นั่งสมาธิถ้าจะคิดให้คิดแค่-3-เรื่อง | มูลนิธิพุทธโฆษณ์

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 14 жов 2024

КОМЕНТАРІ • 494

  • @WanpenChanlueang
    @WanpenChanlueang 6 місяців тому +3

    น้อมกราบอนุโมทนาสาธุเจ้าค่ะ

  • @sparkjoyathome
    @sparkjoyathome 6 місяців тому +112

    1.พิจารณาโดยความเป็นธาตุ 2. พิจารณาโดยความเป็นอายตนะ 3.พิจารณาโดยความเป็นปฏิจจสมุปบาท สาธุ

    • @k.p.5173
      @k.p.5173 4 місяці тому +3

      อนุโมทนาบุญนะครับ🙏🏻

    • @penpraparueang-u-rai1823
      @penpraparueang-u-rai1823 4 місяці тому +8

      รบกวนช่วยแปลหน่อยค่ะ แปลว่าอะไรคะ ข้อ2 กับข้อ3

    • @tuwewdaeaw7835
      @tuwewdaeaw7835 3 місяці тому +1

      @L42.enfieldให้คิดเมื่อจิตฟุ้งซ่าน

    • @tuwewdaeaw7835
      @tuwewdaeaw7835 3 місяці тому

      @@penpraparueang-u-rai1823ปฎิจสมุปบาทและอายตนะอยู่ด้วยกันครับ มีบทสวดอยู่

    • @McClockfy
      @McClockfy 3 місяці тому

      @@penpraparueang-u-rai1823 พิจารณาโดยความเป็นธาตุ พิจารว่ากายนี้ประกอบด้วยธาตุ 4 ดิน น้ำ ไฟ ลม มาประกอบรวมกัน อะไรเป็นดิน อะไรเป็นน้ำ อะไรเป็นไฟ อะไรเป็นลม เช่น ผมเป็นดิน เสลดเป็นน้ำ ไฟที่ทำให้กายอบอุ่น ลมในท้อง ลมในใส้ พิจารณาโดยความเป็นอายตนะ ตา คือรูป หู คือเสียงเสียง จมูก กลิ่น ลิ้น รส กาย สัมผัส ใจ ธรรมารมณ์ พิจารณาตามปฏิจจสมุปบาท เพราะอะไรมี จึงมีสิ่งนั้น เพราะอะไรเกิดสิ่งนั้นจึงเกิด เพราะอะไรดับสิ่งนั้นจึงดับ

  • @sdiiar
    @sdiiar 8 місяців тому +50

    คิดแค่ 3 เรื่อง
    1. พิจารณาโดยความเป็นธาตุ
    2. พิจารณาโดยความเป็นอายตนะ
    3. พิจารณาโดยความเป็นปฏิจจสมุปบาท
    🙏🙏🙏

    • @mrnatchannel3622
      @mrnatchannel3622 7 місяців тому +4

      อธิบายบายอีกทีครับเเต่ละอันคือไร

    • @paranrath8717
      @paranrath8717 7 місяців тому +2

      อธิบายเป็นภาษาไทยอธิบายคำภาษาบาลีไม่เข้าใจเช่นอายตนะคืออะไรและข้อ3ปฏิจจสมุปบาทแปลว่าอะไร

    • @flyingtiger1968
      @flyingtiger1968 6 місяців тому +23

      ธาตุ ในทางพระพุทธศาสนา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
      ธาตุ 4
      ในทางพระพุทธศาสนา กล่าวว่า ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วย ธาตุ 4 ประการ หรือเรียกว่า ธาตุกัมมัฏฐาน 4 คือ
      ปฐวีมหาภูตรูป 20 ธาตุดิน (สิ่งที่มีสถานะเป็นของแข็งในร่างกาย เช่น ผิวหนัง ตา จมูก ปาก ลำไส้ ตับ ฯลฯ)
      อาโปมหาภูตรูป 12 ธาตุน้ำ (สิ่งที่มีสถานะเป็นของเหลวในร่างกาย เช่น โลหิต น้ำปัสสาวะ เหงื่อ ฯลฯ)
      เตโชมหาภูตรูป 4 ธาตุไฟ (อุณหภูมิของร่างกาย พลังงานในการเผาผลาญอาหาร ให้เราร้อนในกายและให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย)
      วาโยมหาภูตรูป 6 ธาตุลม (สิ่งที่มีสถานะเป็นแก๊สหรือก๊าซในร่างกาย เช่น ลมหายใจ แก๊สในกระเพาะอาหาร ฯลฯ
      ธาตุ 6
      ในทางพระพุทธศาสนากล่าวว่า ธาตุ มีทั้งสิ้น 6 ธาตุ ได้แก่
      ปฐวีธาตุ ธาตุดิน
      อาโปธาตุ ธาตุน้ำ
      เตโชธาตุ ธาตุไฟ
      วาโยธาตุ ธาตุลม
      อากาสธาตุ ช่องว่างที่มีอยู่ในกายนี้
      วิญญาณธาตุ ความรู้อะไรได้

    • @flyingtiger1968
      @flyingtiger1968 6 місяців тому +21

      อายตนะ (อ่านว่า อายะตะนะ) แปลว่า ที่เชื่อมต่อ, เครื่องติดต่อ หมายถึงสิ่งที่เป็นสื่อสำหรับติดต่อกัน ทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่างคือ
      อายตนะภายใน หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคน บ้างเรียกว่า อินทรีย์ 6 มี 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะภายนอก
      อายตนะภายนอก หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคน บ้างเรียกว่า อารมณ์ 6 มี 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ทั้งหมดนี้เป็นคู่กับอายตนภายใน เช่น รูปคู่กับตา หูคู่กับเสียง เป็นต้น
      อายตนะภายนอกนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อารมณ์ เมื่อตาเห็นรูป เรียกว่า สัมผัส รู้ว่ามีการเห็น เรียกว่าวิญญาณ เกิดความรู้สึกขึ้นเมื่อตาเห็นรูป เรียกว่า เวทนา

    • @flyingtiger1968
      @flyingtiger1968 6 місяців тому +20

      ปฏิจจสมุปบาท (/ปะติดจะสะหฺมุบบาด/) (บาลี: Paṭiccasamuppāda ปฏิจฺจสมุปฺปาท; สันสกฤต: प्रतित्यसमुद्पाद ปฺรติตฺยสมุทฺปาท) เป็นชื่อพระธรรมหัวข้อหนึ่งในศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่างว่า อิทัปปัจจยตา หรือ ปัจจยาการ เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ
      เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารทั้งหลายจึงมี
      เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
      เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
      เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
      เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
      เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
      เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
      เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี
      เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
      เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
      เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
      ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส และความคับแค้นใจ ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
      การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา
      หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ดังนี้ เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา

  • @ciicuu9319
    @ciicuu9319 6 місяців тому +37

    พระพุทธเจ้า เป็นศาสดาเอกของโลก ข้าพเจ้ายึดเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึกและปฎิบัติตามคำสั่งสอนของพุทธเจ้า

