Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
00:00 เริ่มรายการ01:32 เกริ่นนำ05:43 Manager Mode vs. Founder Mode08:56 ลักษณะสำคัญ12:16 พนักงานต้องการ Autonomy?17:48 องค์กรที่เหมาะกับ Founder Mode18:31 องค์กรที่ไม่เหมาะกับ Founder Mode19:05 ข้อดี-ข้อเสีย22:02 Key Takeaways
เเนะนำกรอ 1.25 ค่ะ
ขอบคุณ ครับ ❤
เมื่อคนก่อตั้งประสบความสำเร็จในระดับหนึ่งแล้วเราจะหาคนอื่นมาเป็นceoเพื่อดูแลผลิตภัณฑ์ให้เดินได้คนก่อตั้งจะใช้เวลาในขณะที่มีceoทำงานแทนมาใช้เวลามองย้อนหลัง ปัจจุบัน และข้างหน้าเมื่อพร้อม เขาจะกลับเข้ามาใหม่ดู สตีฟ จอบส์นั่นแหละ....ชัดเลย
ไม่ค่อยเห็นคนเราพูดถึงไอเดียที่ แนวๆ ตรงข้ามกับ ไอเดียเดิมของตน โดยเฉพาะขายเป็นหนังสือ 🙏🫡
คุณเคนมิได้เป็นInvisible leaderเพราะเห็นThe standard ก็ ต้องเห็นคุณเคน...?
CEO ปกติก็รับบท Product manager หรือ CPO อยู่แล้วนะ้าโดยทั่วไป (เท่าที่สัมผัส “ถ้าเป็น startup” โดยเฉพาะ early stage)ps. ชอบความบอกว่ามีความขัดกับหนังสือที่ตัวเองเขียน สุดยอดเลย
Founder modeคือเถ้าแก่...?ใครจะรู้ธุรกิจดีกว่า...คนก่อตั้งเพราะมันมาจาก วิสัยทัศน์
การบริหารธุรกิจเปรียบเหมือนการขับเครื่องบินเลยครับ ในโหมด ผู้ก่อตั้ง (Founder Mode) เปรียบเหมือนนักบินที่มีหน้าที่สำคัญที่สุดคือนำเครื่องขึ้นและลง ซึ่งเป็นช่วงที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความกล้าหาญ และการตัดสินใจที่เฉียบขาด ส่วน โหมดผู้บริหาร (Manager Mode) จะคล้ายกับระบบออโต้ไพลอตหรือนักบินผู้ช่วย ที่ทำหน้าที่ดูแลและจัดการธุรกิจในลักษณะงานซ้ำ ๆ ที่ไม่ต้องการความท้าทายหรือการตัดสินใจแบบพลิกเกมในอนาคต หาก AI สามารถบริหารงานแบบออโต้ไพลอตได้ดีขึ้น ผู้ที่ยังคงอยู่ในโหมดผู้บริหารอาจมีความเสี่ยงถูกแทนที่ด้วยระบบอัตโนมัติ ธุรกิจอาจเหลือเพียง ผู้ก่อตั้ง ซึ่งสามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ นำพาธุรกิจขึ้นและลงจอดอย่างปลอดภัย พร้อมทั้งใช้ AI เป็นผู้ช่วยในช่วงที่ต้องการพักหรือจัดการเรื่องซ้ำ ๆผู้ก่อตั้งจึงเป็นเหมือนนักบินที่สามารถเลือกสลับบทบาทได้เสมอ ไม่ว่าจะขับเครื่องบินเองเพื่อสร้างโอกาสใหม่ หรือปล่อยให้ระบบจัดการเมื่อถึงช่วงที่เหมาะสม ความยืดหยุ่นนี้อาจเป็นหัวใจสำคัญของการบริหารธุรกิจในยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึ้นครับ
00:00 เริ่มรายการ
01:32 เกริ่นนำ
05:43 Manager Mode vs. Founder Mode
08:56 ลักษณะสำคัญ
12:16 พนักงานต้องการ Autonomy?
17:48 องค์กรที่เหมาะกับ Founder Mode
18:31 องค์กรที่ไม่เหมาะกับ Founder Mode
19:05 ข้อดี-ข้อเสีย
22:02 Key Takeaways
เเนะนำกรอ 1.25 ค่ะ
ขอบคุณ ครับ ❤
เมื่อคนก่อตั้ง
ประสบความสำเร็จในระดับหนึ่งแล้ว
เราจะหาคนอื่น
มาเป็นceo
เพื่อดูแลผลิตภัณฑ์ให้เดินได้
คนก่อตั้งจะใช้เวลาในขณะที่มีceo
ทำงานแทน
มาใช้เวลามองย้อนหลัง ปัจจุบัน และข้างหน้า
เมื่อพร้อม เขาจะกลับเข้ามาใหม่
ดู สตีฟ จอบส์
นั่นแหละ....ชัดเลย
ไม่ค่อยเห็นคนเราพูดถึงไอเดียที่ แนวๆ ตรงข้ามกับ ไอเดียเดิมของตน โดยเฉพาะขายเป็นหนังสือ 🙏🫡
คุณเคน
มิได้เป็น
Invisible leader
เพราะ
เห็น
The standard
ก็ ต้องเห็น
คุณเคน...?
CEO ปกติก็รับบท Product manager หรือ CPO อยู่แล้วนะ้าโดยทั่วไป (เท่าที่สัมผัส “ถ้าเป็น startup” โดยเฉพาะ early stage)
ps. ชอบความบอกว่ามีความขัดกับหนังสือที่ตัวเองเขียน สุดยอดเลย
Founder mode
คือ
เถ้าแก่...?
ใครจะรู้ธุรกิจดีกว่า...
คนก่อตั้ง
เพราะมันมาจาก วิสัยทัศน์
การบริหารธุรกิจเปรียบเหมือนการขับเครื่องบินเลยครับ ในโหมด ผู้ก่อตั้ง (Founder Mode) เปรียบเหมือนนักบินที่มีหน้าที่สำคัญที่สุดคือนำเครื่องขึ้นและลง ซึ่งเป็นช่วงที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความกล้าหาญ และการตัดสินใจที่เฉียบขาด ส่วน โหมดผู้บริหาร (Manager Mode) จะคล้ายกับระบบออโต้ไพลอตหรือนักบินผู้ช่วย ที่ทำหน้าที่ดูแลและจัดการธุรกิจในลักษณะงานซ้ำ ๆ ที่ไม่ต้องการความท้าทายหรือการตัดสินใจแบบพลิกเกม
ในอนาคต หาก AI สามารถบริหารงานแบบออโต้ไพลอตได้ดีขึ้น ผู้ที่ยังคงอยู่ในโหมดผู้บริหารอาจมีความเสี่ยงถูกแทนที่ด้วยระบบอัตโนมัติ ธุรกิจอาจเหลือเพียง ผู้ก่อตั้ง ซึ่งสามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ นำพาธุรกิจขึ้นและลงจอดอย่างปลอดภัย พร้อมทั้งใช้ AI เป็นผู้ช่วยในช่วงที่ต้องการพักหรือจัดการเรื่องซ้ำ ๆ
ผู้ก่อตั้งจึงเป็นเหมือนนักบินที่สามารถเลือกสลับบทบาทได้เสมอ ไม่ว่าจะขับเครื่องบินเองเพื่อสร้างโอกาสใหม่ หรือปล่อยให้ระบบจัดการเมื่อถึงช่วงที่เหมาะสม ความยืดหยุ่นนี้อาจเป็นหัวใจสำคัญของการบริหารธุรกิจในยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึ้นครับ