกๆเป็นคนดี ไม่สร้างปัญหาให้พ่อให้แม่ และไม่เป็นปัญหากับสังคมแค่นี้ก็ภูมิใจและนะลูกๆ
ตีตนเสมอท่าน เรียกคนดีได้ไหมครับ
ค่านิยมในการเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเริ่มเปลี่ยนไปแล้ว จำนวนนักศึกษาในบางคณะเริ่มลดน้อยลง ปัญหานี้เริ่มรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
มาฟังซะ จะได้รู้สักที จะได้ จบ แล้วไป ตั้งใจ ให้ชีวิต ประสบความสำเร็จ ตามที่หวังนะ
ผมเองเรียนจบโรงเรียนอัสสัมชัญ ทางบ้านส่งให้ผมไปเรียนศรีปทุมหรือเอแบคได้สบายๆ แต่ตอนนั้นกระแสด้อยค่าราชภัฏมาแรงเลยลองไปเรียนราชภัฏทุกวันนี้ก็เรียนราชภัฏ(ฝืนเรียน) ที่แน่ๆเขาพัฒนาหลักสูตรใหม่ แต่ที่พัฒนาไม่ได้เลยคือสังคม พวกเขาไม่ยอมรับฟังความเห็นต่าง ทำให้นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่กล้าออกเสียง ไม่กล้าเถียง ไม่กล้าคิดต่าง อาจารย์และนักศึกษาเองก็ไม่ชอบคนเห็นต่างมากนัก คนที่หัวรุนแรง หัวศิลปิน ไม่ควรเรียนราชภัฏอย่างยิ่ง เพราะเมื่อใดก็ตามที่คุณเห็นต่างเมื่อนั้นคุณจะกลายเป็นแพะในฝูงแกะทันที อาจจะเป็นเพราะนี่รึป่าวทำให้บริษัทดังๆไม่กล้ารับเด็กราชภัฏ พวกเขาต้องการคนเห็นต่าง มองสร้างสรรค์มาพัฒนาองค์กร แต่ราชภัฏส่วนน้อยมากจะเป็นแบบนี้ และส่วนใหญ่คนพวกนี้ จะไม่มีโอกาสแสดงฝีมือเพราะถูกปิดกั้นทางสังคม มีลูกบอกลูกมีหลานบอกหลานว่าอย่าเรียนราชภัฏไม่งั้นชะตากรรมจะเป็นเหมือนผม ต้องอดทน อยากพูดอะไรก็ไม่ได้พูด ตอนเรียนอาจารย์ถามไม่มีใครกล้าตอบ มีผมตอบอยู่คนเดียวเนี้ย มีตอบผิดบ้างถูกบ้างก็ว่ากันไป ผมไม่อาย ผมหน้าด้าน😂 เหมือนกันตอนออกเสียงทำกิจกรรมน้องหล้าคำแพงและเฟรชชี่ เพื่อนผมฉลาดลํ้ามากต้องการให้การแสดงแตกต่างไปจากเดิม เพราะการแสดงที่เพื่อนคนอื่นคิดกัน จัดมาแบบนี้ทุกปี เพื่อนผมเลยต้องการสิ่งใหม่ๆเพื่อให้กรรมการจับทางไม่ได้ งบประมาณเท่าเดิม แค่ปรับเปลี่ยนการแสดง สุดท้ายตอนโหวตมีผมแค่คนเดียวเห็นด้วย เพื่อนคนอื่นไม่เห็นด้วย เพราะเพื่อนคนอื่นไม่ใช่เพื่อนผม ผมคิดอะไรทำอะไรพวกเขาจะไม่มีวันเห็นด้วย พวกเขาจะเห็นด้วยก็ต่อเมื่อเป็นเพื่อนรัก นับตั้งแต่ตอนนั้นผมเกลียดประชาธิปไตยแบบเพื่อนรักทันที สมมุติว่าคุณฉลาดมาก คุณไม่มีเพื่อนเลย แต่อีกคนโง่มากมีเพื่อนอยู่14ล้านคน ต่อให้คุณคิดดียังไง 14ล้านคนจะไม่มีวันเลือกฝั่งคุณเพราะคุณไม่ใช่เพื่อนเขา นี่แหละครับ ไม่มีเหตุผลเอาซะเลย 😂😂😂
ผมจบปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ผมมีญาติเรียนจบจากจุฬา และมีญาติเรียนจบจากราชภัฏ ผมถามว่า จุฬา กับ ราชภัฏ ควรเลิกดราม่าได้แล้ว อายฟ้าดินบ้างนะครับ จากบ่าวเก่งคนมักม่วนครับ
ยังคุยกันเรื่องนี้ไม่จบอีกเน๊าะจั๊ดเอ้ย ถ้ามันเก่งกันจริงๆ ประเทศไทยเรามันมีเทคเป็นของตัวเองแล้ว นาซ่า รอสคอสมอส อยู่ตะวันตกทั้งนั้น สังเกตุดีๆ เจ้าสัวไทยที่รวยๆก็ทำ ของกิน ของใช้ เหล้าเบียร์ ธุรกิจผูกขาดเรื่อยเปื่อย ผมก็จบวิศวะราชมงคล 10กว่าปีก่อน ทำงานเขียนแบบแม่พิมพ์เอ็นซีให้บริษัทญี่ปุ่น ซาโจ้ที่ส่งเข้ามาอบรมให้พวกผม เขาก็จบเทียบเท่าแค่ ม.ปลาย แต่เขามีตำเเหน่งเป็นเอ็นจิเนียร์ครับ ใช้ประสบการณ์ชั่วโมงบินล้วนๆ
ทุกสายวิชาชีพ ทุกสถาบัน ก็มีโควต้าในตัวมันเอง การกระทำของเรา ตอนม.4_5_6 +วาสนาจะนำทางเราไป สู่รั้ว ม.ต่่างๆบ้างก็ได้ที่ดีแต่ไม่ตรงโอกาส เลือกใกล้บ้านขาดทุนทรัพย์แต่... จบ ม.6 ก็รวยและประสบความสำเร็จ ก็มีถมเถไป
ยอมรับครับ ม.ดังของรัฐยังงัยก็มีความโดดเด่นกว่าแต่ข้อเสียคือคนที่จบจากสถาบันเหล่านี้มักเหยียดคนอื่น
ผมทำงานร่วมกับเด็กจบ ม.ดัง ที่ผ่านมามีแต่นิสัยดีๆทั้งนั้นครับ ที่เจอก็มีแต่คนจบ ม.ไม่ดังแล้วมาแซะคนจบ ม.ดัง ซะมากกว่า