  • @นัฏฐนัน
    @นัฏฐนัน 3 дні тому +1

    น้อมกราบสาธุค่ะ

  • @Nop.OSK101
    @Nop.OSK101 9 місяців тому +142

    สาธุ.. คำตอบของพระอาจารย์ลึกซึ้ง ชัดแจ้งแทงตลอดจริงๆ โดยเฉพาะการอธิบายเรื่องการละนันทิ..ที่ต้องกระทำตลอดจนนิพพาน (ไม่ใช้เรื่องของการละได้ชั่วคราวขณะภาวนา แล้วก็มาท้อถอย) ขอกราบเรียนว่าเป็นบุญมากที่ได้รับฟังครับ 🙏🏻🙏🏻🙏🏻🌹🌹🌹

  • @Kanawat-y2c
    @Kanawat-y2c 6 місяців тому +9

    สาธุ พระพุทธศาสนา ลึกซึ้ง ที่สุดในโลก ดีใจที่ได้เกิดมาใน ร่มพุทธศาสนา ถึงแม้ผมยังละทางโลกมิได้อยู่

  • @Sophia-bu4yi
    @Sophia-bu4yi 9 місяців тому +42

    สาธุ..ขอให้ข้าพเจ้า เจริญในธรรม ยิ่งๆ ขึ้นไป..ขอให้พระอาจารย์ และ ผู้เผยแพร่ จงมี อายุ ยืน สุขภาพแข็งแรง😊

  • @sathanmaneetham1638
    @sathanmaneetham1638 7 днів тому

    ### **4. การเจริญอานาปานสติเพื่อการละนันทิ:**
    การฝึก **อานาปานสติ** (การเจริญสติในลมหายใจเข้าออก) เป็นเครื่องมือที่ดีในการทำให้จิตสงบและละวางจากนันทิ เมื่อจิตรู้เท่าทันในลมหายใจ ความเพลิดเพลินยินดีในสิ่งอื่น ๆ จะค่อย ๆ ลดลง
    #### วิธีการปฏิบัติ:
    1. **กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก**:
    - ให้เธอเฝ้าดูลมหายใจเข้าและลมหายใจออกอย่างต่อเนื่องด้วยสติ โดยไม่ต้องพยายามบังคับลมหายใจ เพียงแค่รับรู้ลมหายใจตามธรรมชาติ
    2. **ปล่อยวางจากอารมณ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น**:
    - เมื่อใดที่ความเพลิดเพลินในรูป เสียง หรืออารมณ์อื่น ๆ เกิดขึ้น ให้เธอรู้เท่าทันและกลับมามีสติอยู่กับลมหายใจ ความยินดีที่เกิดขึ้นจะค่อย ๆ ลดลง เมื่อเธอฝึกเช่นนี้อย่างต่อเนื่อง จิตจะค่อย ๆ ไม่เพลิดเพลินในอารมณ์เหล่านั้น
    ### **5. การพิจารณาปฏิจจสมุปบาทเพื่อการละนันทิ:**
    การพิจารณา **ปฏิจจสมุปบาท** ช่วยให้เธอเห็นว่านันทิหรือความยินดีนั้นเกิดขึ้นจาก **เหตุปัจจัย** เมื่อไม่มีเหตุปัจจัย ความยินดีนั้นก็จะดับไป
    #### วิธีการปฏิบัติ:
    1. **พิจารณาว่าความยินดีเกิดจากการกระทบของอายตนะ**:
    - เมื่อใดที่เธอรู้สึกยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ให้เธอพิจารณาว่าความยินดีนั้นเกิดจากการกระทบกันของ **อายตนะภายใน** กับ **อายตนะภายนอก** ซึ่งเป็นเพียงเหตุปัจจัย เมื่อการกระทบสิ้นสุด ความยินดีก็จะสิ้นสุดไปด้วย
    2. **เห็นว่านันทิไม่เที่ยงและเป็นเหตุแห่งทุกข์**:
    - เมื่อใดที่เธอเห็นว่าความยินดีนี้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย และไม่เที่ยง จิตของเธอจะค่อย ๆ ปล่อยวางจากการยึดมั่นในความยินดีนั้น
    > "เพราะนันทิเป็นเหตุให้เกิดตัณหา เมื่อใดที่จิตปล่อยวางจากนันทิ เมื่อนั้นจิตย่อมหลุดพ้นจากความทุกข์"
    ---
    ### **สรุป:**
    การละนันทิหรือความยินดีในสิ่งต่าง ๆ ต้องอาศัย **สติ** และ **ปัญญา** ในการพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงของนันทิ เมื่อใดที่ท่านรู้เท่าทันความยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส จิตจะสามารถละวางจากการยึดมั่นในความเพลิดเพลินเหล่านั้น การเจริญสติในอารมณ์ต่าง ๆ และการพิจารณาปฏิจจสมุปบาทจะช่วยให้ท่าน **ปล่อยวางจากความยินดี** และนำไปสู่ความสงบในจิต
    ข้าพเจ้าเข้าใจอย่างนี้ หากท่านใดเห็นว่าคลาดเคลื่อน ไม่ชอบ ไม่บริบรูณ์ ขอโปรดชี้ในข้อนั้นเถิด

  • @สุขุมเลวิส

    น่อมกราบอนุโมทนาบุญเจ้าค่ะ

  • @สงัดแก้วอํานาจ
    @สงัดแก้วอํานาจ 7 місяців тому +13

    สมณศากยปุตติย ขอกราบแทบเท้าพระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล ที่นำแก่นธรรมมาเผยแผ่ สาธุๆๆๆ

  • @SudaratWongsartsawat
    @SudaratWongsartsawat 9 місяців тому +10

    เราผู้ไม่รู้อะไรเลย ฟังทุกวัน วันนี้ฟังแล้วน้ำตาไหล...อีกกี่ชาติ...ก็จะติดตามเป็นสาวกจนกว่าจะหลุดพ้น🙏🏿🙏🏿🙏🏿

  • @minminmild4413
    @minminmild4413 9 місяців тому +14

    ยากมากครับ..ตั้งแต่ฝึกมาจับความดับได้ครั้งเดียวสมาธินิ่งมากแต่ทรงตัวได้ไม่นาน❤❤เข้าใจธรรมมากขึ้นเพราะพระอาจารยครับ