@@chaiiriver จริงค่ะ ดูจากดราม่าแต่ละครั้งในโซเชียล มันมักเริ่มมาจากเด็กมอไม่ดัง ไปแซะเด็กมอดังก่อนทั้งนั้น โดยเฉพาะจุฬา มธ เห็นโดนตลอด
น้องที่ทำงานจบ ม.ราชภัฏ ความสามารถโดดเด่นมากๆ เก่งรอบด้าน คิดว่าคุณภาพ คุณค่าอยูที่ตัวบุคคลมากกว่า
ใช่
เด็กราชภัฏบางคนเรียนเก่งนะ บางคนก็สอบติด ม.ดังๆดีๆ ได้แต่ไม่มีทุนหรือที่บ้านไม่มีกำลังซัพพอร์ต เลยทำให้ต้องเข้าราชภัฏก็มี
1%
ค่าของคนไม่ได้ขึ้นกับสถาบันและการศึกษาระดับใหนครับ มันขึ้นกับคุณงามความดีของแต่ละคน เพราะทุกที่ย่อมมีทั้งคนดีและคนเลว สังคมวุ่นวายเพราะความคิดแบ่งแยกจนทุกวันนี้
จำได้ว่า ชีวิตมีความสุขมาก..เพราะไม่ได้สอบ entrance เหมือนคนอื่นๆ เพราะได้ โคต้า ศิลปะตอนม.6 เข้า ราชฎัฎ ที่หนึ่งในกรุงเทพ.ไม่มีการเรียนพิเศษเตรียมตัวสอบentrance และเที่ยวช่วงปิดเทอมได้อย่างเต็มที่. ตอนเรียนราชภัฏก็สนุกมากกับเพื่อนและตอนมาเรียนต่างประเทศก็สบายๆ แต่ส่วนตัวคิดว่าโลกทัศน์ของครูไทยส่วนใหญ่กับครูต่างชาติแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ไม่น่าเชื่อว่าเมืองไทยยังมีความกดดันแบบนี้อยู่อีก. เห็นด้วยว่าควรจะมีการส่งเสริมวิชาการเรียนแบบหลากหลายมากกว่านี้ไห้สอดคล้องกับชุมชน. และครอบครัวไม่ควรกดดันไห้เด็กเรียนพิเศษที่เค้าก็ไม่ได้สนใจมากเกินไป, โดยไม่ได้ใช้ชีวิตตามวัย แต่ส่งเสริมในสิ่งที่เค้าอยากจะเป็นมากว่า โดยที่เด็กบางคนอาจะไม่ได้เหมาะกับการเรียนในมหาวิทยาลัยก็ได้ แต่ก็ไม่รู้จะเรียนอะไรเพราะไม่มีใครให้ความรู้พอ
ส่วนตัวแล้วไม่เคยคิดเปรียบเทียบเรื่องการศึกษาเลย. แต่จะ focus กับการใช้ชีวิต และพัฒนาตัวเองไห้มีความสุขมากกว่า. ตอนนี้มองย้อนกลับไป โชคดีจังที่ ที่มีความคิดนี้ได้ตั้งแต่เด็กๆ ☺️
คนสมัยก่อน30กว่าปีที่แล้ว เด็กในกรุงเทพอยากเข้า จุฬาและธรรมศาสตร์เราก็เช่นกันแต่ก็ไม่กล้าพอเพราะคนสอบติดต้องหัวดีจริงๆ มันคือความฝันได้แต่มองนักศึกษาเวลาผ่านไป และการสมัครงานในกรุงเทพส่วนมากดูหน้าตา บุคคลิก
การศึกษา แต่ต่างประเทศส่วนมากดูที่การทำงานมากกว่า
จากประสบการณ์ ขอให้มีความขยัน ความซื่อสัตย์ ใส่ใจในการงานที่รับผิดชอบ จบที่ไหน ก็ได้ เวลาทำงานต้องไปเริ่มนับหนึ่งเหมือนกัน จบที่ดีๆ จอดมาก็เยอะ ความอดทนไม่มี
โดนใจมากค่ะ ตอนดิฉันทำงานนายไม่ให้บอกใครว่าดิฉันจบเอกอาหารและโภชนาการและไม่ได้จบตรีคือนายถูกซื้อตัวและดงดิฉันเข้าไปทำงานในตำแหน่งเลขา และคนทีทำงานจบม.ดังทั้งในและตปท. และจุดพีทคือMDรับนักศกษาฝกงานจากราชภัฎและม.สามย่านท้้งป.ตรีป.โท ผลสรุปเสร็จสิ้นการฝกงานเด็กราชภัฏMDทำหนังสือของจองตัวเด็กกลุ่มนี้รับผิดชอบงานสูงเกินมาตรฐานที่คาดหวัง แต่เด็กม.ดังทำงานแบบชิวๆและคำพูดว่าไปไหนๆใครๆก็รับแต่จะเลือกว่าที่ไหนงานสบายรายได้ดี...ดิฉันชอบคอมเม้นของคุณมากค่ะตรงใจ😇🥰
อันนี้จริง จบสูงอีโก้ เยอะจัด
ข้าราชการหลายๆคน จะเรียน ป โท เอก ที่ ม ราชภัฎเพื่อเอามาเพิ่มวิทยะฐานะ เรียน ส-อา จบมาได้วุฒิ ป โท เอก ส่วนสาขาวิชาที่เรียนก็ไม่ได้เน้นว่ามีประโยชน์อะไรมาก เน้นให้ได้ ป โท เอก เท่านั้น บางสาขาส่วนตัวก็มองว่างั้นๆ หลายๆคนจบ ป ตรีมาแต่ภาษาต่างประเทศสำคัญๆยังพูดไม่ได้ ไม่ได้ลบหลูุ่แต่อยากให้พัฒนาระดับ ป ตรี ขั้นต่ำต้องพูดอ่านเขียนภาษาสากลได้ดีพอใช้ ก็คงเห็นว่าทำไมข้าราชการดถึงเรียนต่อ รภ คหสต
คือ ไม่ได้อยากด้อยค่าวุฒิ หรือ สถาบันนะ ข้าราชการที่เรียนต่อ ป.โท เยอะสุดก็ครูครับ
มันจะมีอยู่ 2 กลุ่ม
1. กลุ่มที่เรียนเพื่อปรับวิทยฐานะให้เร็วขึ้นจาก 4 ปี เหลือ 3 ปี
2. กลุ่มที่เรียนเพื่อสอบเป็น ผอ. โรงเรียน (เรียนบริหารการศึกษา)
เมื่อก่อน 2 กลุ่มนี้ได้ทั้งขึ้น ทั้งล่อง คือ ได้ทั้งปรับลดเวลาทำวิทยฐานะให้เร็วขึ้น + ได้สอบเป็นผอ.รร.
เพราะกระทรวงมันไม่ได้บังคับเรื่องวิชาเอกที่จบ คนเลยนิยมเรียน ป.โท บริหารเพื่อลดเวลาวิทยฐานะจากปกติ 4 ปีเหลือ 3 ปีหากจบ ป.โท ส่วนใหญ่ก็เรียนพวกราชภัฏ ราม เก่งหน่อยก็เกษตรศาสตร์ จุฬา มศว. แต่สุดท้ายไม่ใช่ทุกคนจะไปถึงเป้าหมาย เช่น หลายคนจบ บริหารแต่ไม่ได้สอบเป็นผอ. ก็เยอะ ส่วนใหญ่ก็ได้แค่ปรับเงินเดือน กับคุยทับถมชาวบ้าน
ปัจจุบันใครที่บรรจุหลัง 9 ธันวา 59 จบบริหารหลังจาก ปี59 มีสิทธิ์แค่สอบเป็นผอ. กับ ปรับเงินเดือน ไม่สามารถยื่นลดเวลาทำวิทยฐานะได้แล้ว คือ ทำปกติ 4 ปีไปเลย หากจะยื่นลดหย่อนได้ต้องจบ สาขาการจัดการเรียนรู้ เช่น สาขาการสอนสังคม การสอนภาษาไทย การสอนภาษาอังกฤษ เป็นต้น และต้องมีผลสอบภาษาอังกฤษมากกว่า B2 (ต้องสอบได้ C1 ตามมาตรฐานระดับ ป.โท) ตอนนี้มันไม่ง่ายเหมือนแต่ก่อนแล้วครับสบายใจได้ ต่อให้หลุดเรียนจบมาได้ แต่การประเมินวิทยฐานะไม่ง่ายอย่างที่คิด เขาทำมาเพื่อกันลัดไก่
ฉันอีกคนที่.จบ.ปตรี.จากสถาบันราชภ้ฏ เอกคณิตศาสตร์และสถิติประยุกต์.สอบบรรจุครูติด.ตั้งแต่จบมาแค่หกเดือน ภาคภูมิใจนะที่ไม่ได้รองานนานไม่ตกงาน
เก่งมาก เก่งเวอร์❤
ใครจะจบที่ไหนผมไม่รู้ แต่ผมจวธรรมศาสตร์ เพราะผมรักธรรมศาสตร์ .ธรรมศาสตร์สอนให้รู้จักรักประชาชน
เป็นแนวคิดที่ดี และจริงค่ะ ต้องมองจุดเด่น ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมของจังหวัดนั้น ยิ่งๆเด็กๆสมัยนี้ คิดเป็น คิดเก่งค่ะ
จริงสุด
ผม เคยเถียงกับ เด็ก ราดพัดนะ เขาบอกเรียนที่ไหนก็ เหมือน กัน ผม จบ มข ทำเอกชนมา20ปี ที่กทม พอกลับต่างจังหวัด ผม สอบ ราชการ ครั้งเดียวติด ส่วนเขา ที่ได้เกียรตินิยม ราดพัด สอบ บรรจุ ตลอดชีวิต ยังเป็นคน เฝ้าหอ อยู่ เลย
มันสมองมันต่างกัน เราจบ บช ราม แต่เรายอมรับคนจบ ม ต้นๆนะ เก่งจริงๆ
แนะนำเพิ่มเติม
ม.หลักในแต่ละภาค มีสาขาวิชาที่ยอดเยี่ยม ในไทย เช่น
มช.: นาโนเทค.......
มทส: วศ. ขนส่ง......
มอ:.วท. อาหาร.....
นศ. ในภูมิภาค ไม่จำเปนต้องเข้ามาเรีบน ป.ตรี ใน กทม.
เราถูกคนรุ่นก่อนๆ ฝังความเชื่อ ค่านิยมแบบนี้และถุกส่งต่อกันมาถึงตอนนี้ มันเลยมีความเหลื่อมล้ำทุกวันนี้
เอาความจริงมาพูดไปเลย ชื่อเสียงของมหาลัยมันก็ได้มาจากนักศึกษาที่จบมานั่นแหละ
จริง
จงศึกษาเรียนรู้อย่าหยุดยั้ง ไม่สำคัญจบมาจากที่ไหน ขอแค่เรียนให้รู้มุ่งสู่ไป สู่เป้าหมายของชีวิตแต่ละคน สิ่งสำคัญสร้างชีวิตสร้างอาชีพ ถึงที่สุดสร้างคนสร้างสังคม สถาบันคือจุดเพียงเริ่มต้น เกิดเป็นคนมีเกียรติทุกคนเอย
วิเคราะห์ได้ดีมากค่ะ
ไม่ต้องเสียเวลามาถกเถียงกันหรอก
ความจริงคืออะไร เราต่างรู้กันอยู่แก่ใจ
❤️❤️❤️
ช่าายครับ ความจริงพิสูจน์ได้
ใช่ไม่ต้องไปเถียงกันหรอกยังไงราชภัฏก็สู้จุฬาไม่ได้อยู่แล้ว
@@kfc3025 แต่ราชภัฎก็ไม่มีสามกีบแค้นี้ก็ดีแล้ว
@@jittananlysholm4427 ไม่อยากพูดอะไรมากนะครับ เพราะเม้นคุณมันส่อไปแล้ว
@@jittananlysholm4427 5555 เพราะไอ้ราชาภัฏมันเป็นมหาลัยที่ดักดาน เพราะแม้แต่ประชาธิปไตยไอ้ม.นี้มันมีก็ไม่มีหลักสูตรสอน มันสมชื่อราชาภัฏจริงๆ
ไม่ต้องเถียงกันหรอก จะเรียนอะไรถ้าได้ความรู้ที่ไม่สามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้ก็ไม่มีประโยชน์อะไรเสียเวลาเรียนเฉยๆ การเรียนก็เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนากิจการของตัวเอง ถ้าไม่พัฒนากิจการของตัวเองก็เรียนไปเพื่อสมัครงานเป็นทาสบริษัท คนที่สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ก็ต้องดีกว่าคนที่มีความรู้แต่ไม่สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน วิชาที่ไม่มีประโยชน์เรียนไปก็ไม่ได้ใช้แต่ก็ต้องจ่ายค่าเรียนทำให้เสียเงินฟรี
จบจากที่ไหนไม่สำคัญวิชาพื้นฐานระดับปริญาตรีเรียนเหมือนกันถือว่าความรู้เท่าเทียมกัน คณะต่างกันต้องยอมรับ ที่สุดคือเป็นคนดี ขอบคุณจั๊ดที่หยิบยกมาพูด
ไม่น่าจะเท่านะคะ ต้องไปดูหลักสูตรด้วยแค่คนละคณะก็ไม่เท่ากันแล้ว😊