  • @sathanmaneetham1638
    @sathanmaneetham1638 7 днів тому

    การสนทนาที่กล่าวถึงเรื่องการละนันทินั้น ชอบดีแล้ว แต่ยังอาจไม่สมบูรณ์ในแง่ของการอธิบายวิธีการปฏิบัติเพื่อการละนันทิอย่างชัดเจน ผู้ปฏิบัติธรรมต้องใช้ สัมมาสติ ในการเฝ้าดูจิต เมื่อสภาวะของนันทิเกิดขึ้น ควรมี สติปัญญา พิจารณาถึงความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ และความไม่มีตัวตนของสิ่งที่มากระทบ หากการสนทนาเพิ่มการอธิบายวิธีการปฏิบัติอย่างละเอียดเพื่อการละนันทิ เช่น การเจริญสติใน กาย เวทนา จิต ธรรม จะทำให้การสนทนานั้นสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
    ท่านทั้งหลาย ขออธิบายวิธีการปฏิบัติเพื่อ **การละนันทิ** (ความเพลิดเพลินยินดีในสิ่งต่าง ๆ) อย่างละเอียด การละนันทิเป็นสิ่งสำคัญ เพราะ **นันทิ** หรือความเพลิดเพลินยินดีใน **รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และธรรมารมณ์** นั้นเป็นเหตุแห่ง **ตัณหา** ซึ่งนำไปสู่ **อุปาทาน** และทุกข์ การละนันทิจะช่วยให้จิตหลุดพ้นจากการยึดติดในความสุขชั่วคราวที่เกิดจากอารมณ์เหล่านั้น และทำให้จิตมีความสงบตั้งมั่น
    ### **1. เข้าใจธรรมชาติของนันทิ:**
    **นันทิ** หมายถึงความยินดีหรือความเพลิดเพลินในสิ่งที่มากระทบกับอายตนะทั้งหก ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ การเพลิดเพลินยินดีในสิ่งเหล่านี้นำไปสู่ความยึดมั่น และทำให้เกิดทุกข์ ดังนั้น **การรู้เท่าทันความยินดี** ในสิ่งเหล่านี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ
    ### **2. เจริญสติในขณะเกิดนันทิ:**
    เมื่อใดที่ **นันทิ** หรือความเพลิดเพลินในอารมณ์เกิดขึ้น เธอควรใช้ **สติ** เฝ้าดูการเกิดขึ้นของความยินดีนั้น และรู้เท่าทันว่าเป็นเพียง **อารมณ์** ที่เกิดจากการกระทบของ **อายตนะ**
    #### วิธีการปฏิบัติ:
    1. **สติในการรู้เท่าทันอารมณ์ที่เกิดจากอายตนะ**:
    - เมื่อใดที่เธอเห็น **รูป** ด้วยตา หรือฟัง **เสียง** ด้วยหู ให้เธอรู้เท่าทันว่าการรับรู้นั้นเกิดจาก **อายตนะภายใน** (ตา หู ฯลฯ) กระทบกับ **อายตนะภายนอก** (รูป เสียง ฯลฯ) และความยินดีที่เกิดขึ้นนั้นเป็นเพียงการปรุงแต่งของจิต ไม่ใช่สิ่งที่เที่ยงแท้
    - เฝ้าดู **ความยินดี** ที่เกิดขึ้นโดยไม่ยึดมั่นในความรู้สึกนั้น เมื่อจิตมีสติรู้เท่าทัน **ความเพลิดเพลินยินดี** ความเพลิดเพลินนั้นจะค่อย ๆ คลายไปเอง
    2. **พิจารณาความไม่เที่ยงของอารมณ์นันทิ**:
    - เมื่อรู้เท่าทันความยินดีที่เกิดขึ้น ให้พิจารณาว่าความเพลิดเพลินนี้ **ไม่เที่ยง** (อนิจจัง) เพราะเกิดขึ้นจากการกระทบชั่วคราวของอายตนะ เมื่อการกระทบสิ้นสุด ความยินดีนั้นก็จะดับไป
    - เมื่อเห็นความไม่เที่ยงของนันทิ จิตจะไม่ยึดติดกับอารมณ์เหล่านั้น และสามารถปล่อยวางจากความเพลิดเพลินที่เกิดขึ้นได้
    ### **3. การพิจารณาด้วยปัญญาในขันธ์ 5:**
    **ขันธ์ 5** ได้แก่ **รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ** เป็นองค์ประกอบของสิ่งที่เราเรียกว่า "ตัวตน" การพิจารณาขันธ์ 5 ช่วยให้เรารู้เท่าทันความเพลิดเพลินที่เกิดจากเวทนา (ความรู้สึกสุข) และเห็นว่าความสุขนี้เป็นเพียงการปรุงแต่ง ไม่มีตัวตนแท้จริง
    #### วิธีการปฏิบัติ:
    1. **พิจารณาเวทนาว่าเป็นสภาวะที่เกิดขึ้นและดับไป**:
    - เมื่อใดที่เกิดความสุขหรือความยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ให้พิจารณาว่า **เวทนานี้เป็นเพียงสภาวะ** ที่เกิดขึ้นจากการกระทบ และจะดับไป ไม่ใช่สิ่งที่ควรยึดถือ
    - จงรู้เท่าทันว่า **ความสุข** ที่เกิดจากอายตนะนั้นไม่คงทน และจะนำไปสู่ความทุกข์หากเรายึดติด
    2. **พิจารณาว่าความยินดีเกิดจากการปรุงแต่ง**:
    - ความยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส เป็นผลของ **การปรุงแต่ง** ในจิต (สังขาร) เมื่อจิตปรุงแต่งความสุขหรือความเพลิดเพลินขึ้นมา เราควรพิจารณาว่าการปรุงแต่งนั้นไม่เที่ยง และจิตที่ปรุงแต่งย่อมเป็นเหตุให้เกิดทุกข์
    - เมื่อพิจารณาเช่นนี้ จิตจะเห็นว่าความสุขจากการยินดีในอารมณ์ต่าง ๆ เป็นเพียงสิ่งที่ปรุงแต่งขึ้นชั่วคราว
    ข้าพเจ้าเข้าใจอย่างนี้ หากท่านใดเห็นว่าคลาดเคลื่อน ไม่ชอบ ไม่บริบรูณ์ ขอโปรดชี้ในข้อนั้นเถิด

  • @นายนาย-ฤ5ฮ
    @นายนาย-ฤ5ฮ 13 годин тому

    น้อมกราบสาธุค่ะ😊🙏🏻

  • @บุญฑริกาชินวงษ์
    @บุญฑริกาชินวงษ์ 7 місяців тому +11

    น้อมกราบแทบพระคุณ พระอาจารย์
    ผู้แสดงธรรมตถาคต ในงดงามลึกซึ้ง เข้าใจ'ได้ชัดเจน ด้วยเคารพ ศรัทธายิ่ง เจ้าค่ะ...+