มันขึ้นอยู่กับว่าเราอยากเรียนอะไร บางทีที่ราชภัฏไม่มีสอนเช่นแพทย์ สถาปัตย์ เราก็ต้องไปเรียนมหาลัยใหญ่ที่เปิด บางทีราชภัฏสิ่งแวดล้อมก็ไม่เอื้อต่อการเรียน นิเทศ อักษรศาสตร์ เพราะไกลแหล่งเรียนรู้ ด้านครุ ราชภัฏก็เชี่ยวชาญ แต่เด็กๆไม่เข้าใจมุ่งสู่ ม ในฝัน จริงๆสำคัญเราไฝ่เรียนแค่ไหน หรือยากเรียนแค่เท่ห์ๆ เราจบมาทุกระดับเริ่มราชภัฏ ไปเมืองนอกไปจบ ม ดังระดับประเทศ ตอนทำงานเราไม่ได้ด้อยกว่าคนจบ ม ดัง ฉนั้นมันขึ้นกับควาไฝ่ของเรา ใครจะมาช่วยได้ มหาลัยแค่สถานที่ให้เราเข้าไปเท่านั้น
การจบจากสถาบันไหนมันวัดอะไร. สำหรับเรา. มันวัดที่ความพยายาม ความตั้งใจ. ไม่ใช่จากแค่การศึกษาในระดับปริญญา. แต่เป็นความตั้งใจตั้งแต่ระดับมัธยมกันเลย. หากสามารถเข้าเรียนมหาลัยท๊อปๆได้(ไม่รวมแผนกอินเตอร์ แผนกนี้ขอแค่มีเงินก็เข้าได้แทบทุกคน) แสดงว่าความพยายามในการเรียนรู้ การเข้าใจในบทเรียน. หรือแม้บางวิชาจะเน้นการท่องจำเป็นนกแก้วนกขุนทอง. แต่ก็สามารถวัดได้ว่า. ทำในสิ่งที่คาดหวังได้. ทีนี้ระหว่างเรียนในมหาลัย ตัดเรื่องสถาบันออกชั่วคราว จบมาจากที่เดียวกัน ถ้าเลือกได้เขาก็ดูเกรด ดูกิจกรรม. สามารถทำงานร่วมกับคนอื่นได้มั้ย. บางคนเรียนเก่ง. แต่ไม่ทำกิจกรรม โลกส่วนตัวสูง. รับมาก็เพิ่มปัญหาให้บริษัทอีก.
ป.ล. ส่วนตัวเรา เราเลือกรพ.เวลาเจ็บป่วย. (มันเกี่ยวกับเรื่องนี้เหรอ) รพ.ที่เรารักษาตลอดคือรพ.นั้นที่มีแต่หมอจบจากจุฬา มหิดล มหาลัยรัฐ ถึงจะแพงกว่าชาวบ้านแต่ก็ยอม ดีกว่าไปเจอหมอจากมหาลัยเอกชน มีแต่เงินไม่น่าได้เรียนหมอนะเราว่า. เป็นอาชีพที่ขึ้นอยู่กับความเป็นตายของชีวิตคน. เอาใครมาเรียนก็ได้เหรอ ตรวจจากโรคนึงเป็นอีกโรคเกือบตายคารพ. เข็ดจริงๆ ถ้ารพของรัฐก็รพที่มีแต่หมอจบจากมหิดลกับมหาลัยรัฐ
ชีวิตนั้น ต้องดูไปยาวๆ คนที่จบมหาวิทยาลัยดังเก่าแก่ รวมๆ อาจจะไม่ได้ประสบความสำเร็จมากกว่าคนที่เรียนมหาวิทยาลัยที่เกิดขึ้นทีหลัง จริงอยู่มหาวิยาลัยเก่าแก่มีข้อได้เปรียบเนื่องจากมีรุ่นพี่ๆ ที่ไปกระจายอยู่ตามหน่วยราชการหรือองค์กรใหญ่ๆ อยู่มาก จึงเกิดระบบพวกพ้องของคนที่จบมหาวิทยาลัยเดียวกัน โอกาสความก้าวหน้าของคนที่จบมหาวิทยาลัยเก่าแก่นั้นก็จะดูว่ามากกว่า แต่ปัจจุบันนี้สถานการณ์เริ่มเปลี่ยนไป เด็กที่จบมหาวิทยาลัยอื่นมีจำนวนมากขึ้น และมีความโดดเด่นเรื่องความมุมานะ สู้งาน ก็เริ่มเห็นว่าผู้บริหารระดับสูงมีจำนวนผู้ที่มีแบล็คกราวน์จากมหาวิทยาลัยรุ่นหลังๆ มากขึ้นจากเดิมมาก
จากประสบการณ์ส่วนตัว และเกษียณแล้ว จะบอกว่าตอนที่เป็นผู้บริหารระดับสูงเวลาเลือกคนเข้าทำงาน และเลือกคนที่จะมาเป็นผู้บริหารนั้น จะดูเรื่องสถาบันการศึกษาที่จบมาน้อยมาก ถ้าจะดูก็ดูพวกที่จบจากมหาวิทยาลัยชื่อแปลกๆ จากต่างประเทศว่าคืออะไร แต่จะดูประวัติการทำกิจกรรมระหว่างเรียน ประสบการณ์การทำงาน ความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา และทัศนคติมากกว่า ซึ่งทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละคนมากกว่า ที่ผ่านมาไม่ค่อยรู้สึกว่าเด็กที่จบจากมหาวิทยาลัยต่างๆ จะต่างกัน คนที่ได้รับเลือกจึงเป็นใครก็ได้ที่เขาเก่ง ไม่ได้ขึ้นอยู่กับมหาวิทยาลัย
ความเข้มข้นของเนื้อหาและความยากของข้อสอบมันต่างกันนี่ครับ เฉลี่ยโดยรวมราชภัฏแพ้เกือบทุกมิติ ซึ่งมันก็ควรเป็นแบบนั้นเพราะถ้ามาตรฐานเดียวกันรับรองได้ตกซ้ำชั้นกันครึ่งประเทศ เพราะต้นทุนชีวิตคนไทยส่วนใหญ่มันต่ำจนเด็กๆต้องช่วยงานพ่อแม่แทนที่จะได้เน้นการเรียนล้วนๆ
ชอบคุณจั้ดจัดรายการ
บริษัทที่ดิฉันทำงานเปิดโอกาศให้ทุกสถาบันการศีกษา มาสมัคร และเข้าทำงาน ไม่ว่าจะเป็นเอกชน รัฐบาล หรือ มหาวิทยาลัยเปิด และ ราชภัฎ โดยจะให้ผู้สมัครทุกคนสอบข้อเขียนก่อนในเบื้องต้น คือ วิชาภาษาอังกฤษ ความรู้ทั่วไป และวิชาเฉพาะด้าน(วิชาชีพ) ทำแบบนี้มา 10 กว่ารุ่น ดิฉันมีข้อสังเกตว่า ผู้ที่ทำคะแนนสูงสุด Top 10 ก็ยังเป็นมหาวิทยาลัยรัฐฯชั้นนำ (จุฬา มธ พระจอม 3 สถาบัน)อยู่ดี และเอกชนชั้นนำ ส่วนราชภัฎก็ยังอยู่อันดับท้ายๆ หรือไม่คะแนนก็น้อยมากๆ จนรับเข้าทำงานไม่ได้จริงๆ ก็เคยแอบสงสัยเหมือนกันว่า พวกเขาเรียนอะไรกันเนี้ย! ทำไมถึงทำข้อสอบกันไม่ได้เลย ตอนสัมภาษณ์ก็เหมือนกัน เด็กจากมหาลัยรัฐฯ ชั้นนำจะมี ตรรกะที่ดี และมีความมั่นใจสูง แต่ข้อดีของเด็กราชภัฎ คือ ขยัน อดทน และอยู่ทำงานกับบริษัทนานมาก (เกิน 5 ปี)ทุกคน ส่วนเด็กจากมหาวิทยาลัยรัฐบาล อายุเฉลี่ย 2-3 ปี
ทำตัวเองให้ดี เป้าหมายในชีวิตชัดเจนก็พอ จะเรียนมาจากไหนก็ชีวิตดีได้หมด
อยู่ที่คนค่ะ ไม่ได้อยู่ที่สถาบัน mindset คือสิ่งที่ชี้ชัด ว่าใครทำงานได้ดีกว่า มันคือการปรับตัวและเรียนรู้ให้เข้ากับองค์กร และหน้าที่การงานในองค์กรนั้น ๆ บางคนจบ ม.ดัง ม.ดี ที่ค่านิยมทางสังคมยอมรับ ก็ไม่ได้ทำงานได้ดี Ego เยอะมาก แต่เอาจริง แดกไม่ได้เลย เงื่อนไขเยอะ แต่บางคนก็ดีมากฉลาดคิด ฉลาดทำ mindset ดีมาก ไม่ได้อยู่ที่สถาบันค่ะ นี่เจอมากับตัวในสังคมการทำงาน ไม่ว่าราชภัฏฯ ม.รัฐ ดัง หรือเอกชน อยู่ที่คนจริง ๆ นี่เป็นคนนึงเวลาจะรับเด็กเข้าทำงาน จะไม่เอาสถาบันเป็นตัวตั้ง แต่จะเอาทัศนคติ และ mindset เป็นตัวตั้ง ซึ่งปัจจุบันมีหลาย Method มากในการวัด และสร้าง RTB ให้เห็น
ไม่ต้องเถียงกันหรอก หลักสูตรการเรียนการสอนก็คนละอย่าง ความโดดเด่นในแต่ละสาขาก็ต่างกัน ให้ไปดูที่ความสำเร็จจากการทำงานดีกว่า บางคณะม.ดังก็ด้อยกว่าในการทำงานจริง แต่คณะที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สุขภาพ ก็ต้องม.ดังดีกว่าอยู่แล้วด้านความรู้ความสามารถ แต่ในด้านนิสัยเหยียดคนอื่นนั้น เรียกว่าเป็นนิสัยส่วนบุคคลที่ได้รับมาจากครอบครัวและสังคมที่เค้าผ่านมาเสียมากกว่า
แหวะ เด็กราดพัดแน่นอน
ประเด็นนี้ มันเริ่มมาจากนักการเมือง ที่ชื่อ ธนาธร ที่ไปปราศรัยหาเสียง ชอบสร้างประเด็นแบ่งแยก ให้แตกแยก
ทั้งเรื่อง
คนรุ่นใหม่ คนรุ่นเก่า
เผด็จการ ประชาธิปไตย
อนุรักษนิยม เสรีนิยม
มหาวิทยาลัยคนจน คนรวย
👏👏👏👏👏
อาจารย์ที่สอนในราชภัฏจบจากมหาวิทยาลัยที่คุณบอกชั้นนำเป็นส่วนใหญ่ ถ้าคุณดูถูกราชภัฏคุณกำลังดูถูกมหาลัยที่ผลิตบุคลากรมาสู่ราชภัฏน่ะครับ คิดให้มาก ที่ว่าไร้คุณภาพเพราะเราไม่สามารถเลือกเด็กได้ น่าจะภูมิใจน่ะ ที่ราชภัฏช่วยนักเรียนที่ไม่มีโอกาสได้เรียนในมหาลัยดังๆ
ยุที่การใส่ใจเรียนจบเอกชลก็โง่ได้ดูเด็กสามกีบสิโง่โง่
การรับเข้าทำงานในบริษัทชั้นนำ และการก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งงานสูงๆ จากประสบการณ์ท่านไหนที่จบมหาลัยชั้นนำ จะได้รับการยกย่องมีหน้ามีตาในองค์กรกว่าจบสถาบันทั่วๆ ไป
เรื่องนี้พูดยากนะ ขนาดประเทศพัฒนาแล้วยังแบ่งแรงค์เลย คนในประเทศรับพนักงานยังแบ่งแรงค์แบ่งเชื่อชาติก็ยังมี
ย้อนวันวาน สำหรับคนโง่ๆสมองทึบอย่างเรา มหาวิทยาลัยไหน ก็สอบเข้ากับเขาไม่ได้ ยิ่งมหาวิทยาลัยดังๆ ฝันยังไม่กล้าฝัน ในสมัยนั้นจึงนึกถึงแต่ Ramkhamhaeng University คือที่พึ่งสุดท้าย แต่ว่าเวลานั้น ใครถามเรียนที่ไหน ไม่กล้าตอบ อาย แต่เวลานี้รู้สึกภูมิใจอย่างมากเลย ที่ถูกกลุ่มเพื่อนเรียกว่าลูกพ่อขุนฯ และคนโง่สมองทึบคนนี้แหละ ที่ชีวิตมันผกผัน โดยที่ไม่ได้ฝัน และไม่คิดไม่ฝัน ว่าจะได้ไปเรียนถึงเมืองนอก😁
คนใกล้ชิดไม่มีใครจบราชภัฏ ทุกคนจบม.รัฐบาล-เอกชน ส่วนตัวจบตรี-โท มหาลัย top 3 ญาติๆ เพื่อนๆ ก็ด้วย และพื้นฐานครอบครัวไม่ใช่คนรวย (ญาติ-เพื่อนอาจจะรวย) แต่ตัวเองเคยถึงขั้นเกือบบ้านแตกและอาจไม่ได้เรียนมัธยม สำหรับเราและคนรอบตัว การศึกษาสำคัญมาก และจบจากที่ไหนก็ยิ่งสำคัญ ไม่ใช่แค่เรื่องชื่อเสียงหรือ connection แต่เป็นเรื่องการเรียนการสอน คุณแม่เราจบแค่ประถมเพราะสละให้น้องๆ ได้เรียนสูงกว่า (หาเงินให้น้องๆเรียน) ครอบครัวทางแม่สร้างตัวขึ้นมาได้จากการศึกษา และประสบการณ์ทำงานที่ต้องรู้ลึกรู้จริง น้าสาวไม่ได้จบปริญญา แต่เชี่ยวชาญบัญชีจน audit ยกนิ้วให้ น้าชายไม่จบแม้แต่ปวส. แต่ทำธุรกิจจนตั้งตัวได้ ทุกวันนี้เกษียณเล่นหุ้นเลี้ยงครอบครัว แต่ความต่างคือกว่าจะประสบความสำเร็จ ใช้ประสบการณ์รอบบินสูงจัด ต่างจากน้าอีกคนที่ได้เรียนจบตรี-โท จากมหาลัย top 3 ปริญญาเป็นใบเบิกทาง ต่อยอดด้วยความรู้ที่บ่มเพาะ และความสามารถประสบการณ์สั่งสม
และจากการที่มีโอกาสทำงานกับทั้งเด็กจบใหม่จากม.ดัง-ราชภัฏ ถ้านับ % ยังไงคนที่ทำงานได้ดีกว่าก็จบจากม.ดัง ส่วนราชภัฏใช้เวลาเรียนรู้นาน และบางครั้งเราก็รอไม่ไหว สอนยังไงก็ไม่ได้สักที แต่ส่วนน้อยที่มีความรู้ความสามารถจริงก็มี และจากที่คุยคือกลุ่มนี้เข้าราชภัฏเพราะข้อจำกัดหรือ preference ด้านอื่นที่ไม่ใช่ความรู้ความสามารถตัวเอง ซึ่งถ้าได้คนกลุ่มนี้ ส่วนตัวจะชอบมากกว่าพวกจบจากม.ดังปัจจุบัน เพราะเด็กรุ่นใหม่โดนรุ่นพ่อแม่สปอยล์ อีโก้จัด
สรุป เอแบคคือดีที่สุด หลักสูตร สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก สิ่งแวดล้อม สังคมที่ดี
5555555 ชอบครับ ดูหลอกตัวเองดี
จะ.....จุฬาหรือราชภัฏ....สุดท้ายก็...ความดันเบาหวาน.....มาเยือนกันทั่วหน้า.........555555......
หลายๆมหาวิทยาลัย มีหลายๆคณะที่แปลกออกไปแล้ว และเชื่อว่า หลายๆมหาวิทยาลัยก็จะมีจุดเด่นเป็นของตัวเอง อยู่ทีผู้รับสารความรู้นั่นล่ะครับจะนำมาปรับใช้อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ เคยรับน้องฝึกงานสายนิเทศ บอกเลยว่าน้องๆ ราชภัฏ ขยันและต้องการความรู้กว่ามาก เมื่อเทียบกับ อีกสถาบัน
สาขาอื่นไม่รู้ แต่ถ้าเกี่ยวกะ graphic and design บอกเลยว่า จากประการณ์เปิดร้านมา 12 ปี ต้องเอามาฝึกใหม่ทุกม. ไม่ว่าจะม.ใหญ่ๆ หรือ ม.ไหนๆ ได้สอนใหม่หมด
เลิกโฟกัสที่ม.สักทีเถอะครับ โฟกัสที่หลักสูตรที่มันเอามาใช้ได้จริงๆสักทีเถอะครับ เปลี่ยนกราฟฟิคทีก้อต้องเอามาสอนที หัวจะปวด
เรียนจบจุฬาโอกาสสมัครงานง่ายกว่าอยู่แล้วครับ อย่างน้อยการสอบเข้าจุฬาหรือมหาลัยรัฐอื่นๆได้ แสดงว่าตอนมัธยมคุณมีความเรียน มีความพยายามอ่านหนังสือมากกว่าคนอื่น คนก็อยากจะรับเข้าทำงานกว่ามหาลัยรองๆลงไปอยู่แล้ว
แต่ชีวิตคนเราไม่ได้จบแค่การเรียนครับ สุดท้ายคนจะประสบความสำเร็จได้มันมีปัจจัยอื่นๆอีก ไม่จำเป็นว่าคนจบจุฬาทุกคนจะประสบความสำเร็จ สุดท้ายมันอยู่ที่ตัวเองครับ
จริงครับ
จุฬา เองก็ยังห่างชั้นเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆในเอเชีย อยู่ราวๆ ที่ 30-40 เทียบกับ ม.แห่งชาติสิงคโปร์ , ม.ฮ่องกง , มหาวิทยาลัยโตเกียว และ ม.ปักกิ่ง
ส่วนradพัดนั้น
เป็นคนนึงที่จบ ราชภัฏครับ เเละเป็นคนนึงที่โดนดูถูก ซึ่งไม่เขาใจว่าชาวราชถัฏผิดอะไรที่ต้องโดนว่าอยู่ตลอดทั้งที่ก็ตั้งใจเรียนจบ
มันเอามาเทียบกันไม่ได้หรอก คล้ายกับเปรียบเทียบโรงเรียนเตรียมทหาร
จุดสำคัญ คนดันตกเป็นเหยื่ออุบายมาเทียบกันจริงๆ
ส่วนตัวสอบติดจุฬา (อักษรศาสตร์) ตอนนั้นทำงานพาร์ทไทม์ (ตอนเย็น 18:00-24:00) เพราะต้องหาเงินค่าเทอม ค่าใช้จ่ายอื่นๆเองทั้งหมด ที่บ้านหยุดส่งเสีย เเถวทองหล่อ (ทำตั้งเเต่ยังไม่รู้ผลสอบ ตอนนั้นอยู่ ม.6) พอรู้คะเเนนก็เลยเลือกมหาลัยใกล้ๆที่ทำงาน
ตอนนั้นก็เลือกเเค่สองที่ ไม่จุฬา ก็ ธรรมศาสตร์ เเต่ มธ ต้องไปเรียนรังสิต ไม่สะดวกต่อการทำงาน
จำไดัว่าตอนเรียนเหนื่อยมาก เรียนหนักมากกก ++ เเล้วต้องทำงานหลังเลิกเรียน 6 วัน/ สัปดาห์ ถึงเที่ยงคืนทุกวัน (ตื่นไปเรียนแปดโมงเช้า) เเต่ก็ผ่านมาได้ ทุกวันนี้ ภูมิใจนะที่ตัวเองผ่านมาได้ (จบเกียรตินิยมอันดับ 1) ทั้งเรียน ทั้งทำงาน เหนื่อย เเต่สนุก
พี่ๆที่ร้าน จบหลายที่ ส่วนใหญ่จบราม เเล้วมาทำงานกัน ทำงานเก่งกันทั้งนั้น ไม่เคยดูถุกคนจบที่อื่นเลย โชคดีที่เราเจอเเต่คนดีๆรอบตัว
ที่เขียนนี่ไม่ได้อยากอวดนะ แค่อยากบอกว่าเรียน ม.รัฐ เราก็ทำงานไปด้วยได้ เรียนหนักเเต่ต้องอดทน มีเรื่องเสียดายอยู่อย่างนึง กิจกรรมมหาลัยได้ทำน้อยมาก เพราะต้องไปทำงานทุกเลิกเรียน เลยได้ connection จากตรงนี้น้อยมาก
รู้สึกว่าตัวเองมี soft skills สูงมาก จบมาทำงานเลยไม่กลัวงานเหนื่อย งานยากเลย อาจมีเซงๆบ้างนิดหน่อย เเต่เรื่องท้อไม่ค่อยมี เพราะเราได้ฝึกความอดทนมาตั้งเเต่อายุ 18 ละ มันเลยชินไปเเล้วกับงานเหนื่อย งานยาก การเข้าสังคมกับคนอื่น (รุ่นพี่ที่ทำงาน หัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน) ก็ปรับตัวได้ดี เพราะส่วนตัวเป็นคนไม่เรื่องเยอะ อีกอย่างคิดว่าได้จากการทำงานตอนเรียนนี่แหล่ะ เพราะตอนนั้นยังเด็ก เข้าไปทำงานระบบจิงๆจังๆ ก็มีปรับตัวเยอะมาก
ไม่ว่าจะฝ่ายใหน ราชภัฏ จุฬา ธรรมศาสตร์ ลาดกระบัง...ทุกคนรู้ว่าคืออะไร ส่วนใหญ่คือผลจากรุ่นพี่ๆทำไว้ว่าดีแค่ใหน...
จริงค่ะ ประสบการณ์ตัวเองยังเจอคุณภาพเด็กต่างกันจริงค่ะ ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่เสมอไปถ้าถามความอดทนก็ต่างกันอีกเช่นกัน
ดังนั้นถ้าจะวัดกันแท้จริงต้องวัดที่ผลงาน
ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะพบว่าเด็กจากสถาบันดังจะเข้าใจงาน ดำเนินงาน แบะพื้นความรู้ที่เอามาวช้งานแน่นกว่าค่ะ
@@noolekkoinoi3841 ใช่ครับ..ไม่ใช่สถาบันไม่ดังจะทำงานไม่ได้..แต่ผลงานมันออกมาต่างกัน ผมจบราชภัฏต้องยอมรับจุดนี้..แต่นิสัย ความอดทน ขยัน วินัย จิตใจ ไม่ต่างกันครับ
ธรรมศาสตร์ไม่มีรุ่นพี่รุ่นน้องครับ ทุกคนคือเพื่อนกันหมด ไม่ว่าจะเรียนก่อนหรือเรียนทีหลัง
ธรรมศาสตร์ ไม่ใช่เก่งทุกคณะนะ วิศวะวิทยาศาสตร์ กากกว่าพวกม.เกษตรบางเขน มหิดลอีก
@@fjj1065 คำว่ารุ่นพี่รุ่นน้อง ไม่จำเป็นว่าต้องระบบโซตัสหรือมีการรับน้อง แต่มันคือวัฒนธรรมประเพนี คนอยู่ปี 1 เรียกคนอยู่ปี3ปี4 ก็เรียกพี่อยู่แล้ว จะคณะไหนเราให้เกียรติเราก็เรียกพี่ จะบอกว่าเท่ากันหมดมันไม่มีหรอก
มาตรฐาน แต่ละมหาวิทยาลัย ไม่เท่ากันแน่นอนครับ
ต้นทุนผู้เรียน ความพร้อมต่างๆ โอกาส ก็ไม่เท่ากัน
คือ ความจริง ที่ไปสร้างความเชื่อมั่น สร้างมาตรฐานให้สูงๆ หรือต่ำลง จนตกเกณฑ์มาตรฐาน
เราเรียนราชภัฏตอน ป.ตรี ปโทเราก็มาต่อ มธ ได้นะ
เราจบ ม แถว บางแค แต่ใด้ทำงาน รร แถวๆ สีลม สมัยนั้นเพิ่งจบใหม่ทาง รร สตาร์ทให้ 9500บาท (สมัยนั้นเด็กบ้านนอกอย่างเราถือว่าเยอะ) แต่เด็ก จุฬามาสมัครใด้ 15000 คือ งง มาก ทุกวันนี้เราก็ยังงงอยู่
จั๊ดคะ ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ
คำพูดของเขาในคลิปที่พูดขึ้นมาว่า “ราชภัฏเป็นมหาวิทยาลัยของคนจน เด็กแถวหัวลำโพง โตมาก็ไปทำงานในร้านไอศกรีมสเวนเซ่นส์” ปัญหามันอยู่ตรงนี้ละค่ะจั๊ด ที่คนเขารับไม่ได้
คุณต้องไปดูตลิปเต็มสิครับ ไม่ใช่คลิปตัดต่อ ว่าเขาคุยเรื่องอะไรกัน
จ้๊ดเหมือนกลัวนะไม่กล้าพูดทั้งที่คนทึ่มันพูดจบราชภัฎ ทำงานร้านไอศครีม แต่พออย่าอื่นนี้พูดชัดๆแบบไม่ต้องกลัวเกรงเลย
ใช่
@@Channel-vz5ru
คลิปเต็ม ความหมายเปลี่ยนไหม?
@@fundeekongsuk7815 เปลี่ยนสิครับ ต้องไปดูว่าเขาคุยเรื่องอะไรกัน ไม่ใช่เอามาตัดต่อแล้วคิดกันไปเอง
เก่งจริง รวยจริงมักไม่อวด...เศรษฐีใหม่ กับรวยไม่จริงมักชอบอวด
ใครเรียนจบจากสถาบันใด ไม่ต้องมาเปรียบเทียบกันแต่ละสถาบันมีความเด่นแตกต่างกันไป จริงแล้วข้อดีเด่นอยู่ที่ตัวบุคคล ความสำเร็จของแต่ละคน ใช่ว่าเขาเหล่านั้นจบจากมหาวิทยาลัยชื่อดังเสมอไปเด้อ... อย่ามาเถียงกันเลย...