  • @sathanmaneetham1638
    @sathanmaneetham1638 7 днів тому

    ท่านทั้งหลาย ขออธิบายวิธีการปฏิบัติธรรม 3 อย่าง ได้แก่ **ความเป็นธาตุ** **อายตนะ** และ **ปฏิจจสมุปบาท** อย่างชัดเจน เพื่อให้ท่านเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ซึ่งการพิจารณาธรรมเหล่านี้จะช่วยให้จิตของท่านเจริญสติและปัญญา นำไปสู่การปล่อยวางจากตัณหาและอุปาทาน
    ### **1. การพิจารณาโดยความเป็นธาตุ**
    **การพิจารณาความเป็นธาตุ** คือการพิจารณากายและจิตว่าเป็นเพียงการประกอบกันของ **ธาตุ 4** ได้แก่ ปฐวีธาตุ (ดิน) อาโปธาตุ (น้ำ) วาโยธาตุ (ลม) และเตโชธาตุ (ไฟ) การพิจารณานี้ทำให้เราเห็นว่า กายนี้ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่ของเรา แต่เป็นการรวมตัวของธาตุตามธรรมชาติ
    #### วิธีการปฏิบัติ:
    1. **เริ่มต้นด้วยการเจริญสติในกาย**:
    - นั่งหรือนอนในท่าที่สบาย หายใจเข้าออกอย่างมีสติ ตั้งจิตพิจารณากายนี้ว่าเป็นเพียง **ก้อนของธาตุ** ซึ่งประกอบด้วยดิน น้ำ ลม ไฟ ไม่ใช่ตัวตน
    - พิจารณา **ปฐวีธาตุ** คือความแข็ง เช่น ผิวหนัง กระดูก เนื้อ ฟัน ที่เป็นส่วนของดินในกาย
    - พิจารณา **อาโปธาตุ** คือความชื้น เช่น เลือด น้ำลาย เหงื่อ ที่เป็นส่วนของน้ำในกาย
    - พิจารณา **วาโยธาตุ** คือการเคลื่อนไหว เช่น ลมหายใจ ลมในท้อง ที่เป็นส่วนของลมในกาย
    - พิจารณา **เตโชธาตุ** คือความร้อน เช่น ความร้อนในร่างกาย ไฟย่อยอาหาร ที่เป็นส่วนของไฟในกาย
    2. **พิจารณาความไม่เที่ยงของธาตุ**:
    พิจารณาว่าธาตุเหล่านี้ **เกิดขึ้นและดับไป** เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ไม่มีความเป็นตัวตนที่แท้จริง เมื่อพิจารณาเช่นนี้ จะทำให้จิตละวางจากความยึดมั่นในกาย
    > "เมื่อเห็นว่ากายนี้เป็นเพียงธาตุ จิตจะไม่ยึดมั่นในความเป็นตัวตน"
    ### **2. การพิจารณาโดยความเป็นอายตนะ**
    **การพิจารณาอายตนะ** คือการพิจารณาการรับรู้ที่เกิดจาก **อายตนะภายใน** (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) กับ **อายตนะภายนอก** (รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์) การพิจารณานี้ทำให้เราเห็นว่าการรับรู้ทั้งหลายเกิดขึ้นตามเหตุปัจจัย และไม่มีความเป็นตัวตน
    #### วิธีการปฏิบัติ:
    1. **เจริญสติในทุกการรับรู้**:
    - เมื่อใช้ตาเห็นรูป ให้เธอเฝ้าดูการเกิดขึ้นของความรู้สึกว่าเป็นเพียงการกระทบกันของ **ตา (อายตนะภายใน)** กับ **รูป (อายตนะภายนอก)**
    - เมื่อใช้หูฟังเสียง เธอควรรู้ว่า การฟังเป็นเพียงการกระทบกันของ **หู (อายตนะภายใน)** กับ **เสียง (อายตนะภายนอก)**
    2. **พิจารณาความไม่เที่ยงของการรับรู้**:
    เมื่อใดที่มีการกระทบกันของอายตนะ พึงพิจารณาว่าการรับรู้เหล่านั้น **เกิดขึ้นและดับไป** ไม่เที่ยง และไม่ใช่ตัวตน การรู้เช่นนี้จะทำให้จิตละวางจากการยึดมั่นในสิ่งที่รับรู้
    > "เมื่อเห็นว่าการรับรู้เป็นเพียงการกระทบของอายตนะ จิตจะไม่ยึดติดในสิ่งที่กระทบ"
    ### **3. การพิจารณาโดยความเป็นปฏิจจสมุปบาท**
    **การพิจารณาปฏิจจสมุปบาท** คือการเห็นถึงการเกิดขึ้นของสรรพสิ่งตาม **เหตุปัจจัย** ทุกสิ่งมีเหตุผลที่ก่อให้เกิดขึ้น เมื่อเหตุปัจจัยหมดสิ้น สิ่งนั้นก็จะดับไป การพิจารณานี้ช่วยให้เราละวางความยึดมั่นในสิ่งที่เกิดจากเหตุปัจจัย
    #### วิธีการปฏิบัติ:
    1. **พิจารณาสิ่งที่เกิดขึ้นตามเหตุปัจจัย**:
    - ให้เธอเริ่มต้นด้วยการพิจารณาว่า **ทุกข์** เกิดจากเหตุของมัน นั่นคือ **ตัณหา** (ความอยาก) และตัณหานั้นเกิดจาก **อวิชชา** (ความไม่รู้)
    - เมื่อใดที่เธอสามารถเห็นว่า **ทุกสิ่งเกิดจากเหตุ** จงเฝ้าดูการเกิดขึ้นและดับไปของสิ่งเหล่านั้น
    2. **พิจารณาวงจรของปฏิจจสมุปบาท**:
    ให้เธอพิจารณาว่า **เมื่ออวิชชาดับ ตัณหาย่อมดับ เมื่อไม่มีตัณหา ทุกข์ย่อมดับ** การเห็นเช่นนี้จะทำให้เธอละวางจากการยึดติดในทุกข์และเหตุปัจจัยที่ก่อให้เกิดทุกข์
    > "เพราะอวิชชาเป็นเหตุ จึงเกิดสังขาร เมื่ออวิชชาดับ ทุกข์ย่อมดับไปตาม"
    ---
    ### **สรุปการปฏิบัติ:**
    - **การพิจารณาความเป็นธาตุ** ให้ท่านเฝ้าดูและพิจารณากายตามความเป็นธาตุ เพื่อเห็นความไม่มีตัวตนและไม่ยึดมั่นในกาย
    - **การพิจารณาอายตนะ** ให้เธอเฝ้าดูการกระทบของอายตนะทั้งภายในและภายนอก เพื่อไม่ยึดติดในสิ่งที่รับรู้
    - **การพิจารณาปฏิจจสมุปบาท** ให้ท่านเฝ้าดูการเกิดขึ้นของสิ่งต่าง ๆ ตามเหตุปัจจัย เพื่อเข้าใจและละวางจากตัณหาและอวิชชา
    การปฏิบัติทั้ง 3 แนวทางนี้จะทำให้จิตของท่านเจริญสติและปัญญา นำไปสู่ความหลุดพ้นจากทุกข์อย่างแท้จริง
    ข้าพเจ้าเข้าใจอย่างนี้ หากท่านใดเห็นว่าคลาดเคลื่อน ไม่ชอบ ไม่บริบรูณ์ ขอโปรดชี้ในข้อนั้นเถิด

  • @sathanmaneetham1638
    @sathanmaneetham1638 7 днів тому

    ท่านทั้งหลาย เกี่ยวกับการกล่าวว่า "ถ้าจะคิดให้คิด" และความสัมพันธ์กับการพิจารณาธรรม 3 ประการ คือ ความเป็นธาตุ อายตนะ และ ปฏิจจสมุปบาท ขอกล่าวว่า การใช้คำว่า "ถ้าจะคิดให้คิด" อาจคลาดเคลื่อน ในเชิงของการปฏิบัติธรรมอย่างถูกต้อง เพราะความคิดนั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และไม่ควรถูกบังคับหรือตั้งใจให้เกิดขึ้น
    1. ธรรมชาติของความคิด:
    ความคิด หรือ วิตก (การนึกคิด) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เมื่อจิตเกิดการกระทบกับอายตนะ ความคิดเกิดขึ้นจาก เหตุปัจจัย ที่อาจไม่สามารถควบคุมได้ในทุกกรณี ตถาคตสอนว่า สติ เป็นสิ่งที่สำคัญในการรู้เท่าทันความคิด ไม่ใช่การบังคับให้คิดหรือไม่คิด การบังคับให้คิดหรือฝืนจิตให้เกิดความคิดอาจนำไปสู่การปรุงแต่งที่ฟุ้งซ่านและไม่สอดคล้องกับหลักการ เจริญสติ ซึ่งควรเป็นการรู้เท่าทันสภาวะที่เกิดขึ้น ไม่ใช่การบังคับให้เกิดสภาวะ
    "ดูกร ภิกษุทั้งหลาย จงพึงเฝ้ารู้เท่าทันความคิดที่เกิดขึ้นโดยไม่ยึดมั่น ไม่ต้องบังคับ แต่ให้สติตามดูจิต"
    (มหาสติปัฏฐานสูตร, ทีฆนิกาย)
    2. การพิจารณาธรรม 3 ประการอย่างเป็นธรรมชาติ:
    แม้ว่าการพิจารณาโดยหลัก ความเป็นธาตุ อายตนะ และ ปฏิจจสมุปบาท จะเป็นสิ่งที่ ชอบ และสอดคล้องกับคำสอนของตถาคต แต่การที่จะกล่าวว่า "ถ้าจะคิดให้คิด" ในลักษณะของการตั้งใจให้เกิดความคิดเพื่อพิจารณาธรรม อาจเป็นการฝืนสภาวะตามธรรมชาติ การปฏิบัติธรรมที่ถูกต้องควรเป็นการเฝ้าดูความคิดและสภาวธรรมที่เกิดขึ้นด้วย สติ ไม่ใช่การบังคับจิตให้คิดหรือไม่คิด
    3. ผลกระทบของการบังคับจิต:
    การบังคับจิตให้คิดอาจนำไปสู่การเกิด ภวตัณหา หรือความอยากเป็น เช่น อยากให้จิตคิดถึงธรรม อยากให้จิตไม่ฟุ้งซ่าน ซึ่งเป็นรูปแบบของการ ยึดมั่น ในความต้องการให้จิตเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง สิ่งนี้ตรงกันข้ามกับการ เจริญสติ และการปล่อยวางจากความยึดมั่นในธรรม การฝึกจิตที่ถูกต้องคือการตามรู้ตามเห็นความคิดที่เกิดขึ้น โดยไม่ยึดมั่นในความคิดนั้น
    "เพราะจิตที่ยังถูกครอบงำด้วยตัณหา ย่อมปรุงแต่งและคิดฟุ้งซ่าน การปล่อยวางจากความคิดที่ปรุงแต่งจะทำให้จิตสงบและปลอดจากทุกข์"
    (ธัมมจักกัปปวัตนสูตร, สุตตันตปิฏก)
    สรุป:
    การกล่าวว่า "ถ้าจะคิดให้คิด" นั้น อาจคลาดเคลื่อน ในเชิงของการปฏิบัติธรรม เพราะความคิดเป็นสิ่งที่ไม่ควรบังคับให้เกิดหรือหยุด การปฏิบัติที่ถูกต้องคือการใช้ สติ รู้เท่าทันความคิดและสภาวธรรมที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไม่ใช่การบังคับจิตให้คิดเพื่อพิจารณา ดังนั้น สิ่งที่ควรทำคือเฝ้าดูจิตอย่างมีสติ และปล่อยวางจากความยึดมั่นในความคิด
    ข้าพเจ้าเข้าใจอย่างนี้ หากท่านใดเห็นว่าคลาดเคลื่อน ไม่ชอบ ไม่บริบรูณ์ ขอโปรดชี้ในข้อนั้นเถิด

  • @narumolwechvong584
    @narumolwechvong584 9 місяців тому +17

    สาธุ ..คำตอบพระอาจารย์ทำให้เราศรัทราธาพระพุทธเจ้ามากๆ (มีเหตุและผล) ตาสว่างเลยค่ะ

  • @winwatjana9453
    @winwatjana9453 7 місяців тому +22

    ลุงได้ติดตามพุทธวจนะเป็นระยะๆ เพื่อดึงตัวเองมาสู่หนทางของพุทธะในชีวิตการทำงานที่วุ่นวาย .... พุทธวจนะลุ่มลึกแต่เข้าถึงง่าย ยิ่งเปืดเผยยิ่งรุ่งเรือง

    • @caratee-gle2389
      @caratee-gle2389 4 місяці тому

      จริงครับ กลับเข้ามาฟังยุ่เนื่องๆบ้าง
      ทำงาน คิดวุ่นๆไปเรื่อย ก้กลับมายุ่กับลมหายใจ "เราเปนผู้ทำจิตให้ระงับ เข้า..ยาว ออกสั้น...🙏

    • @caratee-gle2389
      @caratee-gle2389 4 місяці тому

      จะออกยาว พิมพ์ไปสั้นส่งั้นครับ😅😊

  • @น้อยพวงทอง-ล7ย

    กราบสาธุๆๆครับ

  • @HatsakanPonmaen
    @HatsakanPonmaen Місяць тому

    กราบสาธุค่ะ

  • @usangi_tabo
    @usangi_tabo 3 місяці тому +1

    สมถะ ทำได้หมดครับทุกวิธี ยกเว้นวิปัสสนา ต้องทำตามแบบที่พระศาสดาสอน ยุคแรกที่พระศาสดาทรงออกสั่งสอน พระสาวก ตั้งแต่เบญจวัคีย์ และหลายองค์ต่อจากนั้น ท่านได้สมาธิเต็มภูมิมาหมดนะครับ จากวิธีการหลากหลานมาก แต่ไม่ได้เข้าวิปัสสนาญาณแค่นั้นเอง

  • @gsbvssdff7939
    @gsbvssdff7939 19 днів тому

    กลาบสาธุๆๆๆคับ

  • @หม่อนบูร์รีบุตทศ

    สาธุเจ้าคะ

  • @แสนสุขจิตโตภาส
    @แสนสุขจิตโตภาส 9 місяців тому +3

    ขอน้อมกราบ นมัสการเบื้องพระบาทพระตถาคต พระธรรม พี่งามในเบื้องต้นงามในท่ามกลางนามในที่สุดพร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะสมบูรณ์ดีแล้วสิ้นเชิง พระอาจารย์คึกฤทธิ์โสตถีพะโลผู้มีอุปการะมากมีพระคุณมาก ขอน้อมกราบเบื้องพระบาทด้วยเศียรเกล้าค่ะ

  • @lolaf.7410
    @lolaf.7410 9 місяців тому +3

    ขออนุญาตแบ่งปันเพื่อเป็นธรรมทานนะคะ สาธุค่ะ

  • @MossHouse
    @MossHouse 9 місяців тому +8

    ลองแล้วไม่คิดเลยมันยากมากครับทำได้ไม่นาน นับเลขในใจอย่างน้อยก็มีสมาธิจดจ่อได้นานอยู่นะ

    • @Mangmee59
      @Mangmee59 9 місяців тому +1

      นี่ก็ฝึกนั่งสมาธิมาหลายครั้งแล้ว จิตก็ยังฟุ้งซ่านอยู่ค่ะ ยังแอบคิดอยู่ว่าเมื่อไรจิตจะนิ่งสงบได้