ไปสมัครงานไม่ต้องคิดว่าเขาจะหยิบใบสมัครมหาลัยไหน ต่อให้ได้งานทั้งคู่แต่ค่าแรงและตำแหน่งช่างแตกต่างกัน555
@@Rama-wl3wm แต่ถ้าทำงานไม่เอาไหน ชื่อสถานบันก็ช่วยอะไรไม่ได้ องค์ประกอบมันมีหลายอย่างค่ะ ถ้าเก่งกันขนาดนั้น ชาติเจริญไปแล้วค่ะ นี่ยังไม่เจริญยังมานั่งเถียงนั่งเหยียดสถานบันกันอยู่เลย ถ้าจะให้เท่ากันให้รัฐสนับสนุนเงินให้เท่ากันก่อนค่ะ ตอนนั้นค่อยมาเทียบกันก็ไม่สาย
การแบ่งแยกของพิธีกรยังใช้คำเหยียดกันเลยครับ เช่น ชั้นนำ โนเนม ส่วนแนวคิดอื่นๆผมขอชื่นชมครับ
เรื่องนี้ไม่ควรเอามาถกเถียงกัน ..ใครก็ตามที่จบได้รับปริญญาบัตรมา มีศักดิ์ มีสิทธิเท่าเทียมกันทุกสถาบัน _มันอยู่ที่ตัวบุคคลมากกว่าในการประสบความสำเร็จ มิใช่อยู่ที่สถาบัน..
ม. ดังๆ หลายๆที่ มาจ้างผมเขียนโปรแรกม ทำโปรเจคจบนะ ผมจบราชภัฎ
ทำให้จน(ทุกข์) ทำให้โง่(งมงาย) ทำให้แตกแแยก(ขัดแย้ง) ปกครองง่าย ยุทธการที่ใช้ได้เสมอ ...สืบหาต้นเรื่องนี้้
ธนาธรไงพูดรับได้ไหม
@@พรสวรรค์พิลึก-ว4บ ทำไมต้องรับได้ หรือรับไม่ได้ กับหมากตัวหนึ่งตัวใดในเกมอำนาจ เราชอบที่จะมองภาพใหญ่ทั้งระบบมากกว่า มันจะทำให้เราไม่ไปยึดติดลุ่มหลง(โมหะ)กับบุคคล ไม่เป็นทาสทางความคิด และเมื่อเราไม่ถูกสะกดจิต เราก็จะเห็น วิเคราะห์ แยกแยะ ด้านดีด้านไม่ดีของทุกฝั่งทุกฝ่ายได้ วิธีคิดเราเป็นอย่างนี้ ขออภัยถ้ามันจะทำให้รู้สึกว่าเอนเอียง ไม่เข้าทางเข้าพวกฉัน เพราะนั่นคือเราชั่งน้ำหนักดีไม่ดีของมนุษย์มาแล้ว จึงเลือกสนับสนุนบางคนบางเรื่อง ที่มันจะดีที่สุด(เท่าที่มีให้เลือกได้) กับชาติกับอนาคตลูกหลาน เพราะไม่ว่าเขา หรือใคร ท่าน หรือเรา เดี๋ยวก็คืนสู่ธรรมชาติ เราไม่มานั่งร้องไห้คร่ำครวญจะเป็นจะตายกับเรื่องพวกนี้หรือกับคนเหล่านี้หรอก แต่อย่างไรก็ขอขอบคุณความหวังดีและห่วงใยของท่าน
ถ้าพวกคุณๆพอที่จะมีกำลังส่งเสียลูก
ให้ได้เรียนในระดับอุดมศึกษา
และลูกของคุณก็เป็นคนที่เรียนเก่ง
ผมขอถามจากก้นบึ้งของหัวใจว่า
คุณจะให้ลูกอันเป็นที่รักยิ่งของคุณ
เข้าเรียนที่ไหน
1. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์
2 . มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
5. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
6. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
7. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
8. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
9. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
10. มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ถ้าเลือกได้ลองตอบจากหัวใจ
จริงๆนะครับว่าคุณจะให้ลูกของคุณ
ได้เข้าเรียนที่ไหน
แต่สำหรับตัวของผม ผมขอเลือกจากหัวใจขอเลือกตามความฝันของตัวเอง
ตั้งแต่เด็กนั่นก็คือ..
....มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต...
เพราะเป็น..มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ที่ดีที่สุดในประเทศไทย และ ที่สำคัญ
ที่สุดของที่สุดนักศึกษาที่จบที่นี่จะได้รับ
พระราชทานปริญญาบัตรจาก...
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว..เท่านั้น
ที่เป็นปัญหาปัจจุบัน เพราะ ทุกมหาวิทยาลัย มีมุมมองเปิดให้ครบ ให้มากที่สุดทุกคณะ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ … เพื่อให้ได้นักศึกษา มาเป็นลูกค้า หารายได้เข้ามหาวิทยาลัย/เลี้ยงคัวเองได้ แต่พอ demands ลดลง .. จึงเสมือนทำธุรกิจ ผลิตสินค้า แต่ผู้บริโภค ลดน้อยลง… ความเสี่ยงจึงเกิดขึ้น
และหากบริหาร จัดการความเสี่ยงไม่ได้ ก็ปิดตัวเองไป
ม. เก่าแก่ มีชื่อเสียงได้เปรียบที่มีแบรนด์ดีดัง พอเอาตัวรอดไปวันๆ แต่หากไม่ปรับไปตรมสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป.. ก็ถึงจุดจบ ได้เช่นกัน ครับ
มันเป็นม.ชั้นนำเพราะทุกคนต่างทุ่มเทเข้ามา อาจจะมีบ้างที่ไม่ได้อ่านหนังสือมาสอบมากมายอะไร แต่ผมเชื่อว่า80%คือคนที่อ่านหนังสือเตรียมสอบเข้ามาแบบหามรุ่งหามค่ำ แม้ว่าม.ดังจะไม่ได้การันตีความสำเร็จ แต่มันก็เป็นความภาคภูมิใจและเชื่อว่ามันจะเป็นบันไดสู่อนาคตได้
จุฬา. เปน ม.เน้นวิจัย เช่นเดียวกับ มหิดล. มจธ. มจล..
มรภ. เน้นการสอน และ วิจัยเพื่อชุมชน
วัตถุประสงค ต่างกัน จึงไม่ควรจะเปรียบเทียบกัน
มีที่ไหน เปืด คณะไสยศาสตน์มั้ยค่ะ จะลงเรียนอีกรอบ.. ขำๆนะคะ..555
แนวคิดดีมากครับ คนที่รอรับประโยชน์ ก็อยากให้เปลี่ยนกันทั้งนั้นแหล่ะ แต่นิสัยคนไทยไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะคนที่มีอำนาจมีหน้าที่ จะไม่อยากลงมือเพราะมันเหนื่อย
เคยเรีบนที่วิทยาลัยสองแห่ง
ภูมิใจครับ
บัณฑิตจากสองวิทยาลัย จะไม่กล่าวถึงมหาวิทยาลัย
FC พี่จั๊ด ความรู้แง่คิดกว้างขึ้นเยอะเลยเดียวคะ