    • @Cpcrong
      @Cpcrong 9 місяців тому +1

      ยากยังไงก็ต้องทำครับ เพราะนี่เป็นมรรควิธีที่ศาสดาตรัสว่าง่ายสุดแล้ว😂😂
      ส่วนการนับเลข อันนี้ไม่ควรเพราะ ถ้าไปดูอานาปานสติ จะมีลำดับนึงที่พระศาสดาตรัสว่า ให้เธอฝึกทำจิตตสังขารให้รำงับครับ (เป็นบทพยัญชนะที่ดักการท่องบริกรรมเลยครับ ภาษาหนังจีนก็คือ วรยุทธจะถึงจุดคอขวดถ้าเราไปทำ)
      + ใจความสำคัญคือการฝึกสร้างอนุสัยให้เท่าทันตัวอารมณ์ที่เกิดดับเร็วมากของตัวเราเองอยู่แล้วครับ ส่วนความนิ่งสงบในสมาธิก็เป็นเพียงสุขที่ละเอียด ปราณีต แต่ไม่ใช่จุดหมายปลายทางครับ เพราะสุขจากสมาธิมันก็ยังเกิดดับ ถึงอย่างนั้น สุขจากสมาธิก็ยังเป็นสุขที่พระศาสดาตรัสว่าควรเสพมาก กระให้มาก แต่ไม่ให้ยึดติด ประมาณนี้คร้าบ

    • @MossHouse
      @MossHouse 9 місяців тому +1

      @@Cpcrong ผมแค่อยากได้สมาธิก่อนเฉยๆ เพื่อการเรียนการอ่านหนังสือและความจำ

    • @thanabatplookatok
      @thanabatplookatok 5 місяців тому +2

      อยู่กับลมหายใจ ให้รู้ว่าเรากำลังหายใจมันจะไม่คิดอะไร ถ้าเมื่อไรเราไม่รู้ว่ากำลังหายใจ แสดงว่ากำลังคิดเรื่องอื่นอยู่

  • @วรกานต์-ธ8ด
    @วรกานต์-ธ8ด 4 місяці тому +3

    รักที่สุดในสามโลก เรี่องแรกคีใจ เรื่องที่สองคือวิญญูาณ เรี่องที่สามคีเรื่องของจิต ถ้าเอาจิตปนกับใจท่านก็หลงทางครับ เพราะมันใม่ใช่อย่างเดียวกัน

  • @ฉบิงงับ
    @ฉบิงงับ 19 годин тому

    สาธุ

  • @ปณิชาเชื้อเมืองพาน

    สาธุ ๆๆค่ะ

  • @pensrichung4176
    @pensrichung4176 9 місяців тому +13

    นมัสการ ท่าน อ จ ขอ น้อมกราบ ท่าน อาจารย์ ที่ ท่าน ใช้ก็ ให้ ธรรมมะ ของ พระ พุทธเจ้า สาธุ เจ้าค่ะ

  • @sompornthipbunsap3727
    @sompornthipbunsap3727 9 днів тому

    สาธุค่ะ

  • @คนสมาแจะ
    @คนสมาแจะ 7 місяців тому +7

    อนุโมทนาบุญสาธุๆค่ะ😊

  • @korrapinparkpanich3717
    @korrapinparkpanich3717 19 днів тому

    น้อมกราบสาธุในธรรม

  • @saowaneesuksawang1903
    @saowaneesuksawang1903 Місяць тому

    สาธุครับ

  • @taphaspornpongtornsiridech5287
    @taphaspornpongtornsiridech5287 9 місяців тому +4

    🙇‍♀️🙇‍♂️🙏🙏🙏🙇‍♀️กราบพระอาจารย์ผู้มีอุปการะมาก เผยแผ่คำสอนของพระศาสดาฯ

  • @sasitornchimsuk3426
    @sasitornchimsuk3426 3 місяці тому +3

    อนุโมทนาบุญด้วยค่ะ

  • @pinjutathip4919
    @pinjutathip4919 2 місяці тому +3

    น้อมกราบพระคุณเจ้า🙏🙏🙏ค่ะ

  • @พอใจ-ฝ5ถ
    @พอใจ-ฝ5ถ 2 місяці тому +1

    ชอบฟัง

  • @dith1274
    @dith1274 26 днів тому +1

    🙏🙏🙏

  • @hipposlayo
    @hipposlayo 4 місяці тому +3

    กราบกราบกราบสาธุสาธุสาธุ

  • @laoongmaneewong4987
    @laoongmaneewong4987 4 місяці тому +3

    น้อมกราบอนุโมทนา สาธุ 🙏🙏🙏🌼🌼🌼🧡

  • @OrawanBorm
    @OrawanBorm Місяць тому +1

    ลูกที่ออกจากปาก"พระบิดาตถาคต"สาธุ สาธุ สาธุ

  • @อริยะมรรคมีองค์เเปด-ข4พ

    อนุโมทนาสาธุ

  • @pulsirinijsriwong8082
    @pulsirinijsriwong8082 4 місяці тому +2

    น้อมกราบอนสาธุในธรรมของพุทธองค์

  • @PrakaydowPolswat
    @PrakaydowPolswat 3 місяці тому +2

    อนุโมทนาสาธุจร้า

  • @siwrapongsiwrapong9442
    @siwrapongsiwrapong9442 4 місяці тому +3

    สาธุ​ๆ... อนุโมทนา​ด้​วยครับ​

  • @KetsarinChandabao-u6i
    @KetsarinChandabao-u6i 3 місяці тому +3

    กราบสาธุสาธุสาธุ

  • @โอพาส
    @โอพาส 2 місяці тому +2

    อนุโมทนาสาธุ...สาธุ.....สาธุ

  • @sniper9659
    @sniper9659 9 місяців тому +3

    ละกายในกาย ละเวทนาในเวทนา ละจิตในจิต ละธรรมในธรรม

  • @PiangchanChewamit
    @PiangchanChewamit Місяць тому +1

    ขอน้อมกราบค่ะ สาธุ สาธุ สาธุ ค่ะ 🎉 🎉 🎉 🎉 🎉 ❤❤ ❤ ❤ ❤

  • @ผกามาศแสงทอง-ภ7ท

    น้อมกราบอนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ

  • @dith1274
    @dith1274 26 днів тому +1

    คำสอนของพระพุทธเจ้า พุทธวจน ตถาคต...ສາທຸສາທຸສາທຸ ຂອບໃຈທີໃດ້ເຂົ້າມາຟັງຄຳສອນຂອງອົງພຮະສຳມາສຳພຸດທະເຈົ້າພຸດທະວະຈານາຕະຖາຄົດ🙏🙏🙏

  • @gogetdiaries
    @gogetdiaries 4 місяці тому +1

    กราบพระอาจารย์ครับ

  • @thanodtheeveth5387
    @thanodtheeveth5387 Місяць тому +1

    💐🙏💐🙏💐🙏สาธุๆๆๆค่ะ

  • @อนันท์แสวงคุณ-ช8ร

    กราบอนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ ครับ

  • @Mr.koraweThimjoy-ph1id
    @Mr.koraweThimjoy-ph1id 3 місяці тому +2

    สาธุๆๆ​ ครับ

  • @ทินพัฒน์ชินบุตร

    ฟัง 2 รอบแล้ว เข้าใจมากขึ้นค่ะ

  • @benniedeeyotha2426
    @benniedeeyotha2426 4 місяці тому +3

    กราบ สาธุ สาธุ สาธุ

  • @twopowermobile8135
    @twopowermobile8135 Місяць тому +1

    น้องกราบสาธุเจ้าค่ะ

  • @Venrune56
    @Venrune56 9 місяців тому +4

    สาธุการฟังธรรม ครั้งนี้เป็นเหตุให้วางความเห็นของสาวกทั้งสิ้น รับแต่คำสอนของพระพุทธ เท่านั้น ❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤

  • @มะลิวรรณปัด
    @มะลิวรรณปัด Місяць тому

    พระอาจารย์สอนธรรมได้เข้าใจง่าย ทำตามแล้วรู้สึกดีมากสบายใจใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น

  • @anuphanphonboon3229
    @anuphanphonboon3229 Місяць тому +1

    อนุโมทนาสาธุครับผม🙏🙏🙏

  • @สําราญพรมสุข-ม9อ

    สาธุสาธุสาธุค่ะ

  • @ประมวลชมพูทอง

    น้ มกราบสาธุ.สาธุ.สาธุค่ะ

  • @muchalinjohnkam4382
    @muchalinjohnkam4382 8 місяців тому +2

    กราบพระอาจารย์และญาติธรรมทุกท่านคะ
    การดึงจิตกลับมาเร็วขึ้นทุกครั้งที่โกรธ เกลียด อิจฉา จาก 3 ด.เป็น 1 ด.1 อาทิตย์
    ตอนนี่ 2-3 นาทีละได้เลย
    สาธุๆๆ

  • @ศุภรัตน์ขัมภรัตน์

    เมื่อมหาชนรู้มาเข้าใจมาแบบผิดๆ ก้อต้องถามแบบผิดๆ ซ้ำซากจริงๆเรื่องอุทิศบุญกุศล มันเปนเช่นนี้เอง

  • @AnnaSalasith
    @AnnaSalasith Місяць тому +1

    สาธุสาธุ🙏🏻

  • @NiTanita-hj5wv
    @NiTanita-hj5wv 7 місяців тому +2

    กราบนมัสการเจ้าค่ะ🙏🙏🙏
    อนุโมทนาสาธุในธรรมเจ้าค่ะ❤

  • @องค์การบริหารส่วนตําบลป่ามะม่ว

    กราบนมัสการเจ้าค่ะ

  • @ดวงพร-ว6ง
    @ดวงพร-ว6ง 8 місяців тому +3

    กราบสาธุ🙏🙏🙏ค่ะ

  • @jaruchasudsri7820
    @jaruchasudsri7820 9 місяців тому +9

    กราบอนุโมธนาสาธุเจ้าค่ะ🙏🙏🙏

  • @alungkanc6368
    @alungkanc6368 Місяць тому

    น้อมกราบสาธุสาธุครับ🙏🙏🙏

  • @neweii452
    @neweii452 9 місяців тому +2

    สาธุๆๆเจ้าค่ะ

  • @tem-vt4kw
    @tem-vt4kw 9 місяців тому +8

    กราบนมัสการพระอาจารย์ สาธุ สาธุ สาธุ เจ้าค่ะ

  • @nongraksreetum1145
    @nongraksreetum1145 2 місяці тому +1

    สาธุ"ค่ะ

  • @user-yp9nh4sh3n
    @user-yp9nh4sh3n 2 місяці тому

    พระปริยัติ ให้พิจารณาธรรมทั้งหลายเป็นเพียงรูปธรรม นามธรรม ไม่พิจารณาธรรมทั้งหลายเป็นคนสัตว์ เรา เขา

  • @barlibernedoodle292
    @barlibernedoodle292 4 місяці тому

    นี่ละ เด็กนั่นถึงตั้งกลุ่มสอนได้เพราะใช้คำง่ายๆ พระถึงต้องสอน และเเปลให้เข้าใจอย่างง่ายๆได้

  • @brawskin7825
    @brawskin7825 2 місяці тому

    ⚜️🎸เปิดพระไตปิดกอ่านจะใช้ได้ไหมค่ะมีสิ่งหนึ่งที่่ฉันจะถามนะเจ้าค่ะ👂📻ใช่ค่ะ🇹🇭นับถือศาสนาพุทธเป็นที่หนึ่งให้คิดแค่สามเรื่องคือมีอะไรบ้างค่ะ🙏กราบสาธุเจ้าค่ะ 12:03 🌊🙏

  • @teesolona205
    @teesolona205 9 місяців тому +3

    อนุโมทนาสาธุครับ

  • @probio9382
    @probio9382 9 місяців тому +5

    ในมุม อริยสัจ4
    ทุกข์ การคิด เราแค่หยุดคิด
    ไม่ไปต่อ ข้อ2 เพราะไปต่อ มันคือ สาเหตุที่เกิดทุกข์
    ข้อ3 หนทางดับทุกข์
    4การปฏิบัติ การฝึกหยุด
    คนเรามีแค่ใจ ร่างกายหาใช่เราไหม ถึงแม้สมอง ก้อยังเป้นร่างกาย เรามีใจ คือความจำ
    ร่างกาย สมองทำให้เราคิด
    กายชอบขึ้นหัวข้อ เราคิดตามตลอด จนกว่ามีสติ จะนึกหยุดได้
    ร่างกายมีเซลที่มีชีวิต เกิดมาพร้อมเรา ดูแลเรา เยอะ
    กาย คือสิ่งที่ควบคุมไม่ได้
    แม้แต่ลมหายใจ ตอนเรานอน เราไม่ได้ทำอะไรเลย แม้แต่หายใจ
    เราไม่ต้องหายใจเองเลย
    การหายใจเองคือ สิ่งผิด ถ้ารุ้ลม คือหนทางหนึ่ง ขั้นแรก
    หนทางนิพพาน หรือ ประตูคือความสงบ การคิด ไม่มีทางสงบ
    การเอา ข้อนั้นมาแก้ทาง ข้อนี้ คือการไม่หลุดออกจากความคิด
    สมอง หรือกาย ความคิด
    ชอบขึ้นหัวข้อ มาหัวข้อหนึ่งตลอด
    แล้วเราจะคิดตาม ไป นึกได้ ถ้าจ้องสังเกตุ จะรุ้ จะวนเวียน เรื่องเดิมๆ ไม่หยุด เกิดจาก ร่างกายทำให้คิด ต้องผ่านไปได้จะ รุ้
    ธรรมเยอะ ก้อดีแล้ว แต่สิ่งที่ดี คือ
    หนุดคิด เราไม่ต้องใช้ หลักธรรมอะไรเลย
    เพราะเราได้ฝึกมาแล้ว มีสมองแล้ว
    แต่สอนไม่ได้ เพราะ คนตะไม่เข้าใจ
    แค่ข้อหนึ่ง ข้อเดียว ทุกข์ หยุดคิด
    ไม่ไปต่อ แล้วจะทำอะไรก็ทำ
    ตามมรรคอง8 ปุพพิกกถา ก้อดีนะ
    แค่ปุพพิกกถา คนธรรมดา ใช้ดีมากเลย
    ข้อ1หยุด ไม่หาสาเหตุต่อ ทำนาย
    เรื่อง สวรรค นรก ร่างกาย จะออกไปอย่างไง ตายแล้ว ออกทางไหน
    พระพุทธไม่พูดเรื่อง ร่างกายเท่าไร
    เพราะมันทำให้สบสน เราก็ไม่พูด
    ร่างกาย ดี หรือ ไม่ดี เซลทำได้หมด ถ้าสมอง ยังเป้นของร่างกาย
    ใจเรา ตายไป ก้อมีแค่ความจำ
    ประสุ่นิพพาน คือความสงบ

  • @speedmekung2681
    @speedmekung2681 2 місяці тому +1

    🙏

  • @chutimasrichai9113
    @chutimasrichai9113 5 місяців тому

    คำถามก่อให้เกิดประโยชน์มากเลยค่ะ ได้รับพระเมตตาจากอาจารย์ 🙏ตามเหตุตามปัจจัยให้แฟนมีดวงตาเห็นธรรมได้ยินได้ฟังธรรมบ้างนะคะ🙏

  • @KuikeoKhannara
    @KuikeoKhannara 3 місяці тому +1

    ພັງແລ້ວສະບາໃຈສາທູສາທູ

  • @กัมปนาทอนิจจสัญญา

    "เมื่อเธอพิจารณาเห็นกายในกายอยู่
    ความเร้าร้อนในกาย อันมีกายเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นก็ดี
    หรือว่า ความหดหู่แห่งจิตเกิดขึ้นก็ดี หรือว่า จิตฟุ้งไปในภายนอกก็ดี
    ความเร้าร้อนในกาย อันมีเวทนาเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นก็ดี ......
    ความเร้าร้อนในกาย อันมีจิตเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นก็ดี .......
    ความเร้าร้อนในกาย อันมีธรรมเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นก็ดี .........
    ดูกร อานนท์ ภิกษุนั้น
    พึงตั้งจิตไว้มั่น ในนิมิต ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส อย่างใดอย่างหนึ่ง
    เมื่อตั้งจิตในนิมิต อันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส ปราโมทย์ย่อมเกิด
    เมื่อมีปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด --> เมื่อมีใจปีติแล้ว กายย่อมระงับ"
    ถ้าคำว่า พุทโธ หรือ ยุบหนอพองหนอ ถ้าเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส น่าจะทำให้จิตตั้งมั่นได้ เมื่อตั้งได้แล้วก็สละทิ้งต่อไป

  • @Aom-hc7dn
    @Aom-hc7dn 9 місяців тому +3

    กราบสาธุๆๆค่ะ 🙏🙏🙏

  • @coffeemanza5768
    @coffeemanza5768 9 місяців тому +4

    ❤ อัมพร มาลารัตน์ กราบสาธุ อนุโมทนาสาธุครับ

  • @เล่าสู่กันฟังร้านนวดแอฟริกาใต้

    กราบสาธุค่ะ ตอบคำถาม ข้อที่3 ได้ดีมากค่ะ ล้นในคำตอบ ตื่นเต้นมาก ว่าท่านจะตอบว่าเช่นใด 🙏😁

  • @khemjirachannel4184
    @khemjirachannel4184 6 місяців тому

    ฉันแปลกใจอยู่อย่างหนึ่งคือ ผู้ชายคนที่สอบถามพระอาจารย์นี้เป็นคนที่ฟังพระอาจารย์อย่างใกล้ชิดมาตลอด การอยู่ใกล้สัตบุรุษยิ่งเกิดปัญญาไม่ใช่หรือ และถามบ่อยที่สุด แต่ทำไมคำถามเหมือนกับไม่เข้าใจธรรมะเลย เช่นที่บอกว่า ความชำนาญก็ไม่ใช่ปัญญา ฉันฟังมาหลายคลิปแล้วบางคำถามแบบกำปั้นทุบดิน ถ้าปฏิบัติแล้วไม่เกิดความชำนาญจะบรรลุธรรมได้อย่างไร หรือแม้แต่สาขาอาชีพอื่นๆถ้าฝึกฝนแล้วไม่ชำนาญจะเก่งได้อย่างไร คนที่ฟังคำตถาคตต้องสงบเงียบและใช้ปัญญา อันไหนควรถามถึงต้องถามไม่ใช่ถามทุกอย่างบางครั้งเหมือนอวดภูมิ

  • @biglakewong1734
    @biglakewong1734 3 місяці тому

    ตอนนั่งสมาธิดิฉัน รู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัว อยากลืมตา รู้สึกทุลนทุลาย อยากลืมตา อยากเลิกทำตลอด
    แล้วดิฉันก็ฝืนต่อตั้งใจว่าจะทำให้ครบเวลา ที่ตั้งไว้ แต่จะมีอาการกระวนกระวายไม่สบายตัว จนบางครั้งขนลุกขึ้นมาทั้งตัว จนที่สุดก็ทนไม่ได้ต้องออกจากสมาธิลืมตา แล้วเลิกทำ
    ในเวลาที่เป็นนั้นเป็นหลังจากหลับตาเข้าสมาธิได้ประมาณ10นาทีเท่านั้นก็จะมีการแบบนี้
    ปกติดิฉันทำสมาธิมาได้หลายปีแล้วค่ะ ทำมาเรื่อยๆไม่ทุกวันแต่ทำเป็นประจำ สามารถนั่งได้นานสุดก็เกือบ ชั่วโมง ถ้าไม่มีเวลาก็ครึ่งชั่วโมง ไม่มีอาการอะไรแบบนี้ แต่มาพักหลังเป็นแบบนี้ตลอด เป็นแบบนี้มาประมาณ 3เดือนแล้วค่ะ ดิฉันพยายามทำสมาธิบ่อยขึ้น ทำทุกวัน บางวันทำสองรอบ แต่ก็ไม่ดีขึ้นเลยค่ะ
    และบางทีทำไป แล้วหลับค่ะ ทำไมถึงชอบหลับเวลาทำสมาธิคะ

  • @sarastorych.3674
    @sarastorych.3674 9 місяців тому +3

    กราบนมัสการพระอาจารย์เจ้าค่ะ

  • @BeeBee-wl3er
    @BeeBee-wl3er 9 місяців тому +5

    ນ້ອມກາບສາທຸສາທຸສາທຸ🙏🙏🙏

  • @uran6418
    @uran6418 9 місяців тому +4

    🎅🙏🙏🙏satu

  • @อดุลย์จักรปล้อง

    สาธุ.ครับในคำสอนของตถาคต.สาธุ.ครับอาจารย์คึกฤทธิ์ที่เคารพอย่างสูงที่นำคำตถาคตมาเปิดเผยครับ

  • @ณัฐเมธศรีนนท์ประเสริฐ

    อนุโมทนาสาธุในธรรมตถาคตครับ❤❤

  • @pornchirakitcharoenwong4828
    @pornchirakitcharoenwong4828 5 місяців тому

    สาธุ นั่งสมาธิ พุทโธ

  • @ทัดดาวงามดี
    @ทัดดาวงามดี 6 місяців тому +1

    สาธุๆ

  • @พยอมแดนเขต
    @พยอมแดนเขต 2 місяці тому

    รู้สึกมีบุญที่ได้รับฟัง
    ลึกซึ้ง ชัดเจน

  • @OzOz-jd6ui
    @OzOz-jd6ui 5 місяців тому

    ขอให้พ้นทุกข์ๆด้วยกันเทิอญ